1 / 19

ความรู้เกี่ยวกับเส้นใย textile: ผ้า สิ่งทอ ผลิตภัณฑ์ทุกชนิดที่ผลิตจากเส้นใย ด้วยวิธีการทอ / วิธีอื่น

ความรู้เกี่ยวกับเส้นใย textile: ผ้า สิ่งทอ ผลิตภัณฑ์ทุกชนิดที่ผลิตจากเส้นใย ด้วยวิธีการทอ / วิธีอื่น. คุณสมบัติของเส้นใย 1.คุณสมบัติหลัก( primary properties ) 2.คุณสมบัติรอง( secondary properties ). คุณสมบัติหลัก. อัตราส่วนความยาวต่อความกว้าง ปกติควรมีเท่ากับ100เส้นใยส่วนใหญ่จะมีมากกว่านี้

kanoa
Télécharger la présentation

ความรู้เกี่ยวกับเส้นใย textile: ผ้า สิ่งทอ ผลิตภัณฑ์ทุกชนิดที่ผลิตจากเส้นใย ด้วยวิธีการทอ / วิธีอื่น

An Image/Link below is provided (as is) to download presentation Download Policy: Content on the Website is provided to you AS IS for your information and personal use and may not be sold / licensed / shared on other websites without getting consent from its author. Content is provided to you AS IS for your information and personal use only. Download presentation by click this link. While downloading, if for some reason you are not able to download a presentation, the publisher may have deleted the file from their server. During download, if you can't get a presentation, the file might be deleted by the publisher.

E N D

Presentation Transcript


  1. ความรู้เกี่ยวกับเส้นใยtextile: ผ้า สิ่งทอ ผลิตภัณฑ์ทุกชนิดที่ผลิตจากเส้นใย ด้วยวิธีการทอ/วิธีอื่น คุณสมบัติของเส้นใย 1.คุณสมบัติหลัก(primary properties) 2.คุณสมบัติรอง(secondary properties)

  2. คุณสมบัติหลัก • อัตราส่วนความยาวต่อความกว้าง ปกติควรมีเท่ากับ100เส้นใยส่วนใหญ่จะมีมากกว่านี้ • โมเลกุลหลายๆโมเลกุลมาเรียงตัวกันเป็นโซ่ยาวเรียกว่า โพลีเมอร์(polymer) • จำแนกเส้นใยโดยวัดขนาดความยาวเป็น 2 ชนิด เส้นใยที่วัดเป็นนิ้วเรียกเส้นใยสั้น(Staplefibers)เส้นใยวัดเป็นเมตร หลา กิโลเมตร ไมล์เรียกเส้นใยยาว(Filament fibles)

  3. ความเหนียว(Tenacity) • เส้นใยยาววัดเป็นกรัมต่อดีเนียร์ • ผ้าโดยทั่วไปควรทอด้วยเส้นใยที่มีความเหนียวอย่างต่ำ2.5 กรัม/ดีเนียร์ • ผ้าที่มีความเหนียวไม่ใช่ทอจากเส้นใยที่มีความเหนียวอย่างเดียวมีคุณสมบัติอื่นประกอบด้วยเช่นใยขนสัตว์ • เส้นใย ฝ้าย ลินิน รามี เพิ่มความเหนียวเมื่อเปียก • เส้นใยไหม ขนสัตว์ลดความเหนียวลงเมื่อเปียกเช่นเดียวกับใยสังเคราะห์จากเซลลูโลส ใยโปรตีนสังเคราะห์

  4. ความโค้งงอได้(flexibilty) • ความสามารถในการเข้าเกลียวได้ • เมื่อนำทอเป็นผ้าสามารถปรับเข้ารูปร่างได้ • นุ่ม อ่อนตัว จับจีบได้ดี

  5. แรงดึงดูดหรือแรงเกาะกัน(Cohesiveness)ความเป็นอันหนึ่งอันเดียวกัน(Uniformity)แรงดึงดูดหรือแรงเกาะกัน(Cohesiveness)ความเป็นอันหนึ่งอันเดียวกัน(Uniformity) คุณสมบัติรอง *รูปร่างของเส้นใย *ความหนาแน่นและความถ่วงจำเพาะ บอกถึงนน.ของผ้า ความหนาแน่นวัดเป็นกรัม/ลบ.ซม. ความถ่วงจำเพาะคือเมื่อเปรียบเทียบกับนน.ของน้ำที่มีปริมาตรเท่ากันที่T4องศาc

  6. การดูดซึมน้ำและความชื้นการดูดซึมน้ำและความชื้น • ความสามารถของเส้นใยในการดูดความชื้นในอากาศ • Hygroscopicity ความสามารถของเส้นใยหรืดผ้าดูดความชื้นในอากาศและไม่ทำให้รู้สึกเปียก • Moisture regain เส้นใยดูดความชื้นได้ในบรรยากาศทดสอบเส้นใยคือความชื้นสัมพัทธ์ 65%T70องศาF • เส้นใยที่ดูดซึมน้ำได้ดีสามารถย้อมติดสีดีด้วย • เส้นใยเซลลูโลสมีกลุ่มไฮดรอกซิลมากโมเลกุลเรียงตัวไม่เป็นระเบียบดูดซึมน้ำดีซึ่งตรงข้ามกับใยสังเคราะห์

  7. ความยืดได้(Elongation) • ความสามารถยืดของเส้นใยถึงจุดๆหนึ่ง คิดเป็น%การผลิตเส้นใยควรมีอย่างต่ำ10% • ลินินมี%การยืดน้อยมากคือ2.0 ฝ้าย 3.7 ขนสัตว์ 25 • สแปนเด็กซ์ 500

  8. ความยืดหยุ่น(Elastic Recovery)เมื่อดึงยืดเส้นใยสามารถสปริงตัวกลับเท่าเดิมเรียกมีความยืดหยุ่นได้100%ขึ้นอยู่กับเวลา ขนาดความยืด เมื่อทอเป็นผ้าจะทนยับทนต่อการเสียดสี คงรูป ความคืนตัว(Resilience)เมื่อนำไปใช้สามารถคืนสภาพเดิมได้เร็ว เช่นพรมเช็ดเท้า เสื้อผ้าที่ทำจากขนสัตว์

  9. ความทนต่อการเสียดสี: ความคงสภาพเดิมไว้ได้นานเมื่อได้รับการเสียดสี ใยที่ทนได้ดีเยี่ยมได้แก่ ไนลอน โอลิฟิน ได้ดีได้แก่ฝ้าย โพลิเอสเตอร์ ทนได้ต่ำคืออาซิเตด ใยแก้ว ความคงรูปของเส้นใย:ความสามารถในการรักษารูปทรงไว้ได้นานเมื่อใช้งาน แม้จะถูกความร้อน ความเย็น ความชื้น ขนสัตว์จะหดง่ายเพราะโครงสร้างเป็นสเกลซ้อนกัน เรยองเมื่อเปียกจะยืด

  10. การทนต่อความร้อน คุณสมบัตินี้มีผลต่อการซักรีด ใยสังเคราะห์ไม่ทนต่อความร้อน ใยลินินทนต่อความร้อนได้ถึง500องศาF การนำไฟฟ้าผ้าที่ดูดซึมน้ำได้ดีจะเป็นตัวนำไฟฟ้าที่ดี ไม่ทำให้เกิดไฟฟ้าสถิต

  11. ความมัน(Luster) ทำให้ผ้ามีความงาม ขึ้นอยู่กับปริมาณสะท้อนแสงของเส้นใย พื้นผิวของผ้า สีของผ้า สารติตาเนียมไดอ๊อกไซด์ช่วยลดความมันใช้กับผ้าใยสังเคราะห์ ความโปร่งแสงความโปร่งแสงของผ้าทำให้แสงผ่านได้ ผ้าจะดูบางหรือหนามากน้อยขึ้นอยู่กับสีและความมันของผ้านั้น สีอ่อนโปร่งแสงมากกว่าสีแก่

  12. ความทนทานทางชีววิทยา(Biological Resistance)ผงซักฟอกเข้มข้น แมลง เชื้อราจะทำลายเส้นใยที่มีBRต่ำ มอดชอบกินใยขนสัตว์เพราะมีสปก.เป็นกำมะถัน ราชอบใยเซลลูโลส ความทนทานต่อแสงแดด ผ้าม่านมีความต้องการ ใยที่ทนแสงแดดได้ดีได้แก่ ใยแก้ว อะไครลิค ที่ทนได้ต่ำได้แก่ ไนลอน ขนสัตว์และไหม

  13. โครงสร้างทางกายภาพของเส้นใยโครงสร้างทางกายภาพของเส้นใย • ความยาวของเส้นใย(Fiber length)แบ่งเป็น 2 ชนิดคือ เส้นใยสั้นและเส้นใยยาว • เส้นใยยาว(Filaments)มี 2 ชนิด • 1.โมโนฟิลาเมนท์(Monofilaments):ใยยาวเดี่ยว เรียบ ทนทาน ทอเป็นผ้าเนื้อละเอียด บางเบา ใช้ทำเสื้อชั้นใน ถุงเท้า มีทั้งขนาดเล็กและขนาดใหญ่ • 2.มัลติฟิลาเมนท์(Multifilaments):ใยยาวรวม ใยยาวหลายเส้นมาเข้าเกลียวรวมกัน ทอเป็นผ้าผิวสัมผัสนุ่ม เงางาม จับจีบได้ดี ลักษณะคล้ายไหม

  14. ความกว้างหรือเส้นผ่าศูนย์กลางของเส้นใยความกว้างหรือเส้นผ่าศูนย์กลางของเส้นใย • เส้นผ่าศูนย์กลางของเส้นใยวัดเป็นไมครอน(1 micron =1/1000ม.ม. หรือ 1/25400 นิ้ว) • เส้นผ่าศูนย์กลางหรือขนาดของเส้นใยสังเคราะห์ ขึ้นกับหัวฉีด(Spinneret)และการยืดเส้นใยขณะปั่น ความยาวของเส้นใยยาววัดเป็นเดเนียร์(denier) • เดเนียร์ คือหน่วยวัดขนาดเส้นใยยาว วัดเป็นกรัมจากนน.ของเส้นใยยาว 9000เมตร

  15. พื้นผิวของเส้นใย • เส้นใยธรรมชาติมีรูปร่างลักษณะไม่เป็นรูปแบบเดียวกันตลอดความยาว ตรงข้ามกับเส้นใยสังเคราะห์ซึ่งสามารถควบคุมได้ • การผสมเส้นใยสังเคราะห์กับใยธรรมชาติ ผู้ผลิตต้องผลิตเส้นใยสังเคราะห์ให้มีรูปร่างเหมือนกับใยธรรมชาตินั้น จึงจะผสมกันได้

  16. รูปร่างหน้าตัดของเส้นใยรูปร่างหน้าตัดของเส้นใย • จาก sheet

  17. ความหยิกงอของเส้นใย(Crimp)ความหยิกงอของเส้นใย(Crimp) • ทำให้เส้นใยรวมตัวหรือเกาะกลุ่มกันได้ดี เส้นใยธรรมชาติมีความหยิกงอลักษณะโค้งมน ใยสังเคราะห์มักเป็นมุมหัก • ใยที่หยิกงอจะรวมตัวกันง่าย ได้เส้นใยเหนียว นุ่ม หนา ดูดซึมน้ำได้ดี ให้ความอบอุ่น • ความหยิกงอแบ่งได้ 3 ชนิด • 1.ทำให้หยิกงอทางกล • 2.หยิกงอตามธรรมชาติ • 3.โดยทางเคมี

  18. โครงสร้างภายในของเส้นใยโครงสร้างภายในของเส้นใย • เส้นใยประกอบด้วยโมเลกุลเรียงต่อกันยาว เรียกว่า Linear Polymers • การเรียงตัวของโมเลกุลมีผลต่อคุณสมบัติของผ้า เส้นใยที่มีห่วงโมเลกุลเรียงตัวกันดี ขนานกับแกนเส้นใยเรียกว่า high orientation เมื่อนำไปทอเป็นผ้า มีความเหนียว ทนทาน แต่ยืดน้อย • เส้นใยที่มีการเรียงตัวต่ำหรือเรียงไม่เป็นระเบียบ (amorphous) ทอเป็นผ้าจะไม่เหนียว

  19. ตัวยึดห่วงโมเลกุล • 1.Hydrogen bonds เป็นแรงยึดที่มีความแข็งแรง จับกับระหว่างไฮโดรเจนกับอะตอมที่มีอิโทรเนกกะตีฟ • 2.Van der wals forces เป็นแรงยึดที่ไม่แข็งแรง • Crytalline เป็นห่วงโมเลกุลที่เรียงตัวขนานกัน และยึดเกาะกันแน่นเป็นกลุ่มเรียงซ้อนกัน ในเส้นใยเส้นเดียวกันอาจมีการเรียงตัวของโมเลกุลหลายแบบรวมกัน • Cross-linking เป็นตัวยึดข้ามระหว่างโมเลกุลที่เรียงตัวกันดี ทำให้ผ้าไม่ยับและคืนตัวได้ดี ไม่เกิดในamorphous เช่นใยขนสัตว์

More Related