1 / 23

การทดสอบความปลอดภัยทางชีวภาพด้านอาหาร โดย คณะกรรมการกลางด้านความปลอดภัยทางชีวภาพ

การทดสอบความปลอดภัยทางชีวภาพด้านอาหาร โดย คณะกรรมการกลางด้านความปลอดภัยทางชีวภาพ. สุคุณ คุณะวเสน โปรแกรมความปลอดภัยทางชีวภาพ ศูนย์พันธุวิศวกรรมและเทคโนโลยีชีวภาพแห่งชาติ. การเสวนาความปลอดภัยอาหาร สัญจร วันที่ 27 มกราคม 254 8 คณะเทคโนโลยี มหาวิทยาลัยขอนแก่น.

karif
Télécharger la présentation

การทดสอบความปลอดภัยทางชีวภาพด้านอาหาร โดย คณะกรรมการกลางด้านความปลอดภัยทางชีวภาพ

An Image/Link below is provided (as is) to download presentation Download Policy: Content on the Website is provided to you AS IS for your information and personal use and may not be sold / licensed / shared on other websites without getting consent from its author. Content is provided to you AS IS for your information and personal use only. Download presentation by click this link. While downloading, if for some reason you are not able to download a presentation, the publisher may have deleted the file from their server. During download, if you can't get a presentation, the file might be deleted by the publisher.

E N D

Presentation Transcript


  1. การทดสอบความปลอดภัยทางชีวภาพด้านอาหารการทดสอบความปลอดภัยทางชีวภาพด้านอาหาร โดย คณะกรรมการกลางด้านความปลอดภัยทางชีวภาพ สุคุณ คุณะวเสน โปรแกรมความปลอดภัยทางชีวภาพ ศูนย์พันธุวิศวกรรมและเทคโนโลยีชีวภาพแห่งชาติ การเสวนาความปลอดภัยอาหารสัญจร วันที่ 27 มกราคม 2548 คณะเทคโนโลยี มหาวิทยาลัยขอนแก่น

  2. กรอบการดำเนินงานด้านความปลอดภัยทางชีวภาพของประเทศไทยกรอบการดำเนินงานด้านความปลอดภัยทางชีวภาพของประเทศไทย กก.นโยบายเทคโนโลยีชีวภาพแห่งชาติ ประธานฯ - นายกรัฐมนตรี กระทรวงวิทย์ฯ อกก.เฉพาะกิจเพื่อพัฒนานโยบายพันธุวิศวกรรม และความปลอดภัยทางชีวภาพ สวทช. สน.เลขานุการ คณะกรรมการกลางฯ ไบโอเทค สน.เลขานุการ • พืช • จุลินทรีย์ • อาหาร • สังคม - เศรษฐกิจ • ปศุสัตว์ • ประมง • การค้าและพาณิชย์ • กฎหมาย • สิ่งแวดล้อม หน่วยงานที่มีอำนาจทางกฎหมาย - กรมวิชาการเกษตร - อย. - กรมปศุสัตว์ - กรมประมง - กระทรวงพาณิชย์ - สผ. • คณะกรรมการฯ ระดับสถาบัน IBCs • 25 แห่ง • - มหาวิทยาลัย 17 แห่ง • หน่วยงานราชการ 6 แห่ง • สถาบันวิจัย 1 แห่ง • ผู้ประกอบการเอกชน 1 แห่ง คณะอนุกรรมการฯ คณะทำงานฯ

  3. คณะอนุกรรมการเพื่อความปลอดภัยทางชีวภาพด้านอาหารคณะอนุกรรมการเพื่อความปลอดภัยทางชีวภาพด้านอาหาร • แต่งตั้งโดยคณะกรรมการกลางด้านความปลอดภัยทางชีวภาพ • เมื่อ พ.ศ.2541 • ที่ปรึกษาด้านวิชาการเกี่ยวกับอาหารที่ได้จากสิ่งมีชีวิตดัดแปลง พันธุกรรมแก่สำนักงานคณะกรรมการอาหารและยา • จัดทำแนวทางปฏิบัติสำหรับการประเมิน ความปลอดภัยของอาหารที่ได้จากสิ่งมีชีวิต ดัดแปลงพันธุกรรม เมื่อ พ.ศ.2544 (กำลังปรับปรุง โดยให้มีความสอดคล้องกับมาตรฐาน Codex)

  4. คณะอนุกรรมการเพื่อความปลอดภัยทางชีวภาพด้านอาหาร (ต่อ) • ดำเนินการประเมินความปลอดภัยของพืชอาหาร • ที่ได้จากการดัดแปลงพันธุกรรม • (ดำเนินการแล้ว) • น้ำมันจากเมล็ดฝ้ายบอลล์การ์ด • ถั่วเหลืองราวด์อัพ สายพันธุ์ GTS 40-3-2 • ข้าวโพดสายพันธุ์ GA 21 และ NK 603 • (กำลังดำเนินการ) • ข้าวโพดสายพันธุ์ MON 810 • มะละกอต้านทานไวรัสใบด่างจุดวงแหวน กรมวิชาการเกษตร

  5. ความปลอดภัยของอาหารที่ได้จากการดัดแปลงพันธุกรรมความปลอดภัยของอาหารที่ได้จากการดัดแปลงพันธุกรรม

  6. อาหารที่ไม่ได้มาจากการดัดแปลงพันธุกรรมอาหารที่ไม่ได้มาจากการดัดแปลงพันธุกรรม • การพัฒนาพันธุ์แบบดั้งเดิมโดยการใช้แสง UV หรือการใช้สารเคมีที่ก่อให้เกิดการกลายพันธุ์ • ไม่มีกฎระเบียบและแนวทางปฏิบัติที่ชัดเจนในการประเมินความปลอดภัย

  7. ความเสี่ยงจากอาหารที่ได้จากการดัดแปลงพันธุกรรมความเสี่ยงจากอาหารที่ได้จากการดัดแปลงพันธุกรรม • สารพิษ(Toxicity) • ปริมาณของสารอาหารและสารโภชนาการ • (Nutritional adequacy) • สารก่อภูมิแพ้ (Allergenicity) • การถ่ายทอดของสารพันธุกรรม(Gene transfer) • การเกิดโรค (Pathogenicity)

  8. หลักการ ความเทียบเท่าโดยสาระสำคัญ (Substantial equivalence) • ; OECD 1993 • หลักการวิเคราะห์ความเสี่ยงของอาหารที่ได้จากเทคโนโลยีชีวภาพสมัยใหม่ • แนวทางปฏิบัติสำหรับการประเมินความปลอดภัยของพืชอาหารที่ได้จาก • การดัดแปลงพันธุกรรม • แนวทางปฏิบัติสำหรับการประเมินความปลอดภัยของอาหารที่ได้จาก • จุลินทรีย์ดัดแปลงพันธุกรรม

  9. เกณฑ์ที่ใช้สำหรับหลัก “ความเทียบเท่าโดยสาระสำคัญ” • ลักษณะปรากฏ (phenotype) และลักษณะทางพันธุกรรม (genotype) ของสิ่งมีชีวิต • ความแตกต่างของส่วนประกอบทางเคมีก่อนและหลังขั้นตอน การผลิต (สารอาหารและสารพิษ) • ผลกระทบทางชีวภาพ (เช่น การกลายพันธุ์หรือการศึกษาในสัตว์) • รูปแบบการบริโภค (เช่นสัดส่วนการบริโภค)

  10. 1. มีความเทียบเท่าทุกประการ • “ อาหารที่ได้จากการดัดแปลงทางพันธุกรรมมีความเทียบเท่ากับอาหารธรรมดาทั้งทางด้านคุณสมบัติทางเคมี โภชนาการ และความปลอดภัย ” • ตัวอย่างอาหารได้แก่ น้ำมันพืช ที่มีความบริสุทธิ์สูง • อาหารในกลุ่มนี้ถือว่ามีความปลอดภัยเทียบเท่า

  11. การเทียบเท่า • 2. มีความเทียบเท่า • ยกเว้นส่วนที่มีความแตกต่างอย่างจำเพาะ • “ อาหารตัดแต่งพันธุกรรมส่วนมากจัดอยู่ในประเภทนี้ • ต้องมีการตรวจสอบความปลอดภัยโดยพิจารณาในส่วนที่ • ความแตกต่าง ”

  12. 3. ไม่มีความเทียบเท่า • “ อาหารประเภทนี้จะต้องผ่านการประเมินความปลอดภัย อย่างรัดกุม โดยเฉพาะในมนุษย์ ” • ขณะนี้ยังไม่มีอาหารชนิดใดที่จัดอยู่ในประเภทนี้ การเทียบเท่า

  13. การประเมินความปลอดภัยการประเมินความปลอดภัย ของอาหารที่ได้จากสิ่งมีชีวิตดัดแปลงพันธุกรรม 1. คุณลักษณะที่แสดงออกของสิ่งมีชีวิตดัดแปลงพันธุกรรม 2. องค์ประกอบของสารโภชนาการต่างๆ 3. ข้อมูลการใช้เป็นอาหาร 4. ความเป็นไปได้ในการเป็นสารพิษและสารก่อภูมิแพ้ จาก Guidelines in Safety Assessment of Genetically Modified Food

  14. งานวิจัยและพัฒนามะละกอดัดแปลงพันธุกรรมงานวิจัยและพัฒนามะละกอดัดแปลงพันธุกรรม • มะละกอต้านทานไวรัสใบด่างจุดวงแหวน (PRSV) • มะละกอชะลอการสุกงอม (delay ripening)

  15. มะละกอดัดแปลงพันธุกรรมต้านทานมะละกอดัดแปลงพันธุกรรมต้านทาน ไวรัสใบด่างจุดวงแหวน มะละกอที่ได้รับเชื้อไวรัส ใบด่างจุดวงแหวน

  16. โรคไวรัสใบด่างจุดวงแหวนโรคไวรัสใบด่างจุดวงแหวน

  17. หน่วยงานในประเทศ ที่มีงานวิจัยพัฒนา มะละกอดัดแปลงพันธุกรรม • กรมวิชาการเกษตร • หน่วยพันธุวิศวกรรมด้านพืช มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ • สถาบันอณูชีววิทยาและพันธุศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหิดล

  18. การประเมินความปลอดภัยทางชีวภาพด้านอาหารการประเมินความปลอดภัยทางชีวภาพด้านอาหาร ของมะละกอดัดแปลงพันธุกรรม

  19. ประเทศสหรัฐอเมริกา • มะละกอดัดแปลงพันธุกรรมต้านทานไวรัสใบด่างจุดวงแหวน สายพันธุ์ 55-1/63-1 • ได้รับการอนุมัติจากหน่วยงานภาครัฐ • ปี 1996 ด้านสิ่งแวดล้อม โดย USDA - APHIS • และ ปี 1997 ด้านอาหารโดย USFDA

  20. เกณฑ์การประเมินความปลอดภัยโดย USFDA • คุณค่าทางโภชนาการ • : วิตามินเอและซี, ปริมาณน้ำตาล • สารพิษที่มีอยู่แล้วในธรรมชาติ • : benzyl isothiocyanate (BITC) • การเกิดพิษและการก่อภูมิแพ้ • : ประวัติการบริโภคที่ปลอดภัย, การทนทานต่อ • ความร้อนและกรด, ฐานข้อมูลของสารพิษและ • สารก่อภูมิแพ้

  21. เกณฑ์การประเมินความปลอดภัยเกณฑ์การประเมินความปลอดภัย โดยคณะอนุกรรมการภายใต้คณะกรรมการกลางฯ • คุณค่าทางโภชนาการ • : วิตามินเอ วิตามินซีและไลโคพีน, โพแทสเซียม, • ปริมาณน้ำตาล, คาร์โบไฮเดรต, ใยอาหาร • ปริมาณ coat protein • สารพิษที่มีอยู่แล้วในธรรมชาติ • : benzyl isothiocyanate (BITC)

  22. เกณฑ์การประเมินความปลอดภัยเกณฑ์การประเมินความปลอดภัย โดยคณะอนุกรรมการภายใต้คณะกรรมการกลางฯ (ต่อ) • การทดสอบความปลอดภัยจากการบริโภคมะละกอ • ดัดแปลงพันธุกรรมของหนูทดลอง • การเกิดสารพิษและสารภูมิแพ้ • : ประวัติการบริโภคที่ปลอดภัย, การทนทานต่อ • ความร้อนและกรด, ฐานข้อมูลของสารพิษและ • สารก่อภูมิแพ้

  23. ขอบคุณครับ

More Related