1 / 39

บทที่ 8 ราคา ( Pricing)

บทที่ 8 ราคา ( Pricing). A. Treetip Boonyam Bangkok University. ราคา (Price). คือ มูลค่าของสินค้าหรือบริการในรูปจำนวนเงิน เพื่อก่อให้เกิดการแลกเปลี่ยนหรือย้ายกรรมสิทธิ์นั้น มูลค่า (Value) การวัดในเชิงปริมาณของมูลค่าผลิตภัณฑ์ซึ่งทำให้ผู้บริโภคพึงพอใจ และจูงใจให้แลกเปลี่ยน

Télécharger la présentation

บทที่ 8 ราคา ( Pricing)

An Image/Link below is provided (as is) to download presentation Download Policy: Content on the Website is provided to you AS IS for your information and personal use and may not be sold / licensed / shared on other websites without getting consent from its author. Content is provided to you AS IS for your information and personal use only. Download presentation by click this link. While downloading, if for some reason you are not able to download a presentation, the publisher may have deleted the file from their server. During download, if you can't get a presentation, the file might be deleted by the publisher.

E N D

Presentation Transcript


  1. บทที่ 8ราคา (Pricing) A. Treetip Boonyam Bangkok University

  2. ราคา (Price) • คือ มูลค่าของสินค้าหรือบริการในรูปจำนวนเงิน เพื่อก่อให้เกิดการแลกเปลี่ยนหรือย้ายกรรมสิทธิ์นั้น • มูลค่า (Value) • การวัดในเชิงปริมาณของมูลค่าผลิตภัณฑ์ซึ่งทำให้ผู้บริโภคพึงพอใจ และจูงใจให้แลกเปลี่ยน • อรรถประโยชน์(Utility) • คุณสมบัติของผลิตภัณฑ์ที่เอื้อประโยชน์ให้

  3. อรรถประโยชน์(Utility) • Form utility: รูปร่างสวยถูกใจ • Time Utility: ซื้อได้ตามฤดูกาล • Place utility: หาซื้อได้ง่าย • Possession Utility: สามารถซื้อและเป็นเจ้าของได้

  4. Value Added • การสร้างมูลค่าเพิ่มให้กับสินค้า นั่นคือ สร้างคุณค่าให้สินค้ามากขึ้นกว่าที่ลูกค้าควรจะได้รับ • เป็นการเปรียบเทียบระหว่างประโยชน์ที่ลูกค้าได้รับ กับปริมาณเงินที่เสียไป • ขึ้นอยู่กับความพึงพอใจเป็นหลัก ของแพงแต่ถูกใจ ก็เป็นราคาที่เหมาะสมได้เช่นกัน

  5. ความสำคัญของราคา • ทำให้เกิดรายได้จากการขาย • ทำให้เกิดกำไร และขยายกิจการได้ • เกิดการจ้างแรงงาน • ระบบเศรษฐกิจดีขึ้น

  6. วัตถุประสงค์ในการตั้งราคาวัตถุประสงค์ในการตั้งราคา กำไรตามเป้าหมาย 1. เพื่อกำไร กำไรสูงสุด กำไรในระดับที่พอใจ เพิ่มปริมาณขาย 2. เพื่อเพิ่มยอดขาย เพิ่มส่วนครองตลาด 3. เพื่อรักษาสถานะเดิม

  7. วัตถุประสงค์เพื่อผลกำไรวัตถุประสงค์เพื่อผลกำไร • กำไรตามเป้าหมายที่กำหนด • ระยะสั้น เช่น 1 ปี ได้กำไร 0% จากเงินลงทุน • ระยะยาว เช่น 3 ปี ได้กำไร 10% จากเงินลงทุน

  8. วัตถุประสงค์เพื่อผลกำไรวัตถุประสงค์เพื่อผลกำไร • กำไรสูงสุด • เหมาะกับกิจการขนาดเล็ก หรือขายสินค้าแบบผูกขาด • มักเป็นแผนระยะสั้น เนื่องจากคู่แข่งเริ่มมาก • มักใช้กับสินค้าหรูหรา ต้องการ Image

  9. วัตถุประสงค์เพื่อผลกำไรวัตถุประสงค์เพื่อผลกำไร • กำไรในระดับที่พอใจ • เป็นระดับกำไรที่ทำให้อยู่รอดได้ต่อไป • เป็นที่พอใจของผู้ถือหุ้น

  10. วัตถุประสงค์เพื่อเพิ่มยอดขายวัตถุประสงค์เพื่อเพิ่มยอดขาย • การเพิ่มปริมาณการขาย • เชื่อว่ายอดขายเพิ่ม กำไรจะเพิ่มตาม • การเพิ่มส่วนครองตลาด • สูตรหา % Market Share • ต้องเพิ่มยอดขายของตน ให้มากกว่าการเพิ่มของยอดขายของคู่แข่งด้วย

  11. วัตถุประสงค์เพื่อรักษาสถานะวัตถุประสงค์เพื่อรักษาสถานะ • เพื่อตรึงราคาสินค้าให้คงที่ • หลีกเลี่ยงการแข่งขันหรือสงครามราคา • เป็นผู้นำด้านราคาในระยะยาว • ผู้ตามจะตั้งราคาตามผู้นำในตลาด

  12. ปัจจัยที่มีอิทธิพลต่อการตัดสินใจด้านราคาปัจจัยที่มีอิทธิพลต่อการตัดสินใจด้านราคา • ปัจจัยภายใน(Internal Factor) • ปัจจัยภายนอก(External Factor)

  13. ปัจจัยภายใน • เป้าหมายและวัตถุประสงค์ขององค์กร • ต้นทุน: เป็นราคาพื้นฐานของสินค้า • ลักษณะผลิตภัณฑ์: สินค้าต่างมากราคาสูงตาม • วงจรชีวิตผลิตภัณฑ์

  14. วงจรชีวิตผลิตภัณฑ์กับการตั้งราคาวงจรชีวิตผลิตภัณฑ์กับการตั้งราคา • ขั้นแนะนำ:สูงหรือต่ำก็ได้ • ขั้นเติบโต: มักตั้งราคาให้ต่ำลง • ขั้นเติบโตเต็มที่: ราคาตั้งตามคุณภาพสินค้า ปรับราคามาก • ขั้นตกต่ำ • ลดราคาเพื่อรักษาความต้องการลูกค้า • ขึ้นราคาถ้าลูกค้ามี Brand Loyalty

  15. ปัจจัยภายนอก • วัตถุดิบ: เป็นต้นทุนสินค้า • ความยืดหยุ่นของอุปสงค์: P สูง D ลด • ความต้องการด้านจิตวิทยา • สภาพเศรษฐกิจ • กฎหมายและรัฐบาล

  16. ปัจจัยภายนอก • การแข่งขัน • แข่งขันแบบสมบูรณ์ • แข่งขันแบบกึ่งผูกขาด • แข่งขันแบบผู้ประกอบการน้อยราย • แข่งขันแบบผูกขาด

  17. วิธีพื้นฐานในการตั้งราคาวิธีพื้นฐานในการตั้งราคา • การตั้งราคาทางทฤษฎี • การตั้งราคาทางปฏิบัติ

  18. การตั้งราคาทางทฤษฎี • ตั้งราคาโดยพิจารณารายรับรวม และต้นทุนรวม • ตั้งราคาโดยคำนึงจุดคุ้มทุน • จุดคุ้มทุน คือจุดที่ปริมาณสินค้ามีจำนวนที่ทำให้ต้นทุนสินค้ารวมทั้งหมดเท่ากับรายรับรวมทั้งหมด หรือ มีกำไรเป็น 0 พอดี

  19. วิธีการคำนวณ • กำหนดราคาจากการกำหนดปริมาณสินค้า ตามสูตร • กำหนดราคาโดยคำนึงถึงกำไรเป็นหลัก • กำไรสุทธิ = รายรับรวม - ต้นทุนรวม

  20. การกำหนดราคาทางปฏิบัติการกำหนดราคาทางปฏิบัติ • คำนึงถึงอัตราผลตอบแทนตามเป้าหมายของเงินทุน • การตั้งระดับราคาสำหรับคนกลาง • Mark up • Mark up on price • Mark up on cost • Mark down

  21. Mark down • ลดราคาสินค้าลง เพราะตั้งไว้สูงเกินไป • ส่งเสริมการขายให้กับสินค้า • ต้องการระบายสินค้าหรือสินค้ามีตำหนิ • มีคำนวณด้วย ทำใจซะดีๆ

  22. นโยบายการตั้งราคา • ราคาเดียวและหลายราคา • ตั้งราคาสูงและราคาต่ำ • ราคาตามหลักจิตวิทยา • ระดับราคา • ส่วนลดและส่วนยอดให้ • ราคาตามหลักภูมิศาสตร์

  23. นโยบายราคาเดียวและหลายราคานโยบายราคาเดียวและหลายราคา • ราคาเดียว (One price Policy) • ซื้อทุกที่ได้ในราคาเท่ากัน • ลูกค้ามั่นใจได้ในระดับราคา • ราคาหลายๆ ราคา (Variable Price Policy) • ราคาจะต่างไปตามแต่ละร้าน • ช่วยให้ร้านค้าลดราคาให้กับลูกค้าของตนได้

  24. นโยบายราคาสูงและราคาต่ำนโยบายราคาสูงและราคาต่ำ • การตั้งราคาสูง (Skimming Price) เหมาะกับ • สินค้าใหม่ • Demand > Supply • Monopoly • ล้าสมัยง่าย (สินค้าเทคโนโลยี เป็นต้น)

  25. นโยบายราคาสูงและราคาต่ำนโยบายราคาสูงและราคาต่ำ • การตั้งราคาต่ำ (Penetration Price) • เจาะตลาดหวังครองตลาด • กีดกั้นคู่แข่งขันเข้ามาทำตลาด • ต้องเพิ่มกำลังการผลิตเนื่องจากแนวโน้มลูกค้าซื้อมากขึ้น

  26. นโยบายราคาตามหลักจิตวิทยานโยบายราคาตามหลักจิตวิทยา • เลขคี่ (Odd Number) • การตั้งราคาแบบล่อใจ (Lost Leader): ตั้งราคาต่ำกว่าทุน • การตั้งราคาเป็นกลุ่มสินค้า (Price Lining): กำหนดราคาสินค้าเป็นกลุ่ม ต่างกัน

  27. นโยบายราคาตามหลักจิตวิทยานโยบายราคาตามหลักจิตวิทยา • การตั้งราคาสินค้าที่แสดงถึงชื่อเสียง (Prestige Pricing); ราคาสูงไว้ก่อน • การตั้งราคาตามความเคยชิน (Customary Pricing): ตั้งตามผู้นำในตลาด เนื่องจากตั้งแปลกไม่ได้

  28. นโยบายการตั้งตามระดับราคานโยบายการตั้งตามระดับราคา • เท่ากับคู่แข่ง: หลีก • ต่ำกว่าคู่แข่ง: เพิ่มยอด / สู้ • สูงกว่าคู่แข่ง: เน้นคุณภาพ

  29. นโยบายให้ส่วนลดและส่วนยอมให้นโยบายให้ส่วนลดและส่วนยอมให้ • ส่วนลดปริมาณ • ส่วนลดการค้า • ส่วนลดเงินสด • ส่วนลดฤดูกาล • ส่วยยอมให้สำหรับส่งเสริมการขาย • ส่วนยอมให้สำหรับการโฆษณา • ส่วนยอมให้สำหรับการนำสินค้าเก่ามาแลก

  30. ส่วนลดปริมาณ • ส่วนลดแบบสะสม: ซื้อครบจำนวนตามกำหนดเวลา ได้ส่วนลดเพิ่มจากส่วนลดธรรมดา • ส่วนลดแบบไม่สะสม: ใช้จำนวนซื้อต่อครั้งเป็นหลักในการลดราคา

  31. ส่วนลดการค้า หรือ ส่วนลดตามหน้าที่ • ผู้ผลิตลดให้ร้านค้าส่ง โดยหักจากราคาขาย ประมาณ 30% • เป็นประโยชน์ต่อพ่อค้าคนกลางมาก

  32. ส่วนลดเงินสด • ลดให้เพิ่มอีก ถ้ามาจ่ายภายในกำหนด • ตัวอย่าง 2/10, n/30

  33. ส่วนลดตามฤดูกาล • ผู้ผลิตชักจูงพ่อค้าคนกลางให้ซื้อสินค้าตุนก่อนขายจริง • ผลักภาระการเก็บรักษาสินค้าไปได้

  34. ส่วนยอมให้สำหรับส่งเสริมการขายส่วนยอมให้สำหรับส่งเสริมการขาย • ส่วนลดที่ผู้ผลิตแถมตัวสินค้าให้กับร้านค้า • หรือเป็นส่วนลดเงินสดจำนวนหนึ่งเพื่อให้ร้านค้าขายสินค้าราคาต่ำลง

  35. ส่วนยอมให้สำหรับการโฆษณาส่วนยอมให้สำหรับการโฆษณา • ผู้ผลิตออกค่าใช้จ่ายการโฆษณาให้พ่อค้าคนกลางบางส่วน หรือทั้งหมด

  36. ส่วนยอมให้โดยการนำสินค้าเก่ามาแลกส่วนยอมให้โดยการนำสินค้าเก่ามาแลก • กระตุ้นให้ผู้บริโภคนำสินค้าเก่ามาแลกซื้อสินค้าใหม่ของเรา • เป็นกลยุทธ์ที่อาจดึงลูกค้าจากคู่แข่งขันได้

  37. นโยบายราคาตามหลักภูมิศาสตร์นโยบายราคาตามหลักภูมิศาสตร์ • ราคาเท่ากันในอาณาเขตเดียวกัน:AIS • การตั้งราคาส่งมอบราคาเดียว:เหมาะกับสินค้าชิ้นเล็ก น้ำหนักเบา

  38. นโยบายราคาตามหลักภูมิศาสตร์นโยบายราคาตามหลักภูมิศาสตร์ • การตั้งราคาแบบ F.O.B.: • F.O.B. Seller’s Plant: ตั้งราคาที่โรงงานผู้ผลิต ไม่รับผิดชอบค่าใช้จ่ายอื่นเลย • F.O.B. Buyer’s Plant: รวมค่าประกัน + ค่าขนส่ง มักใช้กับลูกค้าอยู่ใกล้

  39. นโยบายราคาตามหลักภูมิศาสตร์นโยบายราคาตามหลักภูมิศาสตร์ • การตั้งราคา ณ จุดฐาน: ราคาขาย + ค่าขนส่งจากจุดฐานที่ใกล้ลูกค้าที่สุด • Phantom Freight:จุดฐานทำให้เกิดคชจ. เพิ่มให้กับลูกค้า = ค่าขนส่งผี • Freight Absorption:จุดฐานทำให้เสียคชจ.น้อยลง = ค่าขนส่งที่ผู้ผลิตถูกดูดกลืน

More Related