1 / 20

ชุมชน มีความสามารถ ในการ กำหนดแผนพัฒนาสุขภาวะด้านเด็กและเยาวชน

ชุมชน มีความสามารถ ในการ กำหนดแผนพัฒนาสุขภาวะด้านเด็กและเยาวชน และดำเนินการผ่านรูปแบบกิจกรรมสร้างสรรค์สำหรับเด็ก เยาวชนและครอบครัว โดยการบริหารจัดการทรัพยากรบุคคลและสิ่งแวดล้อมของชุมชนเอง ภายใต้ฐานข้อมูลแนวคิดเชิงบวก (ต้นทุนชีวิตเด็กและเยาวชนไทย). การแก้ปัญหาเด็กและเยาวชน.

keiki
Télécharger la présentation

ชุมชน มีความสามารถ ในการ กำหนดแผนพัฒนาสุขภาวะด้านเด็กและเยาวชน

An Image/Link below is provided (as is) to download presentation Download Policy: Content on the Website is provided to you AS IS for your information and personal use and may not be sold / licensed / shared on other websites without getting consent from its author. Content is provided to you AS IS for your information and personal use only. Download presentation by click this link. While downloading, if for some reason you are not able to download a presentation, the publisher may have deleted the file from their server. During download, if you can't get a presentation, the file might be deleted by the publisher.

E N D

Presentation Transcript


  1. ชุมชนมีความสามารถในการชุมชนมีความสามารถในการ กำหนดแผนพัฒนาสุขภาวะด้านเด็กและเยาวชน และดำเนินการผ่านรูปแบบกิจกรรมสร้างสรรค์สำหรับเด็ก เยาวชนและครอบครัว โดยการบริหารจัดการทรัพยากรบุคคลและสิ่งแวดล้อมของชุมชนเอง ภายใต้ฐานข้อมูลแนวคิดเชิงบวก (ต้นทุนชีวิตเด็กและเยาวชนไทย)

  2. การแก้ปัญหาเด็กและเยาวชนการแก้ปัญหาเด็กและเยาวชน ระหว่าง ปัจจัยเสี่ยง และ ต้นทุนชีวิตเด็กและเยาวชนไทย

  3. มองต่างมุม 1. วัยรุ่นเป็นวัยที่มีความเสี่ยงและเป็นปัญหา 2.ให้ความสำคัญกับพฤติกรรมเสี่ยงมากกว่า 3.เมื่อเกิดผลจากพฤติกรรมเสี่ยงจึงค่อยวางแผนการ : วัวหายแล้วล้อมคอก 4.ขาดการจัดการกับปัญหา 1.วัยรุ่นเป็นวัยที่มีพลังความคิดสร้างสรรค์และมีศักยภาพมาก 2.ให้ความสำคัญกับการมีกิจกรรมร่วมมากกว่า 3.สร้างการส่งเสริมคุณภาพไว้เป็นเกราะป้องกันจากภาวะเสี่ยง 4.การมีส่วนร่วมกิจกรรมต่อชุมชนที่ชัดเจน • มองคุณค่าเป็นที่ตั้ง • มองปัญหาเป็นที่ตั้ง

  4. จุดเปลี่ยน • ปรับทัศนคติเป็นเชิงบวก • ค้นหาปัจจัยสร้างที่อ่อนแอ (เหตุแห่งปัญหา) เป็นรูปธรรม • ฟังเสียงสะท้อนจากเด็กและเยาวชน 360 องศา ทั้งตัวเองและทุนทางสังคมที่เกี่ยวข้องหรือใกล้ชิดที่สุด • ใช้ฐานข้อมูล สู่การขับเคลื่อน อย่างเป็นระบบ • ความรู้สึกเป็นเจ้าของ และความยั่งยืน พํฒนากรอบแนวคิด วิเคราะห์ วางแผน ให้กับฐานชุมชน มากกว่าการกำกับ

  5. จุดเปลี่ยน • แผนพัฒนาเด็กและเยาวชนท้องถิ่น สู่ สมัชชา และแผนประเทศ ด้วยการจัดการของชุมชน และภูมิปัญญาของชุมชน • ทำกิจกรรมเพื่อพัฒนาเด็ก • การมีส่วนร่วมจากทุกภาคส่วน สู่เด็กและเยาวชน

  6. ต้นทุนชีวิตเด็ก....แนวคิดเชิงบวกต้นทุนชีวิตเด็ก....แนวคิดเชิงบวก

  7. พลังต้นทุนชีวิต = พลังสร้างภูมิคุ้มกัน พลังเพื่อนและกิจกรรม พลังสร้างปัญญา ความคาดหวัง (ด้วยการเป็นผู้ฟังที่ดี) สัมพันธภาพ (ด้วยความรัก) พลังในตัวตนของ เด็กและเยาวชน พลังชุมชน การมีส่วนร่วม (ด้วยคุณค่า) พลังครอบครัว

  8. ปัจจัยเสี่ยงและปัจจัยสร้าง(RISK-PROTECTION MODEL) แบบสำรวจต้นทุนชีวิตในเด็กและเยาวชน Developmental assets survey จุดเปลี่ยนของเด็กและเยาวชน แรกเกิด -< 6 ปี 6 ปี -< 12 ปี 12 ปี -<18 ปี เด็กและเยาวชน สถาบันครอบครัว สถาบันการศึกษา กลุ่มเพื่อนและชุมชน

  9. ยุทธศาสตร์การจัดการงานด้านเด็กและเยาวชนของชุมชน(Community strategies) DA เยาวชน DA ปฐมวัย DA วัยเรียน อายุ 0 6 12 18 ปี 25 ปี สำรวจรอยต่อที่1 สำรวจรอยต่อที่2 สำรวจรอยต่อที่3 กำหนดยุทธศาสตร์ระดับชุมชน ร่วมกับกลไกการขับเคลื่อน กำหนดยุทธศาสตร์ระดับชุมชน ร่วมกับกลไกการขับเคลื่อน กำหนดยุทธศาสตร์ระดับชุมชน ร่วมกับกลไกการขับเคลื่อน ครอบครัว, ศูนย์เด็กปฐมวัย สถาบันการศึกษา ครอบครัวและชุมชน กลุ่มเยาวชนและชุมชน

  10. 5 พลังต้นทุนชีวิต 48 ตัวชี้วัด ประกอบด้วย 1.พลังตัวตน (คุณค่า ภาพลักษณ์ ทักษะสังคม) 2. พลังครอบครัว ( ความรัก อบอุ่น ปิยวาจา วินัย สนับสนุน) 3.พลังสร้างปัญญา (ในและนอกหลักสูตร) 4. พลังเพื่อนและกิจกรรม( กิจกรรมต่างๆ ศาสนา กีฬา ดนตรี) 5.พลังชุมชน ( เฝ้าระวัง กิจกรรมชุมชน จิตอาสา แบบอย่าง ความปลอดภัย )

  11. จุดเด่นของเครื่องมือ 1.ฟังเสียงเด็กและเยาวชนจริงๆจากพื้นที่โดยตรง 2.ข้อคำถามเชิงบวกที่แปลงนามธรรมให้เป็นรูปธรรมจับต้องได้ เต็มใจตอบ 3. สำรวจครอบคลุมทั้งทุนชีวิตในตัวเด็กเอง และทุนชีวิตจากสิ่งแวดล้อมในคราวเดียวกัน 4.แปลงเป็นกิจกรรมสร้างสรรค์เพื่อพัฒนาเด็กและเยาวชนด้วยทรัพยากรของชุมชนโดยชุมชนได้ทันที 5.เปลี่ยน “ฉัน” ให้เป็น “เขา” ทบทวนตัวพ่อแม่และผู้ใหญ่ได้ด้วย

  12. ตัวชี้วัด ต้นทุนชีวิตเด็ก พลังตัวตน สำคัญที่สุด • จุดยืนหรือค่านิยมต่อความดี ข้อที่ 1, 4, 6, 8 • วิถีประชาธิปไตย ข้อที่ 2, 3, 9 • ทักษะชีวิตหรือทักษะการอยู่ร่วมสังคม ข้อที่ 5, 7, 10 • ทักษะอารมณ์ ข้อที่ 8, 11, 12 • คุณค่าในตนเอง ข้อที่ 13, 14

  13. ตัวอย่าง ตัวชี้วัด ต้นทุนชีวิตเด็ก • การได้รับการสนับสนุนจากผู้ใหญ่ ข้อที่ 16,18, 22, 24, 27, 41 • การกำหนดวินัย ข้อที่ 20, 26, 47 • การเป็นแบบอย่างที่ดีของผู้ใหญ่ ข้อที่ 21, 35, 48 • ชุมชนน่าอยู่สำหรับเด็กข้อที่ 42, 43, 44, 45

  14. ตัวอย่าง ตัวชี้วัด ต้นทุนชีวิตเด็ก • สื่อ ข้อที่ 10, 23, 34, 40 • วัฒนธรรม วิถีพอเพียง ข้อที่ 15, 33, 46 • การสร้างปัญญา ข้อที่ 28,29,30,31,32 • ความปลอดภัย ข้อที่ 19, 25, 47 • ปิยะวาจา ข้อที่ 17 • กิจกรรมสร้างสรรค์ของเด็กข้อที่ 36, 37, 39

  15. พันธกิจ DA ยุทธศาสตร์องค์ความรู้ วิสัยทัศน์ ชุมชนมีศักยภาพ(ฐานชุมชน)ในการกำหนดแผนพัฒนาเด็กและเยาวชนของชุมชนด้วยชุมชนเองอย่างเป็นระบบและมีทิศทาง ฐานชุมชน ระบบพี่เลี้ยง ยุทธศาสตร์ขับเคลื่อน การเรียนรู้อย่างมีส่วนร่วม คณะทำงานและกลไก ยุทธศาสตร์ผลักดันนโยบายและเผยแพร่ DA (ต้นทุนชีวิตเด็กและเยาวชนไทย)=DA

  16. ฐานชุมชนเพื่อแผนพัฒนาเด็กและเยาวชนสู่ชุมชนเข้มแข็งฐานชุมชนเพื่อแผนพัฒนาเด็กและเยาวชนสู่ชุมชนเข้มแข็ง

  17. ระบบพี่เลี้ยง/ที่ปรึกษาในฐานชุมชนระบบพี่เลี้ยง/ที่ปรึกษาในฐานชุมชน

  18. บันได 3ขั้นสู่การพัฒนาฐานชุมชน เพื่องานด้านเด็กและเยาวชนอย่างมีทิศทาง(DA) ระบบพี่เลี้ยง พัฒนาทักษะต้นทุนชีวิตแนวคิดเชิงบวก วิทยากรกระบวนการ ด้วยผลวิเคราะห์ DA การเรียนรู้อย่างมีส่วนร่วม เด็ก เยาวชน ครอบครัว ในชุมชน พัฒนาคณะทำงานด้านเด็กและเยาวชน คณะทำงานสำรวจ/คิดวิเคราะห์ DAประจำชุมชน

  19. พัฒนาโครงการ ชุมชนขั้นพื้นฐาน Expect to see คณะทำงาน กิจกรรมสร้างสรรค์ กระบวนการแลกเปลี่ยน หลักสูตร หลักสูตร พัฒนาวิทยากร กระบวนการ .....พท. Expect to see พัฒนา/เลือกPL 20 พท. Like to see 10 พท. Love to see (เติม competency เพิ่มเรื่อง วิทยากรกระบวนการ,การเชื่อมโยง) • พัฒนาคณะทำงาน • การบริหารโครงการ • พี่เลี้ยง/ที่ปรึกษา • ต้นทุนชีวิตแนวคิดเชิงบวกเป็นเครื่องมือกำหนดทิศทางอย่างมีแบบแผน • เฝ้าระวัง และส่งต่อ • ชุมชนขั้นต้นแบบLove to see หลักสูตร ระบบพี่เลี้ยงใน ฐานชุมชน สร้างระบบการติดตามประเมินผล • การเชื่อมโยงภาคีเครือข่ายภาครัฐ(อบต. / สภาเด็กและเยาวชน) ชุมชนขั้นพัฒนา Like to see

  20. ภูมิใจกับ โครงการสร้างชาติ ด้วยแนวคิดเชิงบวก

More Related