1 / 38

ระบบข้าราชการผู้มีผลสัมฤทธิ์สูง High Performance and Potential System HiPPS

ระบบข้าราชการผู้มีผลสัมฤทธิ์สูง High Performance and Potential System HiPPS. ความหมายของระบบ HiPPS. วัตถุประสงค์และหลักการ. การสรรหาและคัดเลือกข้าราชการ เข้าสู่ระบบ HiPPS. การเสริมสร้างแรงจูงใจ. กรอบสั่งสมประสบการณ์ ( EAF ). แผนพัฒนารายบุคคล ( IDP ). การสอนงาน ( Coach).

kerem
Télécharger la présentation

ระบบข้าราชการผู้มีผลสัมฤทธิ์สูง High Performance and Potential System HiPPS

An Image/Link below is provided (as is) to download presentation Download Policy: Content on the Website is provided to you AS IS for your information and personal use and may not be sold / licensed / shared on other websites without getting consent from its author. Content is provided to you AS IS for your information and personal use only. Download presentation by click this link. While downloading, if for some reason you are not able to download a presentation, the publisher may have deleted the file from their server. During download, if you can't get a presentation, the file might be deleted by the publisher.

E N D

Presentation Transcript


  1. ระบบข้าราชการผู้มีผลสัมฤทธิ์สูงHighPerformanceandPotentialSystemHiPPSระบบข้าราชการผู้มีผลสัมฤทธิ์สูงHighPerformanceandPotentialSystemHiPPS

  2. ความหมายของระบบ HiPPS วัตถุประสงค์และหลักการ การสรรหาและคัดเลือกข้าราชการ เข้าสู่ระบบHiPPS การเสริมสร้างแรงจูงใจ กรอบสั่งสมประสบการณ์ (EAF) แผนพัฒนารายบุคคล (IDP) การสอนงาน (Coach) ผลการปฏิบัติราชการ การออกจากระบบ HiPPS 2

  3. เป็นเครื่องมือสำหรับผู้บริหารเป็นเครื่องมือสำหรับผู้บริหาร ในการบริหารจัดการกำลังคนที่มีคุณภาพ (Talent Management) HiPPS เป็นทางเลือก ในการแก้ปัญหาและความท้าทายของส่วนราชการ สร้างความพร้อมอย่างเป็นระบบ และต่อเนื่อง ผ่านกระบวนการ ที่มีประสิทธิภาพ และประสิทธิผล

  4. ๑. เพื่อดึงดูด รักษา และจูงใจคนเก่ง คนดี มีผลงาน๒. เพื่อพัฒนาอย่างต่อเนื่องและเป็นระบบ๓. เพื่อเตรียมผู้นำซึ่งมีคุณภาพ คุณธรรม จริยธรรม และประสบการณ์ วัตถุประสงค์หลัก หลักการ ๑. คัดเลือกอย่างมีมาตรฐาน ๒. เติบโตอย่างมีคุณภาพ ๓. พิสูจน์ด้วยผลงานและศักยภาพ ๔. ขับเคลื่อนผ่านกลไกแรงจูงใจ ๕. พัฒนาสู่เป้าหมายของส่วนราชการ ๖. แตกต่างแต่ไม่แปลกแยก 4

  5. การสรรหาและคัดเลือกข้าราชการเข้าสู่ระบบHiPPSการสรรหาและคัดเลือกข้าราชการเข้าสู่ระบบHiPPS คุณสมบัติผู้มีสิทธิสมัครคัดเลือก วิธีการคัดเลือก การรับสมัคร การคัดเลือกโดยส่วนราชการ เกณฑ์การตัดสิน

  6. กลุ่มเป้าหมาย ๑. ข้าราชการพลเรือนสามัญ ซึ่งดำรงตำแหน่งประเภทวิชาการ - ระดับปฏิบัติการหรือ - ระดับชำนาญการ

  7. เงื่อนไขอายุราชการ สำนักงาน ก.พ.

  8. กลุ่มเป้าหมาย • ๑. ข้าราชการพลเรือนสามัญ ซึ่งดำรงตำแหน่งประเภทวิชาการ • - ระดับปฏิบัติการหรือ • - ระดับชำนาญการ • ๒. ต้องปฏิบัติหน้าที่ราชการในกรมอนามัยอย่างน้อย ๑ ปี • ๓. มีผลงานโดดเด่นเป็นที่ประจักษ์และมีผลการปฏิบัติราชการ • ในรอบปีที่ผ่านมาโดยเฉลี่ยอยู่ในระดับดีมากขึ้นไป • ๔. มีความรู้ และทักษะทางภาษาอังกฤษในระดับดีมาก • และทางคอมพิวเตอร์ในระดับที่ใช้งานได้ดี

  9. ทักษะทางภาษาอังกฤษที่สำนักงาน ก.พ. กำหนด CU-TEP ไม่ต่ำกว่า ๖๐ คะแนน ไม่ต่ำกว่า ๕๐๐ คะแนน (paper-based) หรือ ไม่ต่ำกว่า ๑๗๓ คะแนน (computer-based) หรือ ไม่ต่ำกว่า ๖๑ คะแนน (internet-based) • TOEFL • IELTS ไม่ต่ำกว่าระดับ ๖ หมายเหตุ ต้องมีผลการทดสอบความรู้และทักษะทางภาษาอังกฤษประเภทใดประเภทหนึ่ง • สถาบันการต่างประเทศ • เทวะวงศ์วโรปการ (DVIFA) ระดับ Practical Level ไม่ต่ำกว่าร้อยละ ๖๐ สำนักงาน ก.พ.

  10. กลุ่มเป้าหมาย • ๑. ข้าราชการพลเรือนสามัญ ซึ่งดำรงตำแหน่งประเภทวิชาการ • - ระดับปฏิบัติการหรือ • - ระดับชำนาญการ • ๒. ต้องปฏิบัติหน้าที่ราชการในกรมอนามัยอย่างน้อย ๑ ปี • ๓. มีผลงานโดดเด่นเป็นที่ประจักษ์และมีผลการปฏิบัติราชการ • ในรอบปีที่ผ่านมาโดยเฉลี่ยอยู่ในระดับดีมากขึ้นไป • ๔. มีความรู้ และทักษะทางภาษาอังกฤษในระดับดีมาก • และทางคอมพิวเตอร์ในระดับที่ใช้งานได้ดี • ๕. เป็นผู้ที่มีศักยภาพที่เหมาะสมสำหรับการพัฒนา • ๖. เป็นผู้มีความประพฤติดี ปฏิบัติตนอยู่ในจรรยาและระเบียบวินัย

  11. วิธีการคัดเลือก ขั้นตอนที่ ๑ โดยคณะกรรมการ ของส่วนราชการ - ใบสมัคร - การสัมภาษณ์ ขั้นตอนที่ ๒ โดยสำนักงาน ก.พ. - วิชาความสามารถทั่วไปเชิงวิชาการ (Aptitude Test) - การประเมินคุณลักษณะที่พึงประสงค์ ของข้าราชการผู้มีผลสัมฤทธิ์สูง

  12. การรับสมัคร • ๑)ผู้บังคับบัญชาระดับต้นที่ควบคุมดูแล • การปฏิบัติงานเป็นผู้เสนอรายชื่อ • ข้าราชการที่มีคุณสมบัติตรงตามที่กำหนด ๒) ข้าราชการผู้มีคุณสมบัติ ตรงตามที่กำหนดสมัครด้วยตนเอง ขอรับใบสมัครได้ที่กลุ่มพัฒนาทรัพยากรบุคคล กองการเจ้าหน้าที่ หรือดาวน์โหลดแบบฟอร์มใบสมัคร ได้จากเว็บไซต์ของกองการเจ้าหน้าที่ http://person.anamai.moph.go.th/ กรอกรายละเอียดในใบสมัครให้ครบถ้วนด้วยตนเอง ยื่นใบสมัครด้วยตนเองหรือทางไปรษณีย์โดยส่งถึง กองการเจ้าหน้าที่ พร้อมหลักฐานผลคะแนนภาษาอังกฤษ

  13. การคัดเลือก ๑) ตรวจสอบคุณสมบัติเบื้องต้น และความคิดเห็นของผู้บังคับบัญชา ๒)ดำเนินการสัมภาษณ์ และสังเกตพฤติกรรม เพื่อประเมินศักยภาพและ สมรรถนะที่จำเป็นสำหรับการพัฒนาเพื่อก้าวขึ้นสู่ตำแหน่งที่สูงขึ้น - การมุ่งผลสัมฤทธิ์ - ความผูกพันต่อระบบราชการ - การบริการที่ดี - การอุทิศตนเพื่อสังคม - จริยธรรม - การทำงานเป็นทีม - การสั่งสมความเชี่ยวชาญในงานอาชีพ

  14. เกณฑ์การตัดสิน การคัดเลือกขั้นตอนที่ ๑ โดยคณะกรรมการของส่วนราชการ ผู้ที่จะถือว่าเป็นผู้ได้รับคัดเลือกต้องได้คะแนนรวมโดยเฉลี่ย จากกรรมการประเมินทุกท่านไม่ต่ำกว่าร้อยละ ๘๐ โดยกองการเจ้าหน้าที่จะดำเนินการแจ้งผลรายชื่อผู้ผ่านการคัดเลือก ไปยังสำนักงาน ก.พ. เพื่อดำเนินการคัดเลือกขั้นตอนที่ ๒ ต่อไป การคัดเลือกขั้นตอนที่ ๒ โดยสำนักงาน ก.พ. ๑) เป็นผู้ที่มีผลการสอบวิชาความสามารถทั่วไปเชิงวิชาการ (Aptitude Test) ที่คะแนนไม่ต่ำกว่า ๕๐ คะแนน ๒) ผ่านการประเมินคุณลักษณะที่พึงประสงค์ของข้าราชการผู้มีผลสัมฤทธิ์สูง ตามเกณฑ์ที่สำนักงาน ก.พ. กำหนด โดย สำนักงาน ก.พ. จะทำการประกาศรายชื่อผ่านเว็บไซต์ของสำนักงาน ก.พ.

  15. การเสริมสร้างแรงจูงใจการเสริมสร้างแรงจูงใจ

  16. สำนักงาน ก.พ. ได้กำหนดให้ส่วนราชการติดตามความก้าวหน้าของกระบวนการบริหารทรัพยากรบุคคลในระบบข้าราชการผู้มีผลสัมฤทธิ์สูงอย่างเป็นระบบและต่อเนื่อง เพื่อเป็นการพัฒนา และเสริมสร้างแรงจูงใจสำหรับข้าราชการในระบบฯ การเสริมสร้างแรงจูงใจ ๑. การสร้างทางก้าวหน้าในสายอาชีพ ๒. ค่าตอบแทน ๓. การเบิกจ่ายงบประมาณเพื่อเสริมสร้างแรงจูงใจ

  17. ค่าตอบแทน ตำแหน่ง • โอกาสได้รับพิจารณาเลื่อนเงินเดือนกรณีพิเศษ: • ได้รับเงินเดือนเพิ่มขึ้นจากการเลื่อนเงินเดือนกรณีปกติในอัตราร้อยละ ๑ ของฐานในการคำนวณต่อรอบการประเมินโดยในแต่ละส่วนราชการจะมีจำนวนข้าราชการผู้มีผลสัมฤทธิ์สูง ซึ่งได้รับการเลื่อนเงินเดือนกรณีพิเศษไม่เกินร้อยละ ๑๕ ของจำนวนข้าราชการผู้มีผลสัมฤทธิ์สูง • มุ่งพัฒนาข้าราชการผู้มีศักยภาพสูงในระดับปฏิบัติการ ให้เป็นข้าราชการระดับชำนาญการพิเศษ

  18. กรอบสั่งสมประสบการณ์ (EAF)

  19. กรอบการสั่งสมประสบการณ์ Experience Accumulation Framework- EAF คือ Career plan ที่ตอบคำถามว่า “หากจะเป็น....ตำแหน่งเป้าหมาย....” ต้องมีเส้นทางความก้าวหน้าอย่างไรบ้าง หรือ ต้องหมุนเวียนไปทำงานในสำนัก/กองใดบ้าง เพื่อเก็บเกี่ยวประสบการณ์ ที่ได้จากการทำงานจริงในฐานะ ข้าราชการของหน่วยงานภายในนั้นๆ ตำแหน่งเป้าหมาย • ทักษะ หรือ ความสามารถอะไร • ต้อง “ทำงาน” อะไรได้ • ต้องอยู่ในหน่วยงานนั้นๆ ระยะเวลาเท่าไหร่ HiPPS

  20. ระดับเป็นเลิศ Benchmarked ระดับสูง Advanced ระดับพื้นฐาน Fundamental

  21. นักวิชาการสาธารณสุข เชี่ยวชาญ (ตำแหน่งเป้าหมาย) รวมระยะเวลา ภายใน 7-11 ปี – เมื่อได้รับแต่งตั้งให้ดำรงตำแหน่ง หน่วยงานต้นสังกัด/ ส่วนกลาง/ศูนย์อนามัย หน่วยงานต้นสังกัด/ ส่วนกลาง/ศูนย์อนามัย ระดับเป็นเลิศ ( 3 ปี ) ชำนาญการ พิเศษ 3 ปี ส่งเสริมสุขภาพ อนามัยสิ่งแวดล้อม ระดับสูง ( 4 ปี ) หน่วยงานอื่นๆที่เกี่ยวข้อง ชำนาญการ 4 ปี หน่วยงานต้นสังกัด หน่วยงานส่วนกลางหรือส่วนภูมิภาคของกรมอนามัย หน่วยงานต้นสังกัด ระดับพื้นฐาน (ภายใน 4 ปี ) ปฏิบัติการ 2-6 ปี

  22. ขั้นตอนการจัดทำกรอบการสั่งสมประสบการณ์รายบุคคลขั้นตอนการจัดทำกรอบการสั่งสมประสบการณ์รายบุคคล

  23. 1 ปี • สำนักส่งเสริมสุขภาพ สำนักอนามัย การเจริญพันธุ์ Benchmarked 3 ปี 2 ปี Advanced 1 ปี 1 ปี สำนักส่งเสริมสุขภาพ - กลุ่ม B สำนักส่งเสริมสุขภาพ - กลุ่ม C 4 ปี สำนักอนามัย การเจริญพันธุ์ - กลุ่ม A สำนักโภชนาการ - กลุ่ม A 2 ปี Fundamental 1 ปี 6 เดือน 1 ปี 6 เดือน สำนักส่งเสริมสุขภาพ - กลุ่ม A สำนักอนามัย การเจริญพันธุ์ - กลุ่ม B สำนักทันตสาธารณสุข - กลุ่ม A สำนักโภชนาการ - กลุ่ม C กองออกกำลังกายเพื่อสุขภาพ - กลุ่ม A 4 ปี 1 ปี

  24. รายละเอียดของ EAF 25

  25. แผนพัฒนารายบุคคล (IDP)

  26. การพัฒนาตามกรอบการสั่งสมประสบการณ์รายบุคคลการพัฒนาตามกรอบการสั่งสมประสบการณ์รายบุคคล การอบรมพัฒนา

  27. ผู้เกี่ยวข้องที่สำคัญผู้เกี่ยวข้องที่สำคัญ ข้าราชการผู้มีผลสัมฤทธิ์สูง ผู้อำนวยการสำนัก/กอง ฝ่ายการเจ้าหน้าที่ ผู้บริหารระดับสูง ผู้บังคับบัญชาระดับต้น/หัวหน้างาน

  28. การอบรมพัฒนา กรอบการพัฒนาบุคลากร : ภายใต้ระบบข้าราชการผู้มีผลสัมฤทธิ์สูง ข้าราชการผู้มีผลสัมฤทธิ์สูง ผู้บังคับบัญชาระดับต้น ผู้รับผิดชอบระบบฯ • กิจกรรมที่จำเป็นในการพัฒนาข้าราชการผู้มีผลสัมฤทธิ์สูง กิจกรรมเสริมสร้างทัศนคติที่ดีต่อการรับราชการ การปฐมนิเทศ ทุนรัฐบาลเพื่อฝึกอบรมระยะสั้นในต่างประเทศ เวทีแลกเปลี่ยนเรียนรู้ในประเทศ

  29. การสอนงาน (Coach)

  30. พี่เลี้ยง ผู้สอนงาน

  31. ผลการปฏิบัติราชการ

  32. ข้าราชการผู้มีผลสัมฤทธิ์สูง ระดับปฏิบัติการ มีผลการปฏิบัติราชการในระดับดีมากขึ้นไป โดยมีข้อยกเว้น ดังนี้ ไม่มีผลการปฏิบัติราชการต่ำกว่าระดับดีมาก ๒ ครั้งติดต่อกัน หรือ ไม่มีผลการปฏิบัติราชการต่ำกว่าระดับดีมาก เป็นครั้งที่ ๓ หรือ ไม่มีผลการปฏิบัติราชการต่ำกว่าระดับดี ข้าราชการผู้มีผลสัมฤทธิ์สูงระดับชำนาญการ มีผลการปฏิบัติราชการในระดับดีมากขึ้นไป โดยไม่มีข้อยกเว้น

  33. การออกจากระบบ HiPPS

  34. การออกจากระบบข้าราชการผู้มีผลสัมฤทธิ์สูงการออกจากระบบข้าราชการผู้มีผลสัมฤทธิ์สูง ๑. ระหว่างที่อยู่ในระบบข้าราชการผู้มีผลสัมฤทธิ์สูงมีผลการปฏิบัติราชการ ไม่เป็นไปตามเงื่อนไขที่กำหนด ๒. ข้าราชการผู้มีผลสัมฤทธิ์สูงลาออกจากระบบฯ ๓. ได้รับการแต่งตั้งให้ดำรงตำแหน่งประเภทวิชาการ ระดับชำนาญการพิเศษ

  35. หนังสือเวียนที่เกี่ยวข้องหนังสือเวียนที่เกี่ยวข้อง ว ๔๒/๒๕๕๓ ว ๔๐/๒๕๕๓ ว ๔/๒๕๕๔ ว ๑/๒๕๕๕

  36. . ขอบคุณครับ พงษ์เทพ เจริญสวัสดิ์ กลุ่มพัฒนาทรัพยากรบุคคล กองการเจ้าหน้าที่ โทร. 0 2590 4043

More Related