1 / 19

สถิติสำหรับการวิจัย

สถิติสำหรับการวิจัย. รศ.ดร.โยธิน แสวงดี สถาบันวิจัยประชากรและสังคม มหาวิทยาลัยมหิดล. สถิติสำหรับการวิจัย. สถิติมีความสำคัญคือ เป็นข้อมูล แสดงลักษณะการดำรงคงอยู่ของสถานะของข้อมูล ปรากกฏการณ์ สถานะภาพ ฯลฯ

khoi
Télécharger la présentation

สถิติสำหรับการวิจัย

An Image/Link below is provided (as is) to download presentation Download Policy: Content on the Website is provided to you AS IS for your information and personal use and may not be sold / licensed / shared on other websites without getting consent from its author. Content is provided to you AS IS for your information and personal use only. Download presentation by click this link. While downloading, if for some reason you are not able to download a presentation, the publisher may have deleted the file from their server. During download, if you can't get a presentation, the file might be deleted by the publisher.

E N D

Presentation Transcript


  1. สถิติสำหรับการวิจัย รศ.ดร.โยธิน แสวงดี สถาบันวิจัยประชากรและสังคม มหาวิทยาลัยมหิดล

  2. สถิติสำหรับการวิจัย • สถิติมีความสำคัญคือ เป็นข้อมูล แสดงลักษณะการดำรงคงอยู่ของสถานะของข้อมูล ปรากกฏการณ์ สถานะภาพ ฯลฯ • สถิติเชิงพรรณา ใช้พรรณา เช่น แสดงปรากฎการณ์ สถานะการณ์ สถานะภาพ ที่เป็นอยู่ หรือ ที่ผ่านมาในอดีต เช่น สำนักงานสถิติแห่งชาตินำเสนอข้อมูลสถานะการณ์ สถานะภาพ ปรากฎการณ์ ต่างๆ ทางด้านจำนวนประชากร โครงสร้างประชากรตามอายุ และเพศ โครงสร้างครอบครัว ครอบครัวเดี่ยว ครอบครัวขยาย บริษัท ห้างหุ้นส่วนๆ ต่างๆ แสดงผลประกอบการ จำนวนงบลงทุน จำนวนวัสดุ อุปกรณ์ ความสูญเสียฯลฯ • สถิติเชิงพรรณา ได้แก่ Mean Mode Median S.D. เป็นต้น

  3. สถิติสำหรับการทดสอบสมมุติฐานทางสถิติสถิติสำหรับการทดสอบสมมุติฐานทางสถิติ • ใช้มากสำหรับการวิจัยเชิงทดลอง • การวิจัยเพื่อการวัดและประเมินผล • การวิจัยดำเนินงาน • สาเหตุที่ต้องทำการพิสูจน์สมมุติฐานเพราะต้องการข้อค้นพบไปชี้นำนโยบาย เนื่องจากสามารถยืนยันได้อย่างแท้จริงว่าผ่านการทดลอง (ที่มีการควบคุม หรือ การขจัดปัจจัยอื่นๆที่เกี่ยวข้องออกๆปแล้ว)

  4. สมมุติฐาน • Ho หรือ Null Hypothesis จะนิยมตั้งว่า ไม่แตกต่าง • ใช้สัญลักษณ์ = • Ha หรือ Alternative Hypothesis หรือ สมมุติฐานที่ต้องการพิสูจน์ • ใช้สัญลักษณ์ว่า แตกต่าง เช่น ไม่เท่ากับ > หรือ < เป็นต้น • ส่วนใหญ่จะไม่นิยมเขียน จะทราบกันโดยนัยะว่าจะพิสูจน์อะไร แต่งานวิจัยเชิงทดลองทั้งสายวิทยาศาสตร์ และสายสังคมศาสตร์จะต้องเขียนใว้ • สิ่งสำคัญคือ ตั้ง Ha ใว้อย่างไร ต้องพิสูจน์ ให้ได้เป็นจริงตามนั้น เพราะเป็นไปตามหลักปฏิฐานนิยม ไม่งั้นจะถือว่างานวิจัจล้มเหลว (เพราะไม่เป็นไปตามที่ตั้งใว้ในวัตถุประลงค์ที่ต้องการพิสูจน์)

  5. t-test • ใช้สำหรับทดสอบสมมุติฐาน เปรียบเทียบกันสองกลุ่ม เท่านั้น • หน่วยวัดของสิ่งที่จะเปรียบเทียบต้องเป็นคะแนนพฤติกรรม ฤทธิ์ ส่วนสูง น้ำหนัก ฯลฯ เพราะเน้นที่การเปรียบเทียบค่าเฉลี่ยมัชฌิมเลขคณิต • หลักเบื้องต้น จำนวนตัวอย่าง อย่างน้อย 30 ตัวอย่างขึ้นไป • แบ่งกลุ่มเปรียบออกเป็นสองกลุ่ม เช่น กลุ่มทดลอง กับกลุ่มเปรียบ • กลุ่ม เพศหญิง กับ กลุ่มเพศชาย • กลุ่มเมือง กับ กลุ่ม ชนบท • กลุ่มเข้าเรียน กับ กลุ่มไม่เข้าเรียน ฯลฯ • ประเด็นที่จะวัด (พฤติกรรม ฤทธิ์ ส่วนสูง น้ำหนัก ค่าใช้จ่าย ฯลฯ) ต้องมีระดับการวัดเป็นอัตราส่วน หรือ เป็นช่วง

  6. ประเภทของ t-test • One sample t-test ใช้สำหรับทดสอบสมมุติฐานเมื่อเปรียบเทียบกับค่ามาตรฐาน เช่น คะแนนภาษาอังกฤษ ของคนไทย เปรียเทียบกับ TOEFL ทดสอบกับค่าต่างๆ ที่มาตรฐานทางสังคมศาสตร์ หรือ วิทยาศาสตร์ ฯลฯ • Independent-Samples t-test ใช้สำหรับทดสอบความแตกต่างของค่าเฉลี่ยมัชฌิมเลขคณิต ของสองกลุ่มเปรียบเทียบ เช่น ชาย หญิง เมืองชนบท ทดลอง ควบคุม ฯลฯ • Paired-samples t-test ใช้เปรียบสัมฤทธิ์ผลการทดลองที่เป็นกิจกรรมดำเนินงาน ก่อนและหลัง ที่ติดตามคู่ นั้นๆ ตลอด สามารถพิสูจน์ว่ากิจกรรมทดลองส่งผลตรงต่อการเปลี่ยนแปลง ตามที่ตั้งใว้ในสมมุติฐาน

  7. F-test (One-Way Analysis of Variance) • ใช้ทดสอบความแตกต่างของค่าเฉลี่ยมัชฌิมเลขคณิต ตั้งแต่ 3 กลุ่มขึ้นไป • เป็นกลุ่มทดลอง 3 treatment หรือ ทดลอง 2 treatment กับ กลุ่ม ควบคุม 1 กลุ่มก็ได้ • หรือ ในทางสังคมศาสตร์และทางวิทยาศาสตร์ จะใช้เปรียบเทียบความแตกต่างของค่าเฉลี่ย ตั้งแต่ 3 กลุ่มขึ้นไปก็ได้ • ข้อดีคือค้นหาความแตกต่าง ในแต่ละกลุ่ม • พฤติกรรมที่จะวัด ต้องเป็นคะแนน หรือมีระดับการวัดแบบอัตรส่วน หรือ แบบช่วง ทั้งสายวิทย์ และสายศิลป์ • ข้อดี คือ Post-Hoc test ที่ใช้ทดสอบความแตกต่างรายคู่เปรียบเทียบได้

  8. Multivariate Analysis: (1) ANCOVA • หลัการเดียวกับ ANOVA แต่ใช้ Univariate เพราะใช้ตัวแปรตามตัวเดียว • แต่เปิดโอกาสให้มีการขจัดปัจจัยอื่นๆที่คาดว่ามีผลต่อพฤติกรรม หรือ ฤทธิ์ หรือ การสิ่งที่ศึกษานั้นๆ • CO ย่อมาจาก Covariance • ตัวแปรควบคุม Covariate Variable มักนิยมวัดด้วยปัจจัยที่มีระดับการวัดแบบอัตราส่วน แบบช่วง หากเป็นกลุ่มต้องจัดเป็นตัวแปร dummy variable (1,0 ตัวอย่างเช่น ในสายสังคมศาสตร์ เมือง = 1 ชนบท = 0 เป็นต้น แต่สายวิทยาศาสตร์ จะนิยมใช้อัตราส่วน)

  9. (2) MANOVA • หลักการเดียวกันกับ ANOVA แต่ใช้ Multivariate • เพราะมีตัวแปรตามได้หลายตัว แต่ละตัวต้องมีระดับการวัดแบบอัตราส่วน หรือ แบบช่วง เพราะต้องการวัดความแตกต่างที่ค่าเฉลี่ยมัชฌิมเลขคณิต • M ย่อมาจาก Multivariate ที่หมายถึงมีตัวแปรตามมากกว่า 1 ตัว • หลักคิดคือ ในแต่ละกลุ่มเปรียบเทียบ สามารถเปรียบเทียบความแตกต่างใน พฤติกรรม ฤทธิ์ ฯลฯ ได้หลายตัวพร้อมกัน เช่น ในสายบริหารธุรกิจ มีการขนส่ง 3 แบบ และผลที่ต้องการวัดคือ มีความแตกต่างทั้ง ยอดขาย ยอดสึกหรอ เป็นต้น

  10. (3) MANCOVA • เหมือน MANOVA • แต่เปิดโอกาสให้มีการขจัดปัจจัยอื่นๆที่มีผลต่อพฤติกรรมที่ต้องการวัด • ข้อดีคือได้ทราบผลการทดลองที่แน่ชัด หรือวัดได้แน่ชัดว่า ไม่เพียงมีผลต่อเพียงหนึ่งพฤกรรม แต่ยังวัดได้จากพฤติกรรมอื่นๆ อีก (ฤทธิ์ อื่นๆอีก) • มีการควบคุม ที่เป็นการขจัดปัจจัยอื่นๆได้ด้วย ระดับการวัดของปัจจัยควบคุม หรือ ตัวขจัดออกเหมือน ANCOVA

  11. Chi-squared Test • ทดสอบสมมุติฐานเมื่อเปรียบเทียบตัวแปรอิสระที่เป็นกลุ่ม กับตัวแปรตามที่เป็นกลุ่ม • จุดอ่อนคือจำนวนตัวอย่าง • จำนวมกลุ่มในตัวแปรตามและตัวแปรอิสระไม่ควรมากเกิน 5 กลุ่ม • ควรเป็นกลุ่มที่เกิดขึ้นตามธรรมชาติ หรือ ตามเกณฑ์ที่มีการกำหนดเป็นมาตรใว้ และมีการอ้างอิงใว้ • จำนวน n ใน cell ควรมากว่า 5 • วัดความแตกต่างว่า ในตัวแปรอิสระที่มีระดับการวัดเป็นกลุ่มที่แตกต่างกัน จะมีความแตกต่างกันในตัวแปรตามที่เป็นกลุ่มแตกต่างกัน • หากจะทดสอบถึงความสัมพันธ์ (Association) ต้องวัดที่ค่า Contingency Coefficient: C)

  12. Pearson Correlation • ใช้ทดสอบสหสัมพันธ์ของตัวแปรสองตัว • มีระดับการวัดแบบอัตราส่วนและแบบช่วง • มีค่าระหว่าง -1 ถึง 1 • จะวัดออกมาเป็นร้อยละก็ได้ • มีการตรวจสอบด้วยว่ามีสหสัมพันธ์กันอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติหรือไม่ โดยใช้ค่า t เป็นตัวยืนยัน • ใช้ทดสอบเมื่อต้องการขจัดปัจจัยอื่นๆออกไปด้วยก็ได้โดยใช้ Partial correlation • ประโยชน์ที่สำคัญคือใช้ตรวจสอบ Collinearity และ Multicollinearity ก่อนเข้า Multiple Regression • จุดตัด (Cut point 0.5 0.65 0.75)

  13. สถิติสำหรับการพยากรณ์สถิติสำหรับการพยากรณ์ • สถิติสำหรับการจัดกลุ่ม • Factors Analysis, Discriminant Analysis • Inferential Statistics • ใช้สำหรับการพยากรณ์ การประมาณค่า • เน้นการใช้สมการถดถอยรูปแบบต่างๆ • การพิจารณาเส้นทางความสัมพันธ์เพื่อเปรียบเทียบผลทางตรงกับผลทางอ้อม ผ่านตัวแปรแทรกกลาง PATH ANALYSIS • สมการโครงสร้าง (SEM)

  14. Simple Regression Analysis • การทดถอยเชิงเดี่ยว • ทดสอบ Causal Relationships ต้องมีหลักการทางเชิงทฤษดีมาก่อน -Positivism • Cause----- Consequence • Cause--- Effect • ต้นเหตุ- ผลที่เกิดขึ้น • ความสัมพันธ์เชิงเหตุและผล ที่ทดสอบด้วยสมการเศรษฐมิติ (Basic Econometrics) • ทดสอบอิทธิพล หนึ่งตัวแปรอิสระ กับหนึ่งตัวแปรตาม

  15. จำนวน n ขั้นต่ำ คือ 30 • ไม่เน้นการควบคุม หรือ ขจัดอิทธิพลของปัจจัยอื่นๆ แต่ต้องการตรวจาสอบ • True Direct Real Effect • ระดับการวัดของข้อมูล อัตราส่วน ช่วง ทั้งตัวแปรต้นเหตุ และตัวแปรตาม แต่ ต้นเหตุสามารถเป็น dummy variable ได้ • ภาวะสมการสมรูป F, R-squared ยิ่งเข้าใกล้ 1 ยิ่งดี

  16. Multiple Regression Analysis: MRA • ข้อดีใช้ในการค้นหาปัจจัยตามกฏ Causal Relationships • บนฐานคิดของสมการเศรษฐมิติ • สามารถพิสูจน์และวิเคราะห์หลายตัวแปรอิสระได้พร้อมกัน บนฐานคิดที่ว่า when everything being equals หรือเมื่อทุกสิ่งทุกอย่างเท่าเทียมกัน • ระดับการวัดของข้อมูล ตัวแปรตามต้องเป็นอัตราส่วน ช่วง • ตัวแปรอิสระ หรือตัวต้นเหตุ ควรเป็นอัตราส่วน หรือ ช่วง dummy variable ได้ • ต้องปฏิบัติตาม Basic assumption อย่างเคร่งครัด (เรียนรู้ตอนใช้ห้อง คอมพิวเตอร์) • PRF และ SRF • จำนวนตัวอย่างขั้นต่ำ 1 ต่อ 30 • ภาวะสมการสมรูป • Constrained Model และ Unconstrained Model (F-Ratio test) • R-squared Change

  17. MRA: Method • Enter • Forward • Backward • Remove • Stepwise • เพื่ออะไร เมื่อใดใช้? • การสร้างตารางเพื่ออ่านและตีความหมายผลการวิเคราะห์ข้อมูล

  18. Logistic Regression Analysis • วิเคราะห์โอกาสความน่าจะเป็นสูงสุด • Causal Relationship • ตัวแปรตามคือ การเกิดขึ้น การทำ การชื้อ การระบาด การใช้ การตัดสินใจ ฯลฯ ต้องเป็นตามกฏธรรมชาติ หรือ ตามเกณฑ์มาตรฐานสากล • 1= เกิด 0= ไม่เกิด • Binomial คือ Bi = สอง nominal คือ กลุ่ม • Dichotomous outcome variable

  19. ตัวแปรต้นเหตุ ต้องตามข้อตกลงเบื้องต้น • Non-linear probability model • Linear probability model • Chi-squared test, Model Chi-squared • Restricted Model และ Unrestricted Model • Log likelihood Ratio test: LR test • Adjusted Proportional Probabilities • สอนในห้อง computer การอ่านและการแปรผล การเขียนรายงาน

More Related