1 / 119

การคำนวณต้นทุนผลผลิต

การคำนวณต้นทุนผลผลิต. หัวข้อบรรยาย. พรฎ. กิจการบ้านเมืองที่ดี 2546. ความหมายและคำจำกัดความ. หลักเกณฑ์วิธีการคำนวณต้นทุนผลผลิต. แนวคิดเกี่ยวกับผลผลิตย่อยกิจกรรมย่อย. ความเป็นมา. ความเป็นมา. พระราชกฤษฎีกา ว่าด้วย หลักเกณฑ์และวิธีการบริหารกิจการบ้านเมืองที่ดี พ.ศ. 2546.

Télécharger la présentation

การคำนวณต้นทุนผลผลิต

An Image/Link below is provided (as is) to download presentation Download Policy: Content on the Website is provided to you AS IS for your information and personal use and may not be sold / licensed / shared on other websites without getting consent from its author. Content is provided to you AS IS for your information and personal use only. Download presentation by click this link. While downloading, if for some reason you are not able to download a presentation, the publisher may have deleted the file from their server. During download, if you can't get a presentation, the file might be deleted by the publisher.

E N D

Presentation Transcript


  1. การคำนวณต้นทุนผลผลิต

  2. หัวข้อบรรยาย พรฎ. กิจการบ้านเมืองที่ดี 2546 ความหมายและคำจำกัดความ หลักเกณฑ์วิธีการคำนวณต้นทุนผลผลิต แนวคิดเกี่ยวกับผลผลิตย่อยกิจกรรมย่อย

  3. ความเป็นมา

  4. ความเป็นมา พระราชกฤษฎีกา ว่าด้วย หลักเกณฑ์และวิธีการบริหารกิจการบ้านเมืองที่ดี พ.ศ. 2546 การบริหารราชการอย่างมีประสิทธิภาพ และ เกิดความคุ้มค่าในเชิงภารกิจของรัฐ หมวด 4

  5. พระราชกฤษฎีกาว่าด้วยหลักเกณฑ์วิธีการบริหารกิจการบ้านเมืองที่ดีพระราชกฤษฎีกาว่าด้วยหลักเกณฑ์วิธีการบริหารกิจการบ้านเมืองที่ดี มาตรา 21 วรรคแรก ให้ส่วนราชการจัดทำบัญชีต้นทุน ในงานบริการสาธารณะแต่ละประเภทขึ้น ตามหลักเกณฑ์และวิธีการที่กรมบัญชีกลางกำหนด

  6. พระราชกฤษฎีกาว่าด้วยหลักเกณฑ์วิธีการบริหารกิจการบ้านเมืองที่ดีพระราชกฤษฎีกาว่าด้วยหลักเกณฑ์วิธีการบริหารกิจการบ้านเมืองที่ดี มาตรา 21 วรรคสอง ให้ส่วนราชการคำนวณรายจ่ายต่อหน่วย ของงานบริการสาธารณะที่รับผิดชอบ ตามระยะเวลาที่กรมบัญชีกลางกำหนด และ รายงานให้ สงป. กรมบัญชีกลาง และ ก.พ.ร. ทราบ

  7. พระราชกฤษฎีกาว่าด้วยหลักเกณฑ์วิธีการบริหารกิจการบ้านเมืองที่ดีพระราชกฤษฎีกาว่าด้วยหลักเกณฑ์วิธีการบริหารกิจการบ้านเมืองที่ดี มาตรา 21 วรรคสาม ให้ส่วนราชการจัดทำแผนการลดรายจ่ายต่อหน่วย ของงานบริการสาธารณะดังกล่าว เสนอ สงป. กรมบัญชีกลาง และ ก.พ.ร. ทราบ

  8. วัตถุประสงค์ของการคำนวณต้นทุนผลผลิตวัตถุประสงค์ของการคำนวณต้นทุนผลผลิต 1พัฒนาการบริหารจัดการทางการเงินที่ดี ซึ่งเป็นส่วนหนึ่งของบริหารกิจการบ้านเมืองที่ดี (Good Governance) เพิ่มความรับผิดชอบต่อสาธารณะ Accountability เพิ่มความสามารถในการตัดสินใจในการการบริหารจัดการ การวัดผลการดำเนินงาน

  9. ประโยชน์ของข้อมูลต้นทุนประโยชน์ของข้อมูลต้นทุน 5 ด้าน (ข้อมูลจาก “การบัญชีเพื่อการบริหารต้นทุนภาครัฐ” มาตรฐานการบัญชีการเงินภาครัฐ ฉบับที่ 4) 1. การควบคุมต้นทุนและงบประมาณ 2. การวัดผลการดำเนินงาน 3. การกำหนดค่าธรรมเนียม (เช่น มหาวิทยาลัย) 4. ประเมินความเหมาะสมของกิจกรรม 5. การตัดสินใจของคำนึงถึงความเหมาะสมทางการเงิน

  10. ความหมายและคำจำกัดความความหมายและคำจำกัดความ

  11. ความหมายและคำจำกัดความความหมายและคำจำกัดความ การบัญชีต้นทุน Cost accountingหมายถึง การบัญชีเกี่ยวกับการบันทึก การจำแนกการปันส่วน การสรุป และการรายงาน ข้อมูลเกี่ยวกับต้นทุนผลิตภัณฑ์หรือบริการให้กับ ผู้บริหาร

  12. ความหมายและคำจำกัดความความหมายและคำจำกัดความ ต้นทุน Cost หมายถึง รายจ่าย เพื่อให้ได้มาซึ่งสินค้าหรือ บริการ ซึ่งอาจเป็นเงินสด สินทรัพย์อื่น หรือการก่อหนี้ ผูกพัน ที่เกี่ยวข้องโดยตรงกับการได้มาซึ่งสินค้าและ บริการ

  13. ความหมายและคำจำกัดความความหมายและคำจำกัดความ ต้นทุนทางตรง Direct Costหมายถึง ค่าใช้จ่ายที่สามารถระบุเข้าสำนัก กอง ศูนย์ กลุ่มที่เป็นผู้ผลิตผลผลิตได้อย่างเจาะจงว่า ใช้ไปเท่าไรในการผลิตผลผลิตใด

  14. ความหมายและคำจำกัดความความหมายและคำจำกัดความ ต้นทุนทางอ้อม Indirect Costหมายถึง ค่าใช้จ่ายที่หลายๆ สำนัก กอง ศูนย์ กลุ่มใช้ร่วมกันในการผลิตผลผลิต ไม่เป็น ค่าใช้จ่ายเฉพาะของ Cost Centerใดเพียงแห่งเดียว

  15. ความหมายและคำจำกัดความความหมายและคำจำกัดความ การปันส่วนต้นทุน Allocationหมายถึง การแบ่งส่วนค่าใช้จ่ายไปยัง กิจกรรม กระบวนการผลิต การดำเนินงาน หรือ ผลผลิตตามเกณฑ์ต่างๆ

  16. ความหมายและคำจำกัดความความหมายและคำจำกัดความ ต้นทุนรวม Full Costหมายถึง ผลรวมของต้นทุนทั้งหมดที่เกิดขึ้น ในการผลิตผลผลิตของหน่วยงาน โดยไม่ต้องคำนึง แหล่งเงินทุน และเป็นการคำนวณจากตัวเลขค่าใช้จ่าย ที่บันทึกบัญชีตามเกณฑ์คงค้าง

  17. ความหมายและคำจำกัดความความหมายและคำจำกัดความ ผลผลิต Outputหมายถึง ผลิตภัณฑ์หรือบริการที่หน่วยงาน ภาครัฐทำการผลิตและส่งมอบให้กับบุคคลภายนอก ใช้เป็นเกณฑ์ในการกำหนดราคาผลผลิต และจัดสรร เงินลงทุน หลักในการพิจารณาแนวโน้มการดำเนินงาน เพื่อวัดผลการดำเนินงาน

  18. ความหมายและคำจำกัดความความหมายและคำจำกัดความ งานบริการสาธารณะ Public Serviceหมายถึง ผลผลิตของหน่วยงานภาครัฐ ที่มุ่งเน้นประโยชน์สุขแก่ประชาชนโดยทั่วถึง

  19. ความหมายและคำจำกัดความความหมายและคำจำกัดความ หน่วยต้นทุน Cost Centerหมายถึง หน่วยงานภายในส่วนราชการที่ กำหนดขึ้นตามโครงสร้างการแบ่งส่วนราชการ ซึ่งแต่ละหน่วยงานจะมีการดำเนินกิจกรรมที่ต้องใช้ ทรัพยากรหรือต้นทุนในการผลิตผลผลิต

  20. ความหมายและคำจำกัดความความหมายและคำจำกัดความ หน่วยงานหลัก Functional Cost Centerหมายถึง หน่วยงานที่มีหน้าที่ โดยตรงในการสร้างผลผลิต หรือมีส่วนร่วมในการ สร้างผลผลิตของหน่วยงาน

  21. ความหมายและคำจำกัดความความหมายและคำจำกัดความ หน่วยงานสนับสนุน Support Cost Centerหมายถึง หน่วยงานที่ทำหน้าที่ให้ บริการกับหน่วยงานหลัก หรือทำงานสนับสนุน

  22. หลักเกณฑ์เบื้องต้นในการคำนวณต้นทุนผลผลิตหลักเกณฑ์เบื้องต้นในการคำนวณต้นทุนผลผลิต แนวคิด โครงสร้างแบ่งส่วนราชการของกรมฯ เป็นสำนัก กลุ่ม กอง ศูนย์ ตามภาระกิจที่สอดคล้องกับพันธกิจ ตามกฎกระทรวง แต่ละสำนัก กอง ศูนย์ มีกิจกรรม เฉพาะเพื่อสร้างผลผลิตที่แต่ละแห่งรับผิดชอบ

  23. หลักเกณฑ์เบื้องต้นในการคำนวณต้นทุนผลผลิตหลักเกณฑ์เบื้องต้นในการคำนวณต้นทุนผลผลิต วัตถุประสงค์ เพื่อให้ได้ข้อมูลต้นทุนงานของแต่ละส่วนงาน อันจะเป็นประโยชน์ต่อผู้บริหารทุกระดับ ในการวัดผลการดำเนินงาน และปรับปรุง เพิ่มประสิทธิภาพในการทำงาน

  24. หลักเกณฑ์เบื้องต้นในการคำนวณต้นทุนผลผลิตหลักเกณฑ์เบื้องต้นในการคำนวณต้นทุนผลผลิต ผลผลิต Cost จาก GL สำนัก กอง ศูนย์ กิจกรรม หลัก 12 + 3+ 3 ค่าใช้จ่าย ทางตรง 100 กิจกรรม 1 ผลผลิต 1 หลัก 18 + 2+ 3 หลัก 17 + 3+ 3 กิจกรรม 2 หลัก 8 + 2+ 3 หลัก 15 + 5+ 4 ผลผลิต 2 หลัก 20 + 5+ 4 กิจกรรม 3 รวม 110 ค่าใช้จ่าย ทางอ้อม 30 สนับสนุน 6 + 4 กิจกรรม 4 ผลผลิต 3 สนับสนุน 4 + 6 รวม 20 กิจกรรม 5 รวมทั้งหมด 130 รวม 130

  25. ตัวชี้วัด ที่ 11ระดับความสำเร็จของการจัดทำต้นทุนต่อหน่วยผลผลิต

  26. KPI เปรียบเทียบ ปี 50/51 ของส่วนราชการ

  27. แนวทางการประเมินผล

  28. แนวทางการประเมินผล

  29. แนวทางการประเมินผล

  30. แนวทางการประเมินผล

  31. แนวทางการประเมินผล

  32. แนวทางการประเมินผล

  33. แนวทางการประเมินผล

  34. คะแนนที่ 1 จัดทำบัญชีต้นทุนต่อหน่วยผลผลิตของปีงบประมาณ พ.ศ. 2550 ตามหลักเกณฑ์วิธีการที่กรมบัญชีกลางกำหนด *(ตามหลักเกณฑ์วิธีการจัดทำต้นทุนผลผลิตต่อหน่วยเดิมประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2547 – 2550)

  35. หลักเกณฑ์เบื้องต้นในการคำนวณต้นทุนผลผลิตหลักเกณฑ์เบื้องต้นในการคำนวณต้นทุนผลผลิต ผลผลิต Cost จาก GL สำนัก กอง ศูนย์ กิจกรรม หลัก 12 + 3+ 3 ค่าใช้จ่าย ทางตรง 100 กิจกรรม 1 ผลผลิต 1 หลัก 18 + 2+ 3 หลัก 17 + 3+ 3 กิจกรรม 2 หลัก 8 + 2+ 3 หลัก 15 + 5+ 4 ผลผลิต 2 หลัก 20 + 5+ 4 กิจกรรม 3 รวม 110 ค่าใช้จ่าย ทางอ้อม 30 สนับสนุน 6 + 4 กิจกรรม 4 ผลผลิต 3 สนับสนุน 4 + 6 รวม 20 กิจกรรม 5 รวมทั้งหมด 130 รวม 130

  36. คะแนนที่ 2 เปรียบเทียบผลการคำนวณต้นทุนต่อหน่วย ผลผลิตระหว่างปีงบประมาณ พ.ศ.2549และปีงบประมาณ พ.ศ.2550

  37. ตัวอย่าง เปรียบเทียบผลการคำนวณต้นทุนผลผลิต งวด 6 เดือนแรก ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2547 และ พ.ศ. 2548 * ในกรณีที่ส่วนราชการไม่สามารถเปรียบเทียบผลผลิตและกิจกรรมได้ ในระหว่างปีงบประมาณ

  38. ผลการคำนวณต้นทุนผลผลิตงวด 6 เดือนแรก ปี 47 กิจกรรม รวม ผลผลิต รวม ต้นทุน/หน่วย 1. จัดทำ วิเคราะห์ และ พัฒนาระบบเทคโนโลยีฯ 22.2 ลบ. 1. การเป็นศูนย์ข้อมูล สารสนเทศการคลัง 22.2 ลบ. 216,296บ. 2. บริหารงานสวัสดิการ รักษาพยาบาล 2.5 ลบ. 2. การกำกับ ดูแล การคลัง การบัญชี การพัสดุภาครัฐ 47.5 ลบ. 3,272บ. 3. บริหารงานเงินนอกฯ 3.9 ลบ. 4. กำกับ ดูแล ควบคุม มาตรฐานฯ 41.1 ลบ. 5. กำกับ ดูแล งานตรวจ สอบภายใน 10.9 ลบ. 3. การกำกับ ดูแลการ ตรวจสอบภายใน 10.9 ลบ. 259,075บ. 6. บริหารการรับ-จ่าย 341.3 ลบ. 4. การบริหารการเงิน การคลัง 345.6ลบ. 560บ. 7. พัฒนาทรัพยากรบุคคล 4.3 ลบ.

  39. ผลการคำนวณต้นทุนผลผลิตงวด 6 เดือนแรก ปี 48 กิจกรรม รวม ผลผลิต รวม ต้นทุน/หน่วย 1. บริหารและควบคุม การรับจ่ายเงินภาครัฐ และดำเนินงานด้านการ คลังให้ผู้ว่า CEO 292.3 ลบ. 1. การบริหารการเงิน การคลังภาครัฐ 316.4 ลบ. 546,430 บ. 2. พัฒนาทรัพยากรบุคคล 7.4 ลบ. 3. จัดทำข้อมูลสารสนเทศ การคลังและวิเคราะห์ รายงานการเงินแผ่นดิน 16.6 ลบ. 2. การกำกับ ดูแลการ คลัง การบัญชี การ พัสดุ และการตรวจ สอบภายใน 91.6 ลบ. 3,498.4 บ. 4. กำกับ ดูแลการคลัง การบัญชี การพัสดุ และ การตรวจสอบภายใน 91.6 ลบ.

  40. การเปรียบเทียบผลการคำนวณต้นทุนผลผลิตการเปรียบเทียบผลการคำนวณต้นทุนผลผลิต กิจกรรม ปี 47 การ Mapping กิจกรรมปี 47 สู่กิจกรรม ปี 48 กิจกรรม ปี 48 1. บริหารและควบคุม การรับจ่ายเงินภาครัฐ และดำเนินงานด้านการ คลังให้ผู้ว่า CEO 1. จัดทำ วิเคราะห์ และ พัฒนาระบบเทคโนโลยีฯ 2. บริหารงานสวัสดิการ รักษาพยาบาล 3. บริหารงานเงินนอกฯ 2. พัฒนาทรัพยากรบุคคล 4. กำกับ ดูแล ควบคุม มาตรฐานฯ 3. จัดทำข้อมูลสารสนเทศ การคลังและวิเคราะห์ รายงานการเงินแผ่นดิน 5. กำกับ ดูแล งานตรวจ สอบภายใน 4. กำกับ ดูแลการคลัง การบัญชี การพัสดุ และ การตรวจสอบภายใน 6. บริหารการรับ-จ่าย 7. พัฒนาทรัพยากรบุคคล

  41. การเปรียบเทียบผลการคำนวณต้นทุนผลผลิตการเปรียบเทียบผลการคำนวณต้นทุนผลผลิต กิจกรรม ปี 47 ต้นทุนกิจกรรม ปี 47 ต้นทุนกิจกรรม ปี 48 กิจกรรม ปี 48 1. จัดทำ วิเคราะห์ และ พัฒนาระบบเทคโนโลยีฯ 3. จัดทำข้อมูลสารสนเทศ การคลังและวิเคราะห์ รายงานการเงินแผ่นดิน 22.19 16.63 2. บริหารงานสวัสดิการ รักษาพยาบาล 4. กำกับ ดูแลการคลัง การบัญชี การพัสดุ และ การตรวจสอบภายใน 3. บริหารงานเงินนอกฯ 56.38 91.60 4. กำกับ ดูแล ควบคุม มาตรฐานฯ 1. บริหารและควบคุม การรับจ่ายเงินภาครัฐ และดำเนินงานด้านการ คลังให้ผู้ว่า CEO 5. กำกับ ดูแล งานตรวจ สอบภายใน 341.33 292.31 6. บริหารการรับ-จ่าย 7. พัฒนาทรัพยากรบุคคล 4.29 2. พัฒนาทรัพยากรบุคคล 7.44

  42. การเปรียบเทียบผลการคำนวณต้นทุนผลผลิตการเปรียบเทียบผลการคำนวณต้นทุนผลผลิต การ Mapping ผลผลิตปี 47 สู่ผลผลิตปี 48 ผลผลิต ปี 47 ผลผลิต ปี 48 1. การเป็นศูนย์ข้อมูล สารสนเทศการคลัง 1. การบริหารการเงิน การคลังภาครัฐ 2. การกำกับ ดูแล การคลัง การบัญชี การพัสดุภาครัฐ 2. การกำกับ ดูแลการคลัง การบัญชี การพัสดุ และ การตรวจสอบภายใน 3. การกำกับ ดูแลการ ตรวจสอบภายใน 4. การบริหารการเงิน การคลัง

  43. การเปรียบเทียบผลการคำนวณต้นทุนผลผลิตการเปรียบเทียบผลการคำนวณต้นทุนผลผลิต ต้นทุนผลผลิตรวม ปี 47 ต้นทุนผลผลิตรวม ปี 48 ผลผลิต ปี 47 ผลผลิต ปี 48 1. การเป็นศูนย์ข้อมูล สารสนเทศการคลัง 1. การบริหารการเงิน การคลังภาครัฐ 367.82 316.4 4. การบริหารการเงิน การคลัง 2. การกำกับ ดูแล การคลัง การบัญชี การพัสดุภาครัฐ 2. การกำกับ ดูแลการคลัง การบัญชี การพัสดุ และ การตรวจสอบภายใน 58.38 91.6 3. การกำกับ ดูแลการ ตรวจสอบภายใน

  44. การเปรียบเทียบผลการคำนวณต้นทุนผลผลิตการเปรียบเทียบผลการคำนวณต้นทุนผลผลิต สรุป เมื่อเปรียบเทียบต้นทุนรวม จะเห็นได้ว่าในผลผลิตที่ 1 ต้นทุนรวมในปี 48 ลดลง จากปี 47 แต่เมือเปรียบเทียบในระดับต้นทุนต่อหน่วย จะเห็นได้ว่า ต้นทุนต่อหน่วยในปี 48 เพิ่มขึ้น จากปี 47 เนื่องจากจำนวนหน่วยนับลดลง จากปี 47 เพราะลักษณะงานมีการเปลี่ยน

  45. เปรียบเทียบต้นทุนแยกตามหน่วยงานปี 47 กับปี 48 (งวด 6 เดือนแรก)

  46. ตารางต้นทุนแยกตามหน่วยงานเปรียบเทียบปี 47 กับปี 48 (งวด 6 เดือนแรก) สรุป ในการเปรียบเทียบต้นทุนแยกตามศูนย์ต้นทุนให้บอกสาเหตุการลดลงหรือเพิ่มขึ้นของต้นทุนระหว่างปีที่มีการเปรียบเทียบตามศูนย์ต้นทุน

  47. ระดับคะแนนที่ 3 ทบทวนภารกิจเพื่อจัดทำข้อมูลผลผลิตย่อย กิจกรรมย่อย พร้อมปริมาณและหน่วยนับ ทั้งองค์กร สำหรับปีงบประมาณ พ.ศ. 2551

  48. ความสำคัญของข้อมูลด้านต้นทุนกิจกรรมย่อยและผลผลิตย่อยความสำคัญของข้อมูลด้านต้นทุนกิจกรรมย่อยและผลผลิตย่อย 1. การตัดสินใจในการบริหารองค์กรโดยใช้ข้อมูลต้นทุนที่ถูกต้องและเป็นปัจจุบันมีผลต่อประสิทธิภาพขององค์กร และผลประโยชน์ของประเทศชาติ 2. การระบุทรัพยากรเข้าสู่กิจกรรม และพิจารณาว่ากิจกรรมได้ใช้ทรัพยากรที่มีอยู่อย่างจำกัดอย่างไร ซึ่งเป็นปัจจัยในการพิจารณาต้นทุนของผลผลิต 3. ในการหาต้นทุนกิจกรรม ถ้าหน่วยงานมีกิจกรรมที่เหมือนหน่วยงานอื่นก็ ควรกำหนดงานนั้นขึ้นเป็นกิจกรรมและกำหนดหน่วยนับให้เหมือนหน่วยงานอื่น เช่น กิจกรรมการก่อสร้าง เป็นกิจกรรมที่เอกชนก็ทำ ก็ควรกำหนดเป็นกิจกรรมเพื่อหาต้นทุนพร้อมหน่วยนับที่เหมือนกัน ถ้าภาครัฐดำเนินงานไม่มีประสิทธิภาพ เราสามารถพิจารณา outsource จ้างเอกชน

  49. คำศัพท์ ผลผลิตหลัก หมายถึง ผลผลิตตามเอกสารงบประมาณ รวมถึงผลผลิตอื่นที่นอกเหนือจากเอกสารงบประมาณที่อยู่ภายใต้การดำเนินงานของหน่วยงานภาครัฐ ซึ่งอาจจะไม่ได้ใช้เงินในงบประมาณในการผลิตผลผลิตผลผลิตย่อย หมายถึง ผลิตภัณฑ์หรือบริการที่หน่วยงานภาครัฐทำการผลิต และส่งมอบให้กับบุคคลภายนอก ซึ่งหน่วยงานกำหนดขึ้นเพื่อใช้ในการคำนวณหาต้นทุนต่อหน่วยผลผลิตของหน่วยงาน และสามารถเปรียบเทียบต้นทุนต่อหน่วยผลผลิตระหว่างปีของหน่วยงานเองและเปรียบเทียบระหว่างหน่วยงานอื่นได้

  50. คำศัพท์ กิจกรรมหลัก หมายถึง กิจกรรมตามเอกสารงบประมาณ รวมถึงกิจกรรมอื่นที่นอกเหนือจากเอกสารงบประมาณที่อยู่ภายใต้การดำเนินงานของหน่วยงานภาครัฐ ซึ่งอาจจะไม่ได้ใช้เงินในงบประมาณในการดำเนินกิจกรรมกิจกรรมย่อย หมายถึง กิจกรรมของหน่วยงาน ซึ่งหน่วยงานกำหนดขึ้นเพื่อใช้ในการคำนวณหาต้นทุนต่อหน่วยกิจกรรม และสามารถเปรียบเทียบต้นทุนต่อหน่วยกิจกรรมระหว่างปีของหน่วยงานเองและเปรียบเทียบระหว่างหน่วยงานอื่นได้

More Related