1 / 41

AEC / FTA

AEC / FTA. ดร.จักรกฤษณ์ ดวงพัสตรา. ประเด็นสำคัญในการทำ FTA เพื่อเปิดตลาดการค้าสินค้า การค้าบริการ และการลงทุน. ลดภาษีศุลกากร ลดมาตรการกีดกันอื่นๆ และการอำนวยความสะดวกทางการค้า. ความตกลงด้านสินค้า. ลดข้อจำกัดต่างชาติในการเข้ามาลงทุน การทำงาน การยอมรับมาตรฐานวิชาชีพ ฯลฯ. ความตกลงการค้าบริการ.

kiley
Télécharger la présentation

AEC / FTA

An Image/Link below is provided (as is) to download presentation Download Policy: Content on the Website is provided to you AS IS for your information and personal use and may not be sold / licensed / shared on other websites without getting consent from its author. Content is provided to you AS IS for your information and personal use only. Download presentation by click this link. While downloading, if for some reason you are not able to download a presentation, the publisher may have deleted the file from their server. During download, if you can't get a presentation, the file might be deleted by the publisher.

E N D

Presentation Transcript


  1. AEC / FTA ดร.จักรกฤษณ์ ดวงพัสตรา

  2. ประเด็นสำคัญในการทำ FTA เพื่อเปิดตลาดการค้าสินค้า การค้าบริการ และการลงทุน ลดภาษีศุลกากร ลดมาตรการกีดกันอื่นๆ และการอำนวยความสะดวกทางการค้า ความตกลงด้านสินค้า ลดข้อจำกัดต่างชาติในการเข้ามาลงทุน การทำงาน การยอมรับมาตรฐานวิชาชีพ ฯลฯ ความตกลงการค้าบริการ เปิดตลาดการลงทุน ส่งเสริม และ คุ้มครองการลงทุนและนักลงทุน ความตกลงการลงทุน

  3. FTA และความร่วมมือเศรษฐกิจของไทยกับกลุ่มประเทศเอเชีย • อาเซียน • ASEAN Free Trade Area - AEC • จีน • ASEAN and China (ACFTA) (เปิดตลาดผักผลไม้ 1 ต.ค. 46 และเริ่มลดภาษีสินค้าทั่วไป 20 ก.ค.48) • GMS (Greater Mekong Sub Region) • EDBETC (ความร่วมมือทางเศรษฐกิจและการค้าเชิงกว้างและเชิงลึกระหว่างไทยกับจีน) • ความร่วมมือทางเศรษฐกิจรอบอ่าวเป่ยปู้ • ความร่วมมือทางเศรษฐกิจและการค้าไทยกับฮ่องกง (อยู่ระหว่างดำเนินการ) • ญี่ปุ่น • JTEPA (Japan – Thailand Economic Partnership) (ใช้เมื่อ 1 พ.ย. 50) • ASEAN – Japan Comprehensive Economic Partnership (AJCEP) (ใช้เมื่อ 1 มิ.ย. 52) • เกาหลีใต้ • ASEAN – Korea Free Trade Area (AKFTA) (ใช้เมื่อ 1 ม.ค. 53) • อินเดียและเอเชียใต้ • Thailand – India FTA (ใช้เมื่อ 1 ก.ย.47) • ASEAN – India FTA (ใช้เมื่อ 1 ม.ค.53) • BIMSTEC FTA (อยู่ระหว่างการดำเนินการ) • อื่น ๆ • ASEAN + 3 (EAFTA) / ASEAN + 6 (CEPEA) อยู่ระหว่างดำเนินการ ขนาดตลาด 3,300 ล้านคน หรือ ½ โลก

  4. อาเซียน 6 สมาชิกใหม่ CLMV ปี 2540 ปี 2540 ปี 2510 ปี 2510 ปี 2538 ปี 2510 ปี 2542 ปี 2527 ปี 2510 ปี 2510 อาเซียน ASEAN (Association of South East Asian Nations) • ก่อตั้งเมื่อปี 2510(1967) ครบรอบ 40 ปีเมื่อปีที่แล้ว (2550) • จุดประสงค์เริ่มแรก – สร้างความมั่นคง เพื่อต้านภัยคุกคามคอมมิวนิสต์ สมาชิก และปีที่เข้าเป็นสมาชิก

  5. ความร่วมมือด้านเศรษฐกิจของอาเซียนที่สำคัญเท่าที่ผ่านมาความร่วมมือด้านเศรษฐกิจของอาเซียนที่สำคัญเท่าที่ผ่านมา 1. เขตการค้าเสรีอาเซียน (AFTA) • ลงนาม (โดย นรม.อานันท์ ปันยารชุน) ปี 2535 เริ่มใช้ 2536 2. กรอบความตกลงด้านการค้าบริการ (AFAS) • ลงนาม (โดย นรม.อำนวย วีรวรรณ) ปี 2538 เริ่มใช้ 2539 3. เขตการลงทุนอาเซียน (AIA) • ลงนาม (โดย นรม.ศุภชัย พานิชย์ภักดิ์) เริ่มใช้ ปี 2541

  6. สินค้าสำคัญของการค้าไทย-อาเซียนสินค้าสำคัญของการค้าไทย-อาเซียน

  7. 12 Priority Sectors under AEC • Agro based Products • Air Travel • Automotives • E-ASEAN • Electronics • Fisheries • Healthcare • Rubber based Products • Textiles and Apparels • Tourism • Wood Based Products • Logistics

  8. เคลื่อนย้ายสินค้าเสรี แผนงานใน AEC Blueprint ปี 2553 ปี 2558 ภาษี0% สินค้าในรายการลดภาษี ภาษี0% อาเซียน - 6 เวียดนาม ลาว พม่า กัมพูชา 1. เปิดเสรีการค้าสินค้า • ปรับปรุงCEPT(AFTA) เป็น ATIGA(ASEAN Trade in Good Agreement) • ยืนยันการลดภาษีนำเข้าตาม CEPT ยกเว้นสินค้าในSensitive Listภาษีไม่ต้องเป็น0%แต่ต้อง <5% ไทยมี 4 รายการ (กาแฟ มันฝรั่ง ไม้ตัดดอก มะพร้าวแห้ง สินค้าในHighly Sensitive Listไม่ต้องลดภาษี มีสินค้าข้าว ของอินโดนีเซีย มาเลเซีย ฟิลิปปินส์, น้ำตาลของอินโดนีเซีย CEPT : Common Effective Preferential Tariff

  9. ข้อตกลงการค้าเสรีกับอาเซียนข้อตกลงการค้าเสรีกับอาเซียน ไทย บรูไน กัมพูชา ลาว มาเลเซีย พม่า ฟิลิปปินส์ เวียดนาม ข้าว 30% ข้าว 40% มาเลเซีย อินโดนีเซีย จะลดเป็น 25% ใน 2015 น้ำตาล40% จะลดเป็น 5-10% ใน 2015 ฟิลิปปินส์ คงอัตรานี้จนถึง 2012 น้ำตาล38% ขอคงจนถึงสิ้นปี 2014

  10. สถานะการเปิดตลาดของไทย (สินค้าเกษตร 23 รายการ) โควต้านำเข้า ภาษี ปี 2552 ณ 1 มค 53 ข้าวโพดเลี้ยงสัตว์ กากถั่วเหลืองหอมหัวใหญ่ เมล็ดหอมหัวใหญ่ ไหมดิบ ใบยาสูบ กระเทียม 0% ยกเลิกแล้ว 5% ลำไยแห้ง ยกเลิกแล้ว 0% พริกไทย น้ำตาล น้ำมันถั่วเหลือง ยกเลิกแล้ว 0% 5% 5% มันฝรั่ง ยกเลิกแล้ว 20% มะพร้าว จะต้องยกเลิก ก่อน 1 มค 53 (กนศ มีมติแล้ว) 0% น้ำมันมะพร้าว ข้าว กาแฟสำเร็จรูป น้ำนมดิบ/นมปรุงแต่ง นมผงขาดมัน 0% 5% 30, 25% 5% เมล็ดกาแฟ เนื้อมะพร้าวแห้ง ชา 5% 0% เมล็ดถั่วเหลือง น้ำมันปาล์ม จะต้องยกเลิก/ ยังมีเงื่อนไขนำเข้า 0% 5% ยกเลิกแล้ว แต่ยังมีเงื่อนไขนำเข้า

  11. เคลื่อนย้ายสินค้าเสรี แผนงานใน AEC Blueprint ยกเลิกเป็นระยะ ขจัดมาตรการที่มิใช่ภาษี NTBs NTBs ชุดที่ 1 NTBs ชุดที่ 2 NTBs ชุดที่ 3 ยกเลิกภายใน1มค.2551(2008) ยกเลิกภายใน1มค.2552(2009) อาเซียน5 ภายใน1มค.2553(2010) ฟิลิปปินส์ ภายใน1มค.2555(2012) CLMV ภายใน1มค.2558(2015) NTBs : Non-Tariff Barriers

  12. แผนงานใน AEC Blueprint เคลื่อนย้ายบริการเสรี ปี 2551 (2008) ปี 2553 (2010) ปี 2556 (2013) ปี 2549 (2006) ปี 2558 (2015) 51% 70% สาขา PIS 49% :เทคโนโลยีสารสนเทศ สุขภาพ ท่องเที่ยว การบิน 70% 70% 30% 49% 51% PIS: Priority Integration Sectors (สาขาเร่งรัดการรวมกลุ่ม) เพิ่มสัดส่วนการถือหุ้นให้กับนักลงทุนอาเซียน 2. เปิดเสรีการค้าบริการ ลอจิสติกส์ สาขาอื่น

  13. เคลื่อนย้ายลงทุนเสรี/เงินทุนเสรียิ่งขึ้นเคลื่อนย้ายลงทุนเสรี/เงินทุนเสรียิ่งขึ้น แผนงานใน AEC Blueprint ACIA: ASEAN Comprehensive Investment Agreement 3. เปิดเสรีลงทุน • ครอบคลุม ธุรกิจ 5 ภาค(เกษตร ประมง ป่าไม้ เหมืองแร่ การผลิต) และบริการที่ต่อเนื่อง • ปฏิบัติกับนักลงทุนอาเซียนเช่นเดียวกับนักลงทุนตนเอง • ทบทวนความตกลงAIAให้เป็นข้อตกลงการลงทุนเต็มรูปแบบ - (เปิดเสรี คุ้มครอง ส่งเสริม/อำนวยความสะดวก) SBO(Substantial Business Operation) • Foreign-Owned ASEAN-Based Investor • Negative List Approachสามารถจะสงวนสิ่งที่ไม่ต้องการเปิดเสรีใน Reservation Lists

  14. เคลื่อนย้ายแรงงานฝีมือ/เงินทุนเสรียิ่งขึ้นเคลื่อนย้ายแรงงานฝีมือ/เงินทุนเสรียิ่งขึ้น แผนงานใน AEC Blueprint 4. เคลื่อนย้ายแรงงานฝีมือ • อำนวยความสะดวกการตรวจลงตรา ออกใบอนุญาตทำงาน • ส่งเสริมการเคลื่อนย้ายนักเรียน เจ้าหน้าที่ภายใต้ความร่วมมือเครือข่ายมหาวิทยาลัยอาเซียน (AUN) • พัฒนากรอบแผนงานมาตรฐานความสามารถ-คุณสมบัติของงาน 4. เคลื่อนย้ายเงินทุนเสรีมากขึ้น • ดำเนินการตามแผนงานที่เห็นชอบโดยรัฐมนตรีคลังอาเซียน

  15. FTA อาเซียน-จีน (ACFTA): อะไรจะเกิดกับท่านบ้างในปี 53 • FTA อาเซียน-จีน • ไทยกับจีนเริ่มยกเลิกภาษีผัก/ผลไม้มาตั้งแต่1 ต.ค.46 และเริ่มลดภาษีสินค้าทั่วไป (สินค้าที่เดิมเก็บภาษี >20%) มาตั้งแต่ 20 ก.ค.48 • มกราคม 52 จีนยกเลิกภาษีให้กลุ่มสินค้าทั่วไปของไทย >60% และไทยยกเลิกให้จีน 33.3% (ภาษีส่วนใหญ่ของไทยในปี 52 จะเรียกเก็บอยู่ที่ 5%) • มกราคม 53 จีนและไทยยกเลิกภาษีให้กลุ่มสินค้าทั่วไป >90% ของการค้าทั้งหมด • สินค้าที่อ่อนไหว / อ่อนไหวสูง ซึ่งมีประมาณ 10% จะยังไม่ลดภาษีในปี 53-54 เช่น ชา รองเท้า มอเตอร์ไซด์ และคอมเพรสเซอร์แอร์ (แต่จะให้ทยอยลดภาษีในช่วงปี 55-61) • ตัวอย่างสินค้าไทยที่ได้ประโยชน์ในการส่งออกในปี 53 • เครื่องจักรกลไฟฟ้า ยางสังเคราะห์ เม็ดพลาสติก เคมีภัณฑ์ ข้าว น้ำตาล อัญมณีสังเคราะห์ กระดาษ • ตัวอย่างผู้นำเข้าสินค้าจีนในไทยจะได้ประโยชน์ในปี 53 • เครื่องใช้ไฟฟ้า (เครื่องดูดฝุ่น เครื่องชงกาแฟ ตะเกียงอ่านหนังสือ) รถบัส และชิ้นส่วนยานยนต์บางประเภท • ภาพรวมการค้าปี 52 • จีนเป็นตลาดส่งออกอันดับ 1 และเป็นตลาดนำเข้าอันดับ 2 ของไทย มูลค่าการค้ารวม 1.13 ล้านล้านบาท ในปี 2552 • สินค้าส่งออกสำคัญ • สินค้าอุตสาหกรรม ได้แก่ เครื่องคอมพิวเตอร์ เม็ดพลาสติก ผลิตภัณฑ์ยาง แผงวงจรไฟฟ้า น้ำมันสำเร็จรูป ไม้และผลิตภัณฑ์ไม้ เครื่องใช้ไฟฟ้า มอเตอร์ไฟฟ้า • สินค้าเกษตร ได้แก่ ยาง ผลิตภัณฑ์มันสำปะหลัง ข้าว ผลไม้สด/แห้ง • สินค้านำเข้าสำคัญ • สินค้าอุตสาหกรรม ได้แก่ เครื่องคอมพิวเตอร์ เครื่องจักรไฟฟ้า เครื่องใช้ไฟฟ้าในบ้าน เครื่องจักรกล เคมีภัณฑ์ ผ้าผืน ผลิตภัณฑ์โลหะและเหล็ก • สินค้าเกษตร ได้แก่ ผักและผลไม้

  16. FTA ไทย-ญี่ปุ่น (JTEPA) / อาเซียน-ญี่ปุ่น (AJCEP): อะไรจะเกิดกับท่านบ้าง • FTA ไทย-ญี่ปุ่น / อาเซียน-ญี่ปุ่น • ไทยกับญี่ปุ่นเริ่มลด/ยกเว้นภาษีมาตั้งแต่1 พ.ย.50 (ภายใต้ JTEPA) โดยในปี 50 ญี่ปุ่นยกเว้นภาษีให้ไทย 86% ของรายการค้า ขณะที่ไทยยกเว้นภาษีให้ญี่ปุ่น 31% และในปี 60 ไทยและญี่ปุ่นจะต้องยกเว้นภาษีกว่า 90% ของรายการค้า • AJCEP เป็นส่วนเสริมกับ JTEPA มีผลใช้เมื่อ 1 มิ.ย.52 ซึ่งเหมาะสำหรับสินค้าที่มีนำเข้าวัตถุดิบจากกลุ่มอาเซียนแล้วนำไปส่งออกที่ญี่ปุ่น เช่น สินค้าอิเล็กทรอนิกส์ ชิ้นส่วนยานยนต์ เครื่องจักร เครื่องนุ่งห่ม (ซึ่งมี local content 40% ที่เป็นของไทยหรืออาเซียนอื่น) โดยญี่ปุ่นยกเว้นภาษีให้ไทย 86% ของรายการค้า ขณะที่ไทยยกเว้นภาษีให้ญี่ปุ่น 31% และในปี 61 ไทยกับญี่ปุ่นต้องยกเว้นภาษีระหว่างกันประมาณ 90% ของรายการค้า • ตัวอย่างสินค้าไทยที่ได้ประโยชน์จาก FTA ในการส่งออกในปี 53 • อัญมณีและเครื่องประดับ โมลาส มันสำปะหลัง อาหาร • ตัวอย่างผู้นำเข้าสินค้าในไทยจะได้ประโยชน์จาก FTA ในปี 53 • เครื่องจักรไฟฟ้า เวชภัณฑ์ น้ำหอม เครื่องสำอาง เหล็กและผลิตภัณฑ์เหล็ก • ภาพรวมการค้า • ญี่ปุ่นเป็นตลาดส่งออกอันดับ 3 และเป็นตลาดนำเข้าอันดับ 1 ของไทย มูลค่าการค้ารวม 1.4 ล้านล้านบาท ในปี 2552 • สินค้าส่งออกสำคัญ • สินค้าอุตสาหกรรม ได้แก่ เครื่องคอมพิวเตอร์ แผงวงจรไฟฟ้า รถยนต์และส่วนประกอบ ผลิตภัณฑ์พลาสติก อาหารทะเลแปรรูป ผลิตภัณฑ์ยาง • สินค้าเกษตร ได้แก่ ยางพารา ไก่ ข้าว กุ้งสด/แช่แข็ง เนื้อปลาสด/แช่แข็ง • สินค้านำเข้าสำคัญ • สินค้าอุตสาหกรรม ได้แก่ เครื่องจักร เหล็กและผลิตภัณฑ์เหล็ก เครื่องจักรไฟฟ้า แผงวงจร ชิ้นส่วนยานยนต์ เคมีภัณฑ์ เครื่องประดับ • สินค้าเกษตร - 16

  17. ความครอบคลุของ JTEPA EPA FTA ความร่วมมือ เกษตร ป่าไม้และประมง การศึกษาและการพัฒนาทรัพยากรมนุษย์ การสร้างเสริมสภาพแวดล้อมทางธุรกิจ เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร วิทยาศาสตร์ เทคโนโลยี พลังงานและสิ่งแวดล้อม วิสาหกิจขนาดกลางและขนาดย่อม การท่องเที่ยว การส่งเสริมการค้าและการลงทุน (โครงการ 7 สาขา) การบริการการเงิน • การเปิดเสรี • การค้าสินค้า • การค้าบริการ • การลงทุน • การเคลื่อนย้าย • บุคคลธรรมดา • การอำนวยความสะดวก • กฎว่าด้วยถิ่นกำเนิดสินค้า • พิธีการศุลกากร • การค้าไร้กระดาษ • การยอมรับร่วมกัน • ทรัพย์สินทางปัญญา • การจัดซื้อจัดจ้างโดยรัฐ

  18. สินค้าไทยที่ได้รับประโยชน์สินค้าไทยที่ได้รับประโยชน์ ยกเลิกภาษีทันที: กุ้งสด กุ้งต้ม กุ้งแช่เย็น แช่แข็งและกุ้งแปรรูป ผลไม้เมืองร้อน เช่น ทุเรียน มะละกอ มะม่วง มังคุด มะพร้าว ผลไม้แช่เย็น แช่แข็งหรือแช่ในน้ำตาล ผักและผลไม้แปรรูป ผลไม้กระป๋อง อัญมณี สิ่งทอและเครื่องนุ่งห่ม ทะยอยลดภาษีเป็นศูนย์: อาหารทะเลสำเร็จรูป ปลาหมึกกล้วยแช่เย็น แช่แข็งอาหารสุนัขและแมว ลดภาษีแต่ไม่เป็นศูนย์: ไก่ปรุงสุก ให้โควตา: กล้วย (4,000 ตันในปีแรก ทยอยเพิ่มเป็น 8,000 ตันในปีที่ 5) แป้งมันสำปะหลังแปรรูปที่ใช้ในอุตสาหกรรม (200,000 ตัน) กากน้ำตาล (4,000ตันในปีที่ 3และเพิ่มเป็น 5,000 ตันในปีที่ 4 ภาษีในโควตาลดจาก 15.3 เยน/กก. เหลือ 7.65 เยน/กก.) สับปะรดสด (100 ตันในปีแรก และเพิ่มเป็น 300 ตันในปีที่ 5)

  19. ข้อผูกพันเปิดเสรีของญี่ปุ่นข้อผูกพันเปิดเสรีของญี่ปุ่น • สาขาที่สำคัญ • ด้านมนุษยศาสตร์และวิทยาศาสตร์ โดยรวมญี่ปุ่นเปิดให้คนไทยที่มีวุฒิปริญญาตรี เข้าไปทำงานได้แทบทุกสาขา ซึ่งเจ้าหน้าที่ตรวจคนเข้าเมืองญี่ปุ่นจะพิจารณาให้ปริญญาที่ได้รับในไทยเทียบเท่ากับปริญญาที่ได้รับในญี่ปุ่น • พ่อครัว-แม่ครัวไทย ไม่ต้องจบปริญญาตรี แต่ต้องได้รับการรับรองฝีมือแรงงานจากกระทรวงแรงงานและมีประสบการณ์ทำงานเป็นพ่อครัวในภัตตาคารในไทยอย่างน้อย 5 ปี ซึ่งญี่ปุ่นลดลงให้จาก 10 ปี • คนดูแลผู้สูงอายุ พนักงานสปาไทย (รวมผู้ให้บริการนวดไทย) ญี่ปุ่นรับจะเจรจาเพิ่มเติมภายใน 2 ปีหลัง JTEPA มีผลใช้บังคับเพื่อให้คนไทยสามารถเข้าไปประกอบอาชีพดังกล่าวได้

  20. อุตสาหกรรมไทยที่ต้องปรับตัวอุตสาหกรรมไทยที่ต้องปรับตัว • เหล็ก / ชิ้นส่วนยานยนต์ • เหล็ก ลดภาษีตามขีดความสามารถในการผลิต และความต้องการเป็นวัตถุดิบ (ลดภาษีทันที / ทยอยลด / ให้โควตา / คงภาษีแล้วยกเลิกใน 6-10 ปี) • ชิ้นส่วนยานยนต์ คงภาษีให้เอกชนปรับตัว (5-10 ปี) เน้นเฉพาะชิ้นส่วนนำเข้าเพื่อใช้ผลิตยานยนต์และชิ้นส่วนยานยนต์ • รถยนต์สำเร็จรูป (CBU) • รถยนต์สำเร็จรูปต่ำกว่า 3,000 ซีซี เจรจาใหม่ใน 5 ปี และลดภาษีรถเกิน 3,000 ซีซี ร้อยละ 5 ต่อปี จากร้อยละ 80 เหลือร้อยละ 60 • เปิดตลาดน้อยมาก เมื่อเทียบกับมาเลเซียและฟิลิปปินส์

  21. FTA อาเซียน-เกาหลี (AKFTA): อะไรจะเกิดกับท่านบ้างในปี 53 • FTA อาเซียน-เกาหลี • ไทยกับเกาหลีเริ่มลด/ยกเว้นภาษีมาตั้งแต่1 ม.ค.53 โดยในปี 53 เกาหลียกเว้นภาษีให้ไทย 90% ของรายการค้า ขณะที่ไทยยกเว้นภาษีให้เกาหลี 83% และจะทยอยลงจนถึง 90%ของรายการค้าในปี 61 • AKFTA คล้ายกับ AJCEP ตรงที่สามารถใช้ประโยชน์จากการสะสมแหล่งกำเนิดสินค้าโดยเฉพาะสินค้าที่มีนำเข้าวัตถุดิบจากกลุ่มอาเซียนแล้วนำไปส่งออกที่เกาหลี เช่น สินค้าอิเล็กทรอนิกส์ เครื่องใช้ไฟฟ้า (ซึ่งมี local content 40% ที่เป็นของไทยหรืออาเซียนอื่น) • ตัวอย่างสินค้าไทยที่ได้ประโยชน์จาก FTA ในการส่งออกในปี 53 • อาหารทะเลสดและแช่แข็ง (กุ้ง ปลา ปลาหมึก) ผลิตภัณฑ์มันสำปะหลัง น้ำตาลและกากน้ำตาล ปิโตรเลียม สิ่งทอ เครื่องประดับ ของตกแต่งบ้าน สินค้าอิเล็กทรอนิกส์และเครื่องใช้ไฟฟ้าและอุปกรณ์ • ตัวอย่างผู้นำเข้าสินค้าในไทยจะได้ประโยชน์จาก FTA ในปี 53 • แผงวงจรไฟฟ้า เครื่องจักรกล • ภาพรวมการค้า • เกาหลีใต้เป็นตลาดส่งออกอันดับ 15 และเป็นตลาดนำเข้าอันดับ 5 ของไทย มูลค่าการค้ารวม 283 พันล้านบาท ในปี 2552 • สินค้าส่งออกสำคัญ • สินค้าอุตสาหกรรม ได้แก่ แผงวงจรไฟฟ้า เครื่องคอมพิวเตอร์และอุปกรณ์ เครื่องใช้ไฟฟ้า กระดาษ เคมีภัณฑ์ เม็ดพลาสติก ไม้และผลิตภัณฑ์ไม้ • สินค้าเกษตร ได้แก่ ยางพารา ข้าว กุ้งสด/แช่แข็ง ผลิตภัณฑ์มันสำปะหลัง • สินค้านำเข้าสำคัญ • สินค้าอุตสาหกรรม ได้แก่ เหล็กและผลิตภัณฑ์เหล็ก เครื่องประดับ แผงวงจรไฟฟ้า เครื่องจักรกล เคมีภัณฑ์ เครื่องจักรไฟฟ้า • สินค้าเกษตร สัตว์น้ำสดและแปรรูป 21 21

  22. ขอบเขตและสาระสำคัญของ AKFTA (1) กรอบความตกลงความร่วมมือทางเศรษฐกิจอาเซียนกับเกาหลี Framework Agreement on Comprehensive Economic Cooperation Among ASEAN and Korea (ไทยลงนามแล้วตั้งแต่ปี 2548 แต่ต้องขอความเห็นชอบจากรัฐสภา ) (2) ความตกลง การค้าสินค้า Agreement on Trade in Goods (ไทยลงนามแล้ว แต่ยังไม่มีผลใช้บังคับ) (3) ความตกลง การค้าบริการ Agreement on Trade in Services (ไทยลงนามแล้ว แต่ยังไม่มีผลใช้บังคับ) (4) ความตกลง การลงทุน Agreement on Investment (รัฐสภาเห็นชอบแล้ว รอการลงนาม) (5) ความตกลงด้านการระงับข้อพิพาท Agreement on Dispute Settlement (ไทยลงนามแล้ว แต่ยังไม่มีผลใช้บังคับ) (6) ความตกลงอื่น ๆที่ภาคีที่เกี่ยวข้องกับการค้าเสรี ซึ่งภาคีเห็นชอบร่วมกัน (ขณะนี้อาเซียนยังไม่มี การหารือเรื่องนี้) • สาระสำคัญของกรอบความตกลงฯ • มาตรการกระชับความร่วมมือทางเศรษฐกิจจะต้องสอดคล้องกับกติกาการเปิดตลาดการค้าสินค้า / การบริการของ WTO ซึ่งเป็นการเปิดตลาดแบบค่อยเป็นค่อยไป (Progressive Liberalization) และให้ความยืดหยุ่นในการเจรจาเปิดตลาดสำหรับสินค้า / บริการบางประเภทที่มีความอ่อนไหว • สร้างกฎระเบียบการลงทุนให้เอื้อต่อการประกอบธุรกิจ โปร่งใส โดยมีการเปิดตลาดการลงทุนแบบค่อยเป็นค่อยไป • พัฒนา / ขยายความร่วมมือในสาขาที่อาเซียนและเกาหลีมีความสนใจร่วมกัน เช่น SME วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี การท่องเที่ยว เกษตรและประมง ธุรกิจบันเทิง และการขนส่งทางทะเล • จัดตั้งกลไกในการปฏิบัติตามกรอบความตกลง และวันที่กรอบความตกลงฯ มีผลใช้บังคับ

  23. ASEAN Korea Free Trade Agreement (AKFTA) • Current Status • การค้าสินค้า (มีผลใช้บังคับตั้งแต่วันที่ 1 มกราคม 53) • กลุ่มสินค้าปกติ ครอบคลุม 90% ของรายการสินค้า โดยไทยต้องลดภาษีเหลือ 0% ในปี 60(ขณะที่อาเซียนเดิมต้องลดภาษีให้เหลือ 0% ในปี 55) ซึ่งไทยได้รับการยืดหยุ่นลดภาษีช้ากว่าอาเซียนเดิมจำนวน 128รายการ อาทิ เหล็ก เครื่องหนัง เครื่องสำอาง • กลุ่มสินค้าอ่อนไหว ครอบคลุม 10% ของรายการสินค้า • สินค้าอ่อนไหว โดยจะต้องลดภาษีเหลือ 0-5% ภายใน 59 • สินค้าอ่อนไหวสูง โดยจะมีจำนวนไม่เกิน 3% ของรายการสินค้า • กลุ่ม A ลดภาษีลงเหลือไม่เกิน 50% ภายในปี 59 • กลุ่ม B ลดภาษีลงอีก 20% ภายในปี 59 • กลุ่ม C ลดภาษีลงอีกกึ่งหนึ่งภายในปี 59 • กลุ่ม D โควตาภาษี • กลุ่ม E ไม่ลดภาษี โดยจะมีรายการไม่เกิน 40รายการ เช่น ทีวีสี รถยนต์ใหญ่ ส่วนประกอบยานยนต์ • การลดภาษีต่างตอบแทนสำหรับสินค้าอ่อนไหว • กฎถิ่นกำเนิดทั่วไป CTSH + 40% • การเปิดตลาดการค้าบริการและการลงทุน (เฉพาะการส่งเสริมและคุ้มครอง) เริ่มมีผลใช้บังคับแล้ว

  24. FTA ไทย-อินเดีย (ITFTA) / อาเซียน-อินเดีย (AIFTA): อะไรจะเกิดกับท่านบ้างในปี 53 • FTA ไทย-อินเดีย / อาเซียน-อินเดีย • ไทยกับอินเดียทำ FTA และเริ่มลด/ยกเว้นภาษี 82 รายการ มาตั้งแต่ ก.ย.47 (ภายใต้ ITFTA) และปัจจุบันได้ยกเว้นภาษีระหว่างกันหมดแล้ว โดยไทยเป็นฝ่ายได้ดุล และปัจจุบัน อยู่ระหว่างเจรจาเพิ่มเติมเพื่อขยายรายการสินค้า • AIFTA เป็นส่วนเสริมกับ ITFTA มีผลใช้เมื่อ 1 ม.ค.53 โดยครอบคลุมจำนวนรายการสินค้ามากกว่า และสามารถใช้ประโยชน์จากการสะสมถิ่นกำเนิดสินค้า (ซึ่งมี local content 35%) • มีสินค้าภายใต้ AIFTA รวมกว่า 5,200 รายการ โดยสัดส่วน 79% ของรายการสินค้าจะทยอยลด/ยกเลิกภาษีภายในปี 56-59 และอีก 11% ของรายการฯ จะลดภาษีเหลือ 5% ในปี 59 ส่วนที่เหลืออีก 10% จัดเป็นสินค้าอ่อนไหว และสินค้าที่ไม่รวมใน FTA • ตัวอย่างสินค้าไทยที่ได้ประโยชน์จาก FTA ในการส่งออกในปี 53 • เครื่องใช้ไฟฟ้า เครื่องปรับอากาศ พลาสติก เครื่องประดับ เฟอร์นิเจอร์ สินค้าอุปโภคบริโภค ชิ้นส่วนยานยนต์ • ตัวอย่างผู้นำเข้าสินค้าในไทยจะได้ประโยชน์จาก FTA ในปี 53 • ปลา (ทูน่าและแซลมอน) อัญมณี น้ำมันพืช ทองแดง เส้นใย ยา • ภาพรวมการค้า • อินเดียเป็นตลาดส่งออกอันดับ 10 และเป็นตลาดนำเข้าอันดับ 15 ของไทย มูลค่าการค้ารวม 169 พันล้านบาท ในปี 2552 • สินค้าส่งออกสำคัญ • สินค้าอุตสาหกรรม ได้แก่ เครื่องจักรกล เคมีภัณฑ์ เม็ดพลาสติก รถยนต์และชิ้นส่วน เครื่องยนต์ เครื่องคอมพิวเตอร์ อัญมณีและเครื่องประดับ เครื่องปรับอากาศ • สินค้าเกษตร ได้แก่ ยางพารา น้ำตาลทราย ผลิตภัณฑ์มันสำปะหลัง • สินค้านำเข้าสำคัญ • สินค้าอุตสาหกรรม ได้แก่ น้ำมันสำเร็จรูป อัญมณี น้ำมันพืช เคมีภัณฑ์ เครื่องใช้ไฟฟ้า เหล็ก ด้าย ผ้าผืน ผลิตภัณฑ์จากแป้ง • สินค้าเกษตร สัตว์น้ำสด/แช่เย็น

  25. การเจรจาความตกลงการค้าเสรีระหว่างไทย-อินเดียการเจรจาความตกลงการค้าเสรีระหว่างไทย-อินเดีย

  26. ความตกลงการค้าเสรีอาเซียน -อินเดีย (AIFTA) • โครงสร้างการเปิดตลาดสินค้า • สินค้าปกติ (Normal Track)ครอบคลุมสินค้า 80% ของรายการสินค้า • Normal Track 1: ครอบคลุม 71% ของรายการสินค้า เริ่มลดภาษีในเดือน ม.ค.53โดยยกเลิกภาษีในเดือน ม.ค. 56 • Normal Track 2: ครอบคลุม 9% ของรายการสินค้า โดยยกเลิกภาษีในเดือน ม.ค. 59 • สินค้าอ่อนไหว (Sensitive Track)ครอบคลุมสินค้า 10% ของรายการสินค้า • ST 1: สินค้า 50รายการ ที่มี MFN Rate 5% โดยจะลดภาษีเหลือ 4% ในปี 58(ยกเว้นไทยไม่ต้องทำ) • ST 2 มีจำนวน 4% ของรายการใน ST1 โดยจะยกเลิกภาษีในปี 62 • สินค้าอ่อนไหวสูง (Highly Sensitive Track) • กรณีไทย มี 14 รายการ โดยจะลดภาษีลงจากเดิมเหลือกึ่งหนึ่งในปี 62 • กรณีอินเดีย มี 5 รายการ โดยจะลดภาษีลงจากเดิมเหลือกึ่งหนึ่งในปี 62 • สินค้าไม่ลดภาษี (Exclusion List) ครอบคลุมสินค้าไม่เกิน 489รายการ โดยกรณีของไทย เช่น เนื้อวัว ชา กาแฟ หอม กระเทียม ข้าว หนังฟอก ฯลฯ โดยสามารถทบทวน EL ได้ในภายหลัง • กฎถิ่นกำเนิดทั่วไป CTSH + 35%(และมีกฎถิ่นกำเนิดเฉพาะสำหรับสินค้า) • ยอมรับ Third Party Invoicing และ Back to Back C/O

  27. การเปิดตลาดสินค้าของอินเดีย (1) ตัวอย่างสินค้าที่ยกเลิกภาษี

  28. การเปิดตลาดสินค้าของอินเดีย (2) *ลดเป็น 0 % ภายใต้ EHS ไทย-อินเดีย

  29. การเปิดตลาดสินค้าของไทย (1) ตัวอย่างสินค้าที่ยกเลิกภาษี สินค้ามีอัตราภาษีเป็น 0% อยู่แล้ว 998 รายการ (41% ของมูลค่านำเข้าจากอินเดีย)

  30. การเปิดตลาดสินค้าของไทย (2)

  31. สินค้าที่สำคัญที่ไม่ลดภาษี (Exclusion List) ไทย อินเดีย • สินค้าเกษตรส่วนใหญ่เช่น นมและผลิตภัณฑ์นม ชา กาแฟ เนื้อโคกระบือแช่เย็นแช่แข็ง ข้าว น้ำตาล น้ำมันปาล์ม ใบยาสูบ กากถั่วเหลือง • หินอ่อน • ไหมและผลิตภัณฑ์ไหม • เหล็กรีดร้อนและผลิตภํณฑ์เหล็ก • ยานยนต์ • สินค้าเกษตรส่วนใหญ่ เช่น นมและผลิตภัณฑ์นม ผัก ผลไม้ ข้าว น้ำตาล ใบยาสูบ อาหารปรุงแต่ง • ยานยนต์และส่วนประกอบ • พืชน้ำมัน • เครื่องนุ่งหุ่ม • ยางพารา สินค้าที่ไทยไม่ได้รับประโยชน์ เช่น ยางพารา รถยนต์ มอเตอร์ไฟฟ้า ผักและผลไม้ เนื่องจากเป็นสินค้าที่มีศักยภาพของไทย เพราะอินเดียคงภาษีสูงและไม่ลดภาษี

  32. แนะนำสมาชิก BIMSTEC • บังคลาเทศ • ในปี 52 มีมูลค่าการค้ากับไทย 22,354 ล้านบาท ไทยเป็นฝ่ายได้ดุลอย่างมาก สินค้าหลักที่ไทยส่งออก คือ เม็ดพลาสติก ปูนซิเมนต์ ผ้าผืน ด้าย น้ำตาลทราย และรถยนต์และชิ้นส่วน • อินเดีย • พม่า • ศรีลังกา • ในปี 52 มีมูลค่าการค้ากับไทย 13,320 ล้านบาท ไทยเป็นฝ่ายได้ดุลอย่างมาก สินค้าหลักที่ไทยส่งออก คือ น้ำตาลทราย ผ้าผืน/ผ้าปัก รถยนต์และชิ้นส่วน ปลาแห้ง เคมีภัณฑ์ พลาสติก ด้ายและเส้นใยประดิษฐ์ เครื่องจักรกล • เนปาล • ในปี 52 มีมูลค่าการค้ากับไทย 2,689 ล้านบาท ไทยเป็นฝ่ายได้ดุลอย่างมาก สินค้าหลักที่ไทยส่งออก คือ เครื่องจักรกล เส้นใย รถยนต์และชิ้นส่วน เครื่องสำอางและผลิตภัณฑ์รักษาผิว เครื่องเทศและสมุนไพร เคมีภัณฑ์ เสื้อผ้า อาหารสำเร็จรูป • ภูฎาน • ในปี 52 มีมูลค่าการค้ากับไทย 249 ล้านบาท ไทยเป็นฝ่ายได้ดุลอย่างมาก สินค้าหลักที่ไทยส่งออก คือ เครื่องจักรกล รถยนต์และชิ้นส่วน ของใช้ทั่วไป • ไทย

  33. BIMSTEC-FTA • Background • ลงนามกรอบความตกลง เมื่อ ก.พ.47 • จัดตั้งคณะเจรจา BIMSTEC FTA เพื่อเจรจาเปิดตลาดสินค้า บริการ ลงทุน • เจรจากันมาแล้ว 18ครั้ง ล่าสุดเมื่อ มิ.ย.52 (อยู่ระหว่างการเจรจา) • รูปแบบการลด/ยกเลิกภาษีการค้าสินค้า • ตกลงการลด/ยกเลิกภาษี 3 กลุ่ม ได้แก่ • กลุ่มเร่งลดภาษี(Fast Track)เหลือ 0% ครอบคลุม 10% ของรายการสินค้า โดยไทยและอินเดีย ศรีลังกา (เป็นสมาชิก BIMSTEC ที่เป็นพี่ใหญ่) จะยกเลิกภาษีระหว่างกันเองภายใน 3 ปีนับจากความตกลงฯ มีผลใช้บังคับ และพี่ใหญ่จะยกเลิกภาษีให้บังคลาเทศ ภูฎาน เนปาล และพม่า (น้องเล็ก) ภายใน 1 ปีนับจากความตกลงฯ มีผลใช้บังคับ • กลุ่มลดสินค้าปกติ (Normal Track) • Normal Track Elimination (NTE) ลดภาษีเหลือ 0% ครอบคลุม 50% ของรายการสินค้า โดยพี่ใหญ่จะยกเลิกภาษีระหว่างกันเองภายใน 6 ปีนับความตกลงฯ มีผลใช้บังคับ และพี่ใหญ่จะยกเลิกภาษีให้น้องเล็กภายใน 4 ปีนับจากความตกลงฯ มีผลใช้บังคับ • Normal Track Reduction (NTR) ลดภาษีเหลือ 1-5% ครอบคลุม 21% ของรายการสินค้า • กลุ่มสินค้าที่ไม่ลดภาษี (Exclusion List) ครอบคลุมสินค้า 19% ของรายการสินค้า • กฎถิ่นกำเนิดทั่วไป CTSH + 35%สำหรับประเทศที่เป็นพี่ใหญ่ และกฎถิ่นกำเนิดทั่วไป CTSH + 30%สำหรับประเทศที่เป็นน้องเล็ก • ปัจจุบันอยู่ระหว่างเจรจา จะรายงานผลทาง Website และเวทีการสัมมนาฯ ให้ทราบถึงสถานะการเจรจาเป็นระยะ 33

  34. EAFTA (ASEAN+3) • เป็นตลาดที่มีประชากร 2,000 ล้านคน (1/3 ของโลก) • เริ่มปี 2542 อาเซียน จีน ญี่ปุ่น และเกาหลีใต้ ต้องการร่วมมือทางเศรษฐกิจ การค้า การเงิน สังคม และการเมือง โดยจีนและเกาหลีใต้เป็นผู้ผลักดัน • โครงการเด่น ได้แก่ Chiang Mai Initiativeเป็นความร่วมมือการบริหารอัตราแลกเปลี่ยนและทำตลาดพันธบัตรเอเชีย • คาดว่า EAFTA ทำให้ GDP เพิ่มขึ้น 1.9%โดยอาเซียนจะได้รับประโยชน์มากกว่าคู่เจรจาฯ ในส่วนของไทยจะมี GDP เพิ่มขึ้น 7%

  35. CEPEA (ASEAN+6) • มีประชากร 3,000 ล้านคน (1/2 ของโลก) • อาเซียนและ 6 ประเทศเห็นชอบให้มีการศึกษาความเป็นไปได้ในการพัฒนา CEPEA โดยญี่ปุ่นเป็นผู้ผลักดันเพื่อคานอำนาจกับจีน ครอบคลุม • การเปิดตลาดการค้าสินค้า/บริการ/ลงทุน • การอำนวยความสะดวกด้านการค้า/ลงทุน • ความร่วมมือการเกษตร อุตสาหกรรม พลังงาน ICT สิ่งแวดล้อม และ SME ฯลฯ • ญี่ปุ่นยังสนับสนุจัดตั้งสถาบันวิจัยเศรษฐกิจอาเซียนและเอเชียตะวันออก (ERIA) และผลักดัน New Development Initiatives เช่นEast Asia Industrial Corridor และ Trade Insurance • คาดว่า CEPEA จะทำให้ GDP เพิ่มขึ้น 2.1% โดยอาเซียนจะได้รับประโยชน์มากกว่าคู่เจรจา และไทยจะมี GDP เพิ่มขึ้น 7.3%

  36. AEC/FTA ทำให้ธุรกิจไทยต้องปรับตัว • การปรับตัวเชิงรุก • เสาะหาวัตถุดิบที่มีความได้เปรียบด้านราคาและคุณภาพ • ศึกษารสนิยมและพฤติกรรมผู้บริโภคในตลาดต่างประเทศ เพื่อส่งออกสินค้า/บริการ • พัฒนาการจัดการภายในและการจัดการโลจิสติกส์ • พิจารณาย้ายฐานการผลิตไปยังตลาดที่มีศักยภาพด้านแรงงาน และบริโภค • เจาะตลาดประเทศคู่ค้า โดยใช้สิทธิประโยชน์จากการค้าเสรี • การปรับตัวเชิงรับ • เรียนรู้คู่แข่ง • เร่งเสริมจุดแข็ง ลดจุดอ่อน เพราะคู่แข่งจากต่างประเทศอาจเข้ามามากขึ้น • มัดใจลูกค้า • เรียนรู้คู่แข่ง และหาทางอยู่ร่วมกับเขาให้ได้

  37. การวางแผนโซ่อุปทานอาหารและเกษตรการวางแผนโซ่อุปทานอาหารและเกษตร Planning วางแผนความต้องการ วางแผนการผลิต Transport Distribution Centre Farmer Processing Stores Chackrit Duangphastra, PhD

  38. Global Food Supply Chain Trends เปลี่ยนจาก “ผลัก” สู่ “ดึง” Chackrit Duangphastra, PhD

  39. ความท้าทายใหม่ทางการค้าความท้าทายใหม่ทางการค้า • ต้องทำความเข้าใจความต้องการลูกค้า • รู้จักพฤติกรรมลูกค้า และพยากรณ์การผลิตและการส่งมอบได้ • กำหนดขีดความสามารถในการผลิต • รู้จักสร้างสมดุลย์ระหว่างความต้องการกับปริมาณผลิต • ใช้ประโยชน์จากการค้าเสรีและโลกาภิวัฒน์ทางการค้า • ทำสินค้าให้มีคุณภาพและปลอดภัย ใช้เทคโนโลยีที่เหมาะสม • ปรับปรุงประสิทธิภาพของโลจิสติกส์และโซ่อุปทานอย่างต่อเนื่อง Chackrit Duangphastra, PhD

  40. 7 R in Management • 7Rs • supplying Right Materials in Right Quantity, for delivery at the Right Time and Right Place, from the Right Source, with the Right Service, and at the Right Price to customers ดร.จักรกฤษณ์ ดวงพัสตรา

  41. Q & A Chackrit Duangphastra, PhD

More Related