1 / 45

วันที่ 24 มีนาคม 2546

สมุดปกขาวด้านวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีอุตสาหกรรม ประจำปี 2545 - ประเทศไทยกับการก้าวสู่ยุคเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร - ดร.อิทธิ ฤทธาภรณ์. วันที่ 24 มีนาคม 2546. สมุดปกขาวด้านวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีอุตสาหกรรม ประจำปี 2545 สมาคมส่งเสริมเทคโนโลยี(ไทย - ญี่ปุ่น).

kimama
Télécharger la présentation

วันที่ 24 มีนาคม 2546

An Image/Link below is provided (as is) to download presentation Download Policy: Content on the Website is provided to you AS IS for your information and personal use and may not be sold / licensed / shared on other websites without getting consent from its author. Content is provided to you AS IS for your information and personal use only. Download presentation by click this link. While downloading, if for some reason you are not able to download a presentation, the publisher may have deleted the file from their server. During download, if you can't get a presentation, the file might be deleted by the publisher.

E N D

Presentation Transcript


  1. สมุดปกขาวด้านวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีอุตสาหกรรมสมุดปกขาวด้านวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีอุตสาหกรรม ประจำปี 2545 - ประเทศไทยกับการก้าวสู่ยุคเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร - ดร.อิทธิ ฤทธาภรณ์ วันที่ 24 มีนาคม 2546 สมุดปกขาวด้านวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีอุตสาหกรรม ประจำปี 2545 สมาคมส่งเสริมเทคโนโลยี(ไทย-ญี่ปุ่น)

  2. นโยบายด้าน ICT ของไทย • ความเคลื่อนไหวเปลี่ยนแปลงในช่วงปี 2544-2545 • หน่วยงานที่เกี่ยวข้องกับ ICT ของไทยและแนวโน้มหลังจากการปรับโครงสร้างการบริหารประเทศปี 2545 • นโยบาย IT-2010 และแผนแม่บท ICT2002-2006 • การพัฒนาบุคลากรด้านไอที • การศึกษาและฝึกอบรมด้านไอที • การสอบมาตรฐานวิชาชีพด้านไอที • ผลการศึกษาความต้องการบุคลากรไอทีของประเทศไทย สมุดปกขาวด้านวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีอุตสาหกรรม ประจำปี 2545 สมาคมส่งเสริมเทคโนโลยี(ไทย-ญี่ปุ่น)

  3. 1. ความเคลื่อนไหวเปลี่ยนแปลงในช่วงปี 2544-2545 • หลังจากที่เกิดรัฐบาลใหม่ที่นำโดยนายกทักษิณเมื่อเดือนมกราคม 2544 เป็นต้นมา นโยบายและกิจกรรมต่าง ๆ ด้าน IT มีความคึกคักเคลื่อนไหวเพิ่มขึ้นเป็นอย่างมาก • คีย์เวิร์ดใหม่ ๆ เช่น e -ASEAN, e-Thailand, e-Government, e-Citizen, e-Industry, e-Education, e-Society ปรากฏในหน้าหนังสือพิมพ์แทบจะทุกวันโดยการให้ข่าวจากผู้นำระดับสูงของรัฐบาล • “IT2010”ซึ่งเป็นแผน 10 ปีด้าน ICT ของไทย ได้รับการอนุมัติจากคณะกรรมการเทคโนโลยีสารสนเทศแห่งชาติ (NITC, http://www.nitc.go.th) เมื่อวันที่ 3 ตุลาคม 2544 และได้รับอนุมัติจากคณะรัฐมนตรีเมื่อวันที่ 19 มีนาคม 2545 โดยจะเป็นแผนแม่บทที่จะมารับช่วงต่อจากแผน “IT2000”ที่มีมาแต่เดิม • เมื่อวันที่ 25 กันยายน 2545 คณะรัฐมนตรีได้มีมติอนุมัติแผนปฎิบัติการ ICT (2002-2006) สมุดปกขาวด้านวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีอุตสาหกรรม ประจำปี 2545 สมาคมส่งเสริมเทคโนโลยี(ไทย-ญี่ปุ่น)

  4. 1. ความเคลื่อนไหวเปลี่ยนแปลงในช่วงปี 2544-2545 • การก่อสร้าง“อุทยานวิทยาศาสตร์ไทย หรือ Thailand Science Park (TSP)ซึ่งดำเนินการโดยสำนักงานพัฒนาวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีแห่งชาติ (สวทช.) เสร็จสมบูรณ์เมื่อเดือนเมษายน 2545 และศูนย์แห่งชาติสามศูนย์ภายใต้ สวทช. ได้แก่ ศูนย์เทคโนโลยีอิเล็กทรอนิกส์และคอมพิวเตอร์แห่งชาติ (NECTEC),ศูนย์เทคโนโลยีโลหะและวัสดุแห่งชาติ (MTEC),ศูนย์เทคโนโลยีชีวภาพแห่งชาติ (BIOTEC)ได้ย้ายเข้ามาอยู่ในอุทยานวิทยาสตร์ไทย ทำให้เกิดเป็นศูนย์กลางการวิจัยที่ใหญ่ที่สุดของไทย และจำนวนบริษัทที่ประกอบการด้านการวิจัยและพัฒนาที่เข้ามาเช่าสำนักงานในอุทยานก็เริ่มมีจำนวนมากขึ้น ซึ่งรวมถึงจำนวนของบริษัทที่มาจากต่างประเทศด้วย โดยจากประเทศญี่ปุ่นก็มีจาก CRL(Communication Research Laboratory) และ Tokyo Institute of Technology • http://www.nstda.or.th สมุดปกขาวด้านวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีอุตสาหกรรม ประจำปี 2545 สมาคมส่งเสริมเทคโนโลยี(ไทย-ญี่ปุ่น)

  5. 1. ความเคลื่อนไหวเปลี่ยนแปลงในช่วงปี 2544-2545 • ศูนย์เทคโนโลยีไมโครอิเล็กทรอนิกส์ (ThaiMicroelectronicsCenter, TMEC, http://tmec.nectec.or.th) ซึ่งดำเนินการก่อสร้างห้องสะอาดและระบบสำหรับการผลิตไมโครชิพแห่งแรกของประเทศไทยก็ได้ก่อสร้างเสร็จสมบูรณ์เมื่อเดือนกุมภาพันธ์ 2545 และอยู่ในขั้นตอนที่จะขออนุมัติจัดซื้อเครื่องจักรสำหรับการผลิตไมโครชิพ โดยมีเป้าหมายเบื้องต้นเพื่อทำการผลิตสมาร์ทการ์ดชิพในการสนับสนุนโครงการบัตรประชาชนอิเล็กทรอนิกส์ โครงการ e-Government, e-Citizenของรัฐบาลไทย สมุดปกขาวด้านวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีอุตสาหกรรม ประจำปี 2545 สมาคมส่งเสริมเทคโนโลยี(ไทย-ญี่ปุ่น)

  6. ความพร้อมของศูนย์เทคโนโลยีไมโครอิเล็กทรอนิกส์ความพร้อมของศูนย์เทคโนโลยีไมโครอิเล็กทรอนิกส์ ศูนย์เทคโนโลยีไมโครอิเล็กทรอิกส์ ศอ.พว.

  7. CLEAN ROOM SUPPORT SYSTEM Process Vacuum system For Hold the wafer pieces Water cool chiller system For adjust the air temperature Machines in wafer process Central Vacuum Cleaning For Cleaning the Clean Room Air cool chiller system Make up Cooled Water for machines in wafer process Clean Dry Air system Make up the clean dry air for wafer process ศูนย์เทคโนโลยีไมโครอิเล็กทรอิกส์ ศอ.พว.

  8. ความพร้อมของบุคลากรของ TMEC ทีม • Process engineers/researchers: 20 คน • Facility engineers/maintenance: 10 คน ศูนย์เทคโนโลยีไมโครอิเล็กทรอิกส์ ศอ.พว. Delhi , Dec 2002 Thai Microelectronics Center

  9. Oxidation furnaces AlSi sputtering SEM SiO PECVD Set of existing equipment ศูนย์เทคโนโลยีไมโครอิเล็กทรอิกส์ ศอ.พว.

  10. Mask aligner Wire bonder Resist coater Set of existing equipment ศูนย์เทคโนโลยีไมโครอิเล็กทรอิกส์ ศอ.พว.

  11. Plasma etcher Wet bench Ion Implanter LPCVD Set of existing equipment ศูนย์เทคโนโลยีไมโครอิเล็กทรอิกส์ ศอ.พว.

  12. Hotplates/ developer Film thickness measurement Resistivity measurement SRP Set of existing equipment ศูนย์เทคโนโลยีไมโครอิเล็กทรอิกส์ ศอ.พว.

  13. Mask set Laser mask writer Mask Fabrication ศูนย์เทคโนโลยีไมโครอิเล็กทรอิกส์ ศอ.พว.

  14. ผลงานของ TMEC ที่ผ่านมา • 2001/12 สร้าง pMOS 5 micron ครั้งแรกของไทย, • คำถวายพระพรเล็กที่สุดในโลกบนแผ่นซิลิคอนเวเฟอร์ • 2002/2 การก่อสร้าง TMEC เสร็จสมบูรณ์(ด้วยความยากลำบาก) • 2002/3 สร้าง nMOS 5 micron ครั้งแรกของไทย • 2002/7 สร้าง cMOS 5 micron ครั้งแรกของไทย • 2002/11 ให้บริการรับผลิตไมโครชิพ “Thai-Run” 5 • micron เป็นครั้งแรกในประเทศ มีวงจรส่งเข้ามา 7วงจร • 2002/11~ MEMS trial fabrication started • 2002/12 สร้าง 5 micron ring oscillator CMOS • 2003/3 3 micron ring oscillator CMOS, • 3 micron CMOS inverter, • 5 micron CMOS circuits (1poly/2 metal) ศูนย์เทคโนโลยีไมโครอิเล็กทรอิกส์ ศอ.พว. Delhi , Dec 2002 Thai Microelectronics Center

  15. ผลงานของ TMEC ที่ผ่านมา • รัฐมนตรีว่าการกระทรวงวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีเยี่ยม TMEC เมื่อ 28 พ.ย. 2545 ศูนย์เทคโนโลยีไมโครอิเล็กทรอิกส์ ศอ.พว. Delhi , Dec 2002 Thai Microelectronics Center

  16. แผนการดำเนินงานของ TMEC ในปี 2546-2547 ศูนย์เทคโนโลยีไมโครอิเล็กทรอิกส์ ศอ.พว. Delhi , Dec 2002 Thai Microelectronics Center

  17. แผนการดำเนินงานของ TMEC ในปี 2546-2547 • เข้า ครม. ของบประมาณเพิ่มเติมสำหรับการผลิตไมโครชิพสมาร์ทการ์ด เพื่อสนับสนุนโครงการ e-Government, e-Citizen, บัตรประชาชนแบบ สมาร์ทการ์ด ฯลฯ ศูนย์เทคโนโลยีไมโครอิเล็กทรอิกส์ ศอ.พว. Delhi , Dec 2002 Thai Microelectronics Center

  18. Fabrication service - CMOS1 ศูนย์เทคโนโลยีไมโครอิเล็กทรอิกส์ ศอ.พว.

  19. 1. ความเคลื่อนไหวเปลี่ยนแปลงในช่วงปี 2544-2545 • ด้านการส่งเสริมอุตสาหกรรมซอฟท์แวร์นั้น รัฐบาลได้กำหนดให้อุตสาหกรรมซอฟท์แวร์เป็นอุตสาหกรรมยุทธศาสตร์อย่างหนึ่งของไทย และ SoftwarePark ซึ่งเป็นหน่วยงานภายใต้ สวทช.ซึ่งมีพันธกิจในการส่งเสริมอุตสาหกรรมซอฟท์แวร์ไทยได้เริ่มมีบทบาทสูงและผลงานสู่สังคมที่ชัดเจนขึ้น และมีผลให้เริ่มมีโครงการที่จะพัฒนาซอฟท์แวร์พาร์คแห่งที่สอง แห่งที่สาม โดยภาคเอกชนในต่างจังหวัดเกิดขึ้น สมุดปกขาวด้านวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีอุตสาหกรรม ประจำปี 2545 สมาคมส่งเสริมเทคโนโลยี(ไทย-ญี่ปุ่น)

  20. 1. ความเคลื่อนไหวเปลี่ยนแปลงในช่วงปี 2544-2545 • การใช้อินเตอร์เน็ตของไทย • (1 ) ความแพร่หลายของอินเตอร์เน็ต • ความแพร่หลายของการใช้อินเตอร์เน็ตของไทยเพิ่มสูงขึ้นมากในช่วงปี 2542-2543 โดยอัตราการใช้ในปี 2543 จากการสำรวจของ ITU เท่ากับ 3.8% • (2) เน็ตเวิร์ค • การให้บริการอินเตอร์เน็ตในประเทศไทยจะมีลักษณะเหมือนกับกิจการด้านการสื่อสารอื่น ๆ คือ เป็นลักษณะของ BTO(Build Transfer and Operate) โดยที่การสื่อสารแห่งประเทศไทยจะให้สัมปทานแก่ ISP เป็นเวลาสิบปี และเมื่อหมดสัมปทานแล้วจะต้องโอนกิจการให้แก่การสื่อสารแห่งประเทศไทย อีกทั้งการสื่อสารเป็นผู้ถือหุ้น 32% ของทุกISP ในปัจจุบันมี ISPทั้งหมด 18 บริษัท • (3)โมบายล์อินเตอร์เน็ต • สำหรับการใช้อินเตอร์เน็ตผ่านโทรศัพท์มือถือนั้น มีการให้บริการระบบ GPRS ภายใต้เครือข่าย GSM ที่ความเร็วระดับ 40kbps และสามารถใช้ได้ทั่วประเทศ สมุดปกขาวด้านวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีอุตสาหกรรม ประจำปี 2545 สมาคมส่งเสริมเทคโนโลยี(ไทย-ญี่ปุ่น)

  21. 1. ความเคลื่อนไหวเปลี่ยนแปลงในช่วงปี 2544-2545 ความแพร่หลายของการใช้ ICT ในภาคการศึกษา จำนวนของโรงเรียนประถมและมัธยมของไทย ณ เดือนกุมภาพันธ์ ปี 2545 มี 33,302 โรง และมีความพร้อมของระบบพื้นฐานด้าน ICT ดังรายละเอียดต่อไปนี้ สมุดปกขาวด้านวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีอุตสาหกรรม ประจำปี 2545 สมาคมส่งเสริมเทคโนโลยี(ไทย-ญี่ปุ่น)

  22. 1. ความเคลื่อนไหวเปลี่ยนแปลงในช่วงปี 2544-2545 • ความก้าวหน้าด้านอีคอมเมิร์ซ • เมื่อเดือนตุลาคม 2544 ร่างพระราชบัญญัติว่าด้วยธุรกรรมทางอิเล็กทรอนิกส์ และ พระราชบัญญัติลายมือชื่ออิเล็กทรอนิกส์ ได้ผ่านการพิจารณาของวุฒิสภา และเริ่มมีผลบังคับใช้ตั้งแต่เดือนเมษายน 2545 • โดยพระราชบัญญัติว่าด้วยธุรกรรมทางอิเล็กทรอนิกส์นั้นจะครอบคลุมธุรกรรมทุกประเภทไม่ว่าจะเป็นแบบ Business to Business(B2B), Business to Customer (B2C) และ Business to Government (B2G) สมุดปกขาวด้านวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีอุตสาหกรรม ประจำปี 2545 สมาคมส่งเสริมเทคโนโลยี(ไทย-ญี่ปุ่น)

  23. นโยบายด้าน ICT ของไทย • ความเคลื่อนไหวเปลี่ยนแปลงในช่วงปี 2544-2545 • หน่วยงานที่เกี่ยวข้องกับ ICT ของไทยและแนวโน้มหลังจากการปรับโครงสร้างการบริหารประเทศปี 2545 • นโยบาย IT-2010 และแผนแม่บท ICT2002-2006 • การพัฒนาบุคลากรด้านไอที • การศึกษาและฝึกอบรมด้านไอที • การสอบมาตรฐานวิชาชีพด้านไอที • ผลการศึกษาความต้องการบุคลากรไอทีของประเทศไทย สมุดปกขาวด้านวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีอุตสาหกรรม ประจำปี 2545 สมาคมส่งเสริมเทคโนโลยี(ไทย-ญี่ปุ่น)

  24. 2. หน่วยงานที่เกี่ยวข้องกับICTของไทยและแนวโน้มหลังการปรับโครงสร้างการบริหารประเทศปี2545 จากการปฎิรูประบบการบริหารประเทศ ตามพระราชบัญญัติ ปรับปรุงกระทรวง ทบวง กรม เมื่อวันที่ 2 ตุลาคม 2545 ได้มีการตั้งกระทรวงเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารขึ้นใหม่ ซึ่งคาดว่าจะทำให้เกิดการเปลี่ยนแปลงในการย้ายงานด้านการวางนโยบายและการร่างกฎหมาย ฯลฯ ด้าน ICT มาที่กระทรวงใหม่ จากหน่วยงานเดิมคือ ศูนย์เทคโนโลยีอิเล็กทรอนิกส์และคอมพิวเตอร์แห่งชาติ ภายใต้สังกัดของสำนักงานพัฒนาวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีแห่งชาติ กระทรวงวิทยาศาสตร์ เทคโนโลยีและสิ่งแวดล้อม โดยในส่วนของกระทรวงวิทยาศาสตร์ เทคโนโลยีและสิ่งแวดล้อม นั้นหลังจากการปฎิรูประบบราชการได้เปลี่ยนเป็นกระทรวงวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี (โดยงานด้านพลังงานได้ถูกแยกไปอยู่ในกระทรวงพลังงาน) ส่วนสำนักงานพัฒนาวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีแห่งชาตินั้นไม่มีการเปลี่ยนแปลงทางด้านโครงสร้างองค์กร และอยู่ในกำกับของกระทรวงวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี โดยที่งานด้าน ICT ในส่วนของการวางนโยบายและการบริการ(รวมทั้งสำนักงานเลขานุการคณะกรรมการเทคโนโลยีสารสนเทศแห่งชาติ )คาดว่าจะมีการโอนย้ายไปอยู่ในกระทรวงเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร สมุดปกขาวด้านวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีอุตสาหกรรม ประจำปี 2545 สมาคมส่งเสริมเทคโนโลยี(ไทย-ญี่ปุ่น)

  25. 2. หน่วยงานที่เกี่ยวข้องกับICTของไทยและแนวโน้มหลังการปรับโครงสร้างการบริหารประเทศปี2545 • สำนักงานพัฒนาวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีแห่งชาติ (NSTDA, http://www.nstda.or.th ) • ศูนย์เทคโนโลยีอิเล็กทรอนิกส์และคอมพิวเตอร์แห่งชาติ (NECTEC, http://www.nectec.or.th ) • สำนักงานเลขานุการคณะกรรมการเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร (NITC, http://www.nitc.go.th ) • กระทรวงเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร (Ministry of ICT, http://www.ict.go.th ) • องค์การโทรศัพท์แห่งประเทศไทย (Telephone Organization of Thailand、TOT, http://www.tot.or.th ) • การสื่อสารแห่งประเทศไทย (Communication Authority of Thailand、CAT, http://www.cat.or.th ) สมุดปกขาวด้านวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีอุตสาหกรรม ประจำปี 2545 สมาคมส่งเสริมเทคโนโลยี(ไทย-ญี่ปุ่น)

  26. นโยบายด้าน ICT ของไทย • ความเคลื่อนไหวเปลี่ยนแปลงในช่วงปี 2544-2545 • หน่วยงานที่เกี่ยวข้องกับ ICT ของไทยและแนวโน้มหลังจากการปรับโครงสร้างการบริหารประเทศปี 2545 • นโยบาย IT-2010 และแผนแม่บท ICT2002-2006 • การพัฒนาบุคลากรด้านไอที • การศึกษาและฝึกอบรมด้านไอที • การสอบมาตรฐานวิชาชีพด้านไอที • ผลการศึกษาความต้องการบุคลากรไอทีของประเทศไทย สมุดปกขาวด้านวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีอุตสาหกรรม ประจำปี 2545 สมาคมส่งเสริมเทคโนโลยี(ไทย-ญี่ปุ่น)

  27. IT 2010: Towards the Knowledge-based Economy and Society • Three principles • Build Human Capital • Promote Innovation • Invest in Information Infrastructure and promote the Information Industry Cabinet Approval 19 March 2002

  28. นโยบาย IT-2010 และแผนแม่บท ICT2002-2006 • นโยบายเทคโนโลยีสารสนเทศระยะพ.ศ.2544-2553ของประเทศไทย (IT2010) • จัดทำขึ้นโดยศูนย์เทคโนโลยีอิเล็กทรอนิกส์และคอมพิวเตอร์แห่งชาติ (NECTEC) สำนักงานพัฒนาวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีแห่งชาติ (สวทช.) ในฐานะเป็นสำนักงานเลขานุการคณะกรรมการเทคโนโลยีสารสนเทศแห่งชาติ (กทสช.) • โดยได้รับความเห็นชอบจากคณะกรรมการเทคโนโลยีสารสนเทศแห่งชาติที่มีนายกรัฐมนตรีเป็นประธาน เมื่อวันที่ 3 ตุลาคม พ.ศ.2544 และจากคณะรัฐมนตรี เมื่อวันที่ 19 มีนาคม พ.ศ.2545 • ประกอบด้วยองค์ประกอบหลัก 3 องค์ประกอบ ได้แก่ • - การลงทุนในการสร้างทรัพยากรมนุษย์ • - การส่งเสริมให้มีนวัตกรรมที่ทันการเปลี่ยนแปลงของโลกทั้งในระบบเศรษฐกิจและสังคม • -การลงทุนและการส่งเสริมให้มีโครงสร้างพื้นฐานสารสนเทศ และอุตสาหกรรมเกี่ยวเนื่องอย่างจริงจังและต่อเนื่อง สมุดปกขาวด้านวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีอุตสาหกรรม ประจำปี 2545 สมาคมส่งเสริมเทคโนโลยี(ไทย-ญี่ปุ่น)

  29. นโยบาย IT-2010 และแผนแม่บท ICT2002-2006 • กลยุทธ์การพัฒนาโดยใช้เทคโนโลยีสารสนเทศที่สำคัญไว้ 5 กลุ่ม คือ • - เทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อการพัฒนาด้านภาครัฐ (e-Government) • - เทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อการพัฒนาด้านพาณิชย์ (e-Commerce) • - เทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อการพัฒนาด้านอุตสาหกรรม (e-Industry) • - เทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อการพัฒนาด้านการศึกษา (e-Education) • - เทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อการพัฒนาด้านสังคม (e-Society) สมุดปกขาวด้านวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีอุตสาหกรรม ประจำปี 2545 สมาคมส่งเสริมเทคโนโลยี(ไทย-ญี่ปุ่น)

  30. Development Goals for the Year 2010 • Raise technological capability of the country from being in the “Dynamic Adopters” group to the “Potential Leader” group (UNDP TAI) • Increase proportion of “Knowledge Workers” in the country from 12% to 30% • Increase the share of “Knowledge-based Industries” within the overall economy to 50%

  31. National ICT Master Plan(2002-2006) Approved by the Cabinet on September 25, 2002

  32. นโยบาย IT-2010 และแผนแม่บท ICT2002-2006 ยุทธศาสตรทั้ง 7 ดาน ไดแก • ยุทธศาสตรที่ 1 การพัฒนาอุตสาหกรรม ICT เพื่อใหเปนผูนําในภูมิภาค • ยุทธศาสตรที่ 2 การใช ICT เพื่อยกระดับคุณภาพชีวิตของคนไทยและสังคมไทย • ยุทธศาสตรที่ 3 การปฏิรูปและการสรางศักยภาพการวิจัยและพัฒนา ICT • ยุทธศาสตรที่ 4 การยกระดับศักยภาพพื้นฐานของสังคมไทยเพื่อการแขงขันในอนาคต • ยุทธศาสตรที่ 5 การพัฒนาศักยภาพของผูประกอบการ เพื่อมุงขยายตลาดตางประเทศ • ยุทธศาสตรที่ 6 การสงเสริมผูประกอบการขนาดกลางและขนาดยอมใช ICT • ยุทธศาสตรที่ 7 การนํา ICT มาใชประโยชนในการบริหารและการใหบริการของภาครัฐ สมุดปกขาวด้านวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีอุตสาหกรรม ประจำปี 2545 สมาคมส่งเสริมเทคโนโลยี(ไทย-ญี่ปุ่น)

  33. Relations between strategies and target outcome Distribution for Sustainability Capability and Competitiveness Outcome for New Economy Outcome for other Economy 5. Entrepreneurs capability development 2. Quality of Life and Society Enhancement 1. ICT Industry Development 7. ICT for public sector 6. ICT for SMEs 3. R&D Reform 4. Society capability Leverage for future competition Priority Setting for strategies 2 Start with ICT development cycle which generate economic outcome 1 Expand cycle to sustainable development

  34. นโยบายด้าน ICT ของไทย • ความเคลื่อนไหวเปลี่ยนแปลงในช่วงปี 2544-2545 • หน่วยงานที่เกี่ยวข้องกับ ICT ของไทยและแนวโน้มหลังจากการปรับโครงสร้างการบริหารประเทศปี 2545 • นโยบาย IT-2010 และแผนแม่บท ICT2002-2006 • การพัฒนาบุคลากรด้านไอที • การศึกษาและฝึกอบรมด้านไอที • การสอบมาตรฐานวิชาชีพด้านไอที • ผลการศึกษาความต้องการบุคลากรไอทีของประเทศไทย สมุดปกขาวด้านวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีอุตสาหกรรม ประจำปี 2545 สมาคมส่งเสริมเทคโนโลยี(ไทย-ญี่ปุ่น)

  35. การพัฒนาบุคลากรด้านไอทีการพัฒนาบุคลากรด้านไอที • การศึกษาและฝึกอบรมด้านไอที • สถาบันการศึกษาด้านไอที6 กลุ่ม • กลุ่มสาขาวิชาวิศวกรรมคอมพิวเตอร์ • กลุ่มสาขาวิชาคอมพิวเตอร์ประยุกต์ • กลุ่มสาขาวิชาอิเล็กทรอนิกส์ • กลุ่มสาขาวิชาโทรคมนาคม • กลุ่มสาขาวิชาโทรคมนาคม • กลุ่มสาขาวิชาสถิติ • สถาบันการศึกษาทั้งภาครัฐและเอกชนด้านเทคโนโลยีสารสนเทศ • มหาวิทยาลัยของรัฐ • มหาวิทยาลัยของเอกชน • สถาบันเทคโนโลยีราชมงคล • สถาบันราชภัฎ • สถาบันในกำกับของกรมอาชีวศึกษา สมุดปกขาวด้านวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีอุตสาหกรรม ประจำปี 2545 สมาคมส่งเสริมเทคโนโลยี(ไทย-ญี่ปุ่น)

  36. การพัฒนาบุคลากรด้านไอทีการพัฒนาบุคลากรด้านไอที • การศึกษาและฝึกอบรมด้านไอที • สถาบันการศึกษาด้านไอที สมุดปกขาวด้านวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีอุตสาหกรรม ประจำปี 2545 สมาคมส่งเสริมเทคโนโลยี(ไทย-ญี่ปุ่น)

  37. โครงสร้างการผลิตบุคลากรไอทีของไทยโครงสร้างการผลิตบุคลากรไอทีของไทย สมุดปกขาวด้านวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีอุตสาหกรรม ประจำปี 2545 สมาคมส่งเสริมเทคโนโลยี(ไทย-ญี่ปุ่น)

  38. โครงสร้างการผลิตบุคลากรไอทีของไทยโครงสร้างการผลิตบุคลากรไอทีของไทย สมุดปกขาวด้านวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีอุตสาหกรรม ประจำปี 2545 สมาคมส่งเสริมเทคโนโลยี(ไทย-ญี่ปุ่น)

  39. โครงสร้างการผลิตบุคลากรไอทีของไทยโครงสร้างการผลิตบุคลากรไอทีของไทย สมุดปกขาวด้านวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีอุตสาหกรรม ประจำปี 2545 สมาคมส่งเสริมเทคโนโลยี(ไทย-ญี่ปุ่น)

  40. การพัฒนาบุคลากรด้านไอทีการพัฒนาบุคลากรด้านไอที • การศึกษาและฝึกอบรมด้านไอที • สถาบันฝึกอบรมด้านไอที • เนคเทค: open source, security, network, database • เขตอุตสาหกรรมซอฟต์แวร์ประเทศไทย: CMM, …. • สถาบันฝึกอบรมไอทีของผู้ขายซอฟต์แวร์: Microsoft,CISCO,Oracle,SAP • สถาบันฝึกอบรมภาคเอกชนอื่นๆ: ECC(Thailand), NIIT, สสท., จุฬา • สมาคมธุรกิจคอมพิวเตอร์ไทย(ATCI) • สมาคมคอมพิวเตอร์แห่งประเทศไทย(CAT) • สมาคมอุตสาหกรรมซอฟต์แวร์ไทย(ATSI) สมุดปกขาวด้านวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีอุตสาหกรรม ประจำปี 2545 สมาคมส่งเสริมเทคโนโลยี(ไทย-ญี่ปุ่น)

  41. 2.การสอบมาตรฐานวิชาชีพด้านไอที2.การสอบมาตรฐานวิชาชีพด้านไอที เนคเทคได้ร่วมมือกับ Japan Information Processing DevelopmentCorporation (JIPDEC)หน่วยงานในความดูแลของกระทรวงเศรษฐกิจการคาและอุตสาหกรรม (Ministry of Economy, Trade and Industry: METI)ประเทศญี่ปุน ในการจัดสอบมาตรฐานวิชาชีพไอทีในระดับ Fundamental IT Engineer ซึ่งเป็นมาตรฐานวิชาชีพไอทีชนิดหนึ่งที่แพร่หลายในญี่ปุ่น และกำลังได้รับการผลักดันให้นำไปใช้ในหลายประเทศเพื่อเป็นมาตรฐานระดับนานาชาติในการสร้างบุคลากรไอที เนคเทคได้จัดสอบไปแล้ว 2 ครั้ง (1) 18 มีนาคม 2544 ณ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ และมหาวิทยาลัยวลัยลักษณ์ มีผู้สมัครสอบ 535 คน ผู้เข้าสอบ 483 คน และผ่านการสอบ 12 คน คิดเป็น 2.5% (2) 21 ตุลาคม 2545 ณ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ และมหาวิทยาลัยวลัยลักษณ์ มีผู้สมัครสอบ 203 คน ผู้เข้าสอบ 172 คน และผ่านการสอบ 16 คน คิดเป็น 9.3% โดยการสอบครั้งนี้ผู้สอบเลือกได้ว่าจะสอบภาษาไทย หรือภาษาอังกฤษ สำคัญแต่ไทยยังไม่มีระบบรองรับและเจ้าภาพที่เข้มแข็ง ต้องทำให้ดีขึ้นอีกมาก สมุดปกขาวด้านวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีอุตสาหกรรม ประจำปี 2545 สมาคมส่งเสริมเทคโนโลยี(ไทย-ญี่ปุ่น)

  42. 3.ผลการศึกษาความต้องการบุคลากรไอทีของประเทศไทย3.ผลการศึกษาความต้องการบุคลากรไอทีของประเทศไทย สมุดปกขาวด้านวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีอุตสาหกรรม ประจำปี 2545 สมาคมส่งเสริมเทคโนโลยี(ไทย-ญี่ปุ่น)

  43. 3.ผลการศึกษาความต้องการบุคลากรไอทีของประเทศไทย3.ผลการศึกษาความต้องการบุคลากรไอทีของประเทศไทย ผลการวิเคราะห์อุปสงค์และอุปทานด้านบุคลากรไอทีของประเทศไทยระหว่างปี 2545 – 2549 สมุดปกขาวด้านวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีอุตสาหกรรม ประจำปี 2545 สมาคมส่งเสริมเทคโนโลยี(ไทย-ญี่ปุ่น)

  44. 3.ผลการศึกษาความต้องการบุคลากรไอทีของประเทศไทย3.ผลการศึกษาความต้องการบุคลากรไอทีของประเทศไทย ผลการวิเคราะห์อุปสงค์และอุปทานด้านบุคลากรไอทีระหว่างปี 2545-2549 ภายหลังจากมีข้อสมมติเกี่ยวกับอุปทานเพิ่มขึ้น สมุดปกขาวด้านวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีอุตสาหกรรม ประจำปี 2545 สมาคมส่งเสริมเทคโนโลยี(ไทย-ญี่ปุ่น)

  45. ความคาดหวังสำหรับปี 2546 • กระทรวง ICT มีโครงสร้างและบทบาทชัดเจนขึ้น งานนโยบาย งานบริหาร งานส่งเสริมอุตสาหกรรม ICT งานสร้างบุคลากร ICT มีเจ้าภาพชัดเจนขึ้น • เนคเทค ภายใต้ สวทช. จะหันไปเน้นด้าน วิจัยและพัฒนา • หน่วยงานส่งเสริมอุตสาหกรรมซอฟต์แวร์ (Software Industry Promotion Association, SIPA)ใหม่จะเกิดขึ้นหรือไม่ และจะสร้างความแตกต่างอย่างไร • ICT มีหลายหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง จะมีแนวทางการประสานงานอย่างมีประสิทธิภาพอย่างไร • กระทรวง ICT ซึ่งรวมงาน สถิติ เข้าไปด้วย จะมีระบบการจัดเก็บข้อมูลที่มีประสิทธิภาพ ดีขึ้น และเข้าถึงได้ง่ายได้อย่างไร • รัฐบาลจะเริ่มใช้ระบบบัตรประชาชนแบบสมาร์ทการ์ด และรูปแบบการก้าวเข้าสู่ e-Government, e-Citizenบริษัทพัฒนาเทคโนโลยีเอกชนไทยจะใช้โอกาสนี้ได้บ้างหรือไม่ อย่างไร หรือต้องนำเข้าจากต่างประเทศ เหมือนที่ผ่าน ๆ มา • การใช้ ICT เพื่อยกความสามารถในการแข่งขัน สำหรับประเทศไทย คือ อะไร ต้องเริ่มอย่างไร จบอย่างไร คำตอบอยู่ในแผน ICT2002-2006 ที่ไหนอย่างไร • การ benchmark (ตรวจสุขภาพ)ประเทศไทย ต้องทำจริงจังมากกว่านี้ สมุดปกขาวด้านวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีอุตสาหกรรม ประจำปี 2545 สมาคมส่งเสริมเทคโนโลยี(ไทย-ญี่ปุ่น)

More Related