1 / 28

( Knowledge Management : KM)

KM. KM. KM. เกณฑ์คุณภาพการบริหารจัดการภาครัฐ. หมวด 4 การวัด การวิเคราะห์ และการจัดการความรู้ ( IT 7 : ส่วนราชการต้องจัดทำแผนการจัดการความรู้ และนำแผนไปปฏิบัติ ). ( Knowledge Management : KM). พ.ต.ท.หญิง ศิ ริเพ็ญ เกาะหวาย รอง ผกก.ฝ่าย วิทย บริการ วตร.

kiora
Télécharger la présentation

( Knowledge Management : KM)

An Image/Link below is provided (as is) to download presentation Download Policy: Content on the Website is provided to you AS IS for your information and personal use and may not be sold / licensed / shared on other websites without getting consent from its author. Content is provided to you AS IS for your information and personal use only. Download presentation by click this link. While downloading, if for some reason you are not able to download a presentation, the publisher may have deleted the file from their server. During download, if you can't get a presentation, the file might be deleted by the publisher.

E N D

Presentation Transcript


  1. KM KM KM เกณฑ์คุณภาพการบริหารจัดการภาครัฐ หมวด 4 การวัด การวิเคราะห์ และการจัดการความรู้( IT7 : ส่วนราชการต้องจัดทำแผนการจัดการความรู้ และนำแผนไปปฏิบัติ ) (Knowledge Management : KM) พ.ต.ท.หญิง ศิริเพ็ญ เกาะหวาย รอง ผกก.ฝ่ายวิทยบริการ วตร.

  2. การจัดการความรู้ (Knowledge Management : KM) การจัดการความรู้ในองค์กร หมายถึง การรวบรวมองค์ความรู้ที่มีอยู่ในองค์กร ซึ่งกระจัดกระจายอยู่ในตัวบุคคลหรือเอกสาร มาพัฒนาให้เป็นระบบ เพื่อให้ ทุกคนในองค์กรสามารถเข้าถึงความรู้ และพัฒนาตนเองให้เป็นผู้รู้ รวมทั้ง ปฏิบัติงานได้อย่างมีประสิทธิภาพ อันจะส่งผลให้องค์กรมีความสามารถในเชิง แข่งขันสูงสุด โดยที่ความรู้มี 2 ประเภท คือ

  3. ความรู้ มี 2 ประเภท คือ 1. ความรู้ที่ฝังอยู่ในคน (Tacit Knowledge) เป็นความรู้ที่ได้จากประสบการณ์ พรสวรรค์หรือสัญชาตญาณของแต่ละบุคคล ในการทำความเข้าใจในสิ่งต่างๆ เป็นความรู้ที่ไม่สามารถถ่ายทอดออกมาเป็น คำพูดหรือลายลักษณ์อักษรได้โดยง่าย เช่น ทักษะในการทำงาน งานฝีมือ หรือ การคิดเชิงวิเคราะห์ บางครั้ง จึงเรียกว่าเป็นความรู้แบบนามธรรม 2. ความรู้ที่ชัดแจ้ง (Explicit Knowledge) เป็นความรู้ที่สามารถรวบรวม ถ่ายทอดได้ โดยผ่านวิธีต่างๆ เช่น การบันทึก เป็นลายลักษณ์อักษร ทฤษฎี คู่มือต่างๆ และบางครั้งเรียกว่า เป็นความรู้แบบรูปธรรม

  4. ก.พ.ร. ได้กำหนดแนวทางการจัดทำแผนการจัดการความรู้ ดังนี้ ประเด็นการพิจารณาการดำเนินงานที่ครบถ้วน ประเด็นการตรวจประเมิน A : แสดงแผนการจัดการความรู้อย่างน้อย 3 องค์ความรู้ • 1. มีการทบทวนองค์ความรู้ที่สอดรับกับประเด็นยุทธศาสตร์ • 2. มีรายการองค์ความรู้ที่มาจากการรวบรวมถ่ายทอดจากบุคลากรภายใน/ • ภายนอกองค์กร • 3. มีรายการองค์ความรู้เพื่อสนับสนุน/สามารถตอบรับประเด็นยุทธศาสตร์ • ครบทุกประเด็นยุทธศาสตร์ • 4. มีการจำแนกองค์ความรู้ที่จำเป็นต่อการผลักดันตามประเด็นยุทธศาสตร์ • ของส่วนราชการ • 5. เลือกองค์ความรู้ที่จำเป็นอย่างน้อย 3 องค์ความรู้จาก 2 ประเด็นยุทธศาสตร์ • ที่แตกต่างกัน พร้อมระบุเหตุผลหรือความเหมาะสมในการเลือกองค์ความรู้

  5. ก.พ.ร. ได้กำหนดแนวทางการจัดทำแผนการจัดการความรู้ ดังนี้ ประเด็นการพิจารณาการดำเนินงานที่ครบถ้วน ประเด็นการตรวจประเมิน A : แสดงแผนการจัดการความรู้อย่างน้อย 3 องค์ความรู้ • 6. กำหนดหลักเกณฑ์การวัดผลสำเร็จโดยเลือกตัวชี้วัด (KPI) ตามคำรับรองฯ • หรือตัวชี้วัด (KPI) อื่น ๆ ที่สามารถสะท้อนผลลัพธ์ของแผนการจัดการความรู้ • 7. มีการจัดทำแผนการจัดการความรู้ครอบคลุมทั้ง 7 ขั้นตอน(KMP) ในทั้ง 3 แผน • 8. มีกระบวนการบริหารการเปลี่ยนแปลงครบทั้ง 6 องค์ประกอบ (CMP) มาบูรณาการร่วมกัน • 9. มีกิจกรรมยกย่องชมเชย แสดงให้เห็นชัดเจนเป็นรูปธรรม • 10. มีการลงนามเห็นชอบการจำแนกองค์ความรู้ที่จำเป็นต่อการผลักดันตาม • ประเด็นยุทธศาสตร์จากผู้บริหารสูงสุด (CEO)(แบบฟอร์ม 1) • 11. มีการลงนามเห็นชอบการจัดการความรู้จากผู้บริหารสูงสุด (CEO) (แบบฟอร์ม 2)

  6. ก.พ.ร. ได้กำหนดแนวทางการจัดทำแผนการจัดการความรู้ ดังนี้ ประเด็นการพิจารณาการดำเนินงานที่ครบถ้วน ประเด็นการตรวจประเมิน D : รายงานผลการดำเนินงานตามแผน โดยดำเนินกิจกรรมตามแผนการจัดการความรู้ ได้สำเร็จครบถ้วน ทุกกิจกรรม และสามารถดำเนินการ ที่ครอบคลุมกลุ่มเป้าหมายได้ ไม่น้อยกว่าร้อยละ 90 ในทุกกิจกรรม แลกเปลี่ยนเรียนรู้ • 1. สามารถดำเนินการได้แล้วเสร็จ ครบถ้วนทุกกิจกรรม • ที่กำหนดในแผน KM ครบทั้ง 3 แผน • 2. ทุกกิจกรรมแลกเปลี่ยนเรียนรู้มีผลการดำเนินการ • ครอบคลุมกลุ่มเป้าหมายไม่น้อยกว่าร้อยละ 90 • ครบทั้ง 3 แผน • 3. มีรายงานผลการติดตามความก้าวหน้าทุกครั้ง • ตามที่ระบุในกรอบระยะเวลาการติดตามประเมิน • ผลการดำเนินงานของกิจกรรมตามแผนการจัดการ • ความรู้และต้องไม่น้อยกว่า 2 ครั้งต่อปี โดยมีช่วง • ห่างของระยะเวลาในการติดตามแต่ละครั้งที่เหมาะสม KM

  7. แนวทางการคัดเลือก / จัดทำองค์ความรู้ KM IT 7 •  กำหนดองค์ความรู้ที่จำเป็นตามประเด็นยุทธศาสตร์ • โดยนำข้อมูลตามที่ระบุไว้ในคำรับรองการปฏิบัติราชการ • ประจำปีมาดำเนินการ •  เลือกองค์ความรู้ที่จำเป็น 3 องค์ความรู้จากอย่างน้อย • 2 ประเด็นยุทธศาสตร์ที่แตกต่างกัน และไม่ควรซ้ำซ้อนกับ • องค์ความรู้ที่เคยเลือกมาจัดทำแผนการจัดการความรู้ไปแล้ว •  เลือกตัวชี้วัด (KPI) ตามคำรับรองเพื่อใช้เป็นเกณฑ์ใน • การวัดผลสำเร็จของการจัดการความรู้  ประเด็นยุทธศาสตร์ / วิสัยทัศน์ / พันธกิจ  แผนปฏิบัติราชการ 4 ปี  แผนปฏิบัติราชการประจำปี KMP 1-7 CMP 1-6 ผลลัพธ์ RM 4.5 • ตัวชี้วัดความสำเร็จจากผลสัมฤทธิ์ของการดำเนินการ • ตามแผนการจัดการความรู้อย่างน้อย ๓ องค์ความรู้ • (ตัวชี้วัดตามคำรับรองประจำปีของหน่วย)

  8. ตัวชี้วัดผลลัพธ์ผลการดำเนินการ (ผลลัพธ์ของกระบวนการ) ของส่วนราชการตามเกณฑ์คุณภาพการบริหารจัดการภาครัฐระดับพื้นฐาน (หมวด 7) ปี 2554 KM RM 4.5 การวัดผลลัพธ์ของการดำเนินการจะพิจารณาจากร้อยละเฉลี่ยถ่วงน้ำหนักความสำเร็จ จากผลสัมฤทธิ์ของการดำเนินกิจกรรม ที่ส่วนราชการดำเนินการได้สำเร็จครบถ้วน ทุกกิจกรรมตามแผนการจัดการความรู้ของส่วนราชการที่กำหนดไว้อย่างน้อย 3 องค์ความรู้ (เอกสาร 3)

  9. แนวทางการตรวจประเมินการดำเนินการเกี่ยวกับตัวชี้วัดที่ 12 หมวด 4 การวัด การวิเคราะห์และการจัดการความรู้(IT 7)เอกสาร 1 KM

  10. แนวทางการตรวจประเมินการดำเนินการเกี่ยวกับตัวชี้วัดที่ 12 หมวด 4 การวัด การวิเคราะห์และการจัดการความรู้(IT 7)เอกสาร 1 KM

  11. แนวทางการตรวจประเมินการดำเนินการเกี่ยวกับตัวชี้วัดที่ 12 หมวด 4 การวัด การวิเคราะห์และการจัดการความรู้(IT 7)เอกสาร 1 KM

  12. แนวทางการตรวจประเมินการดำเนินการเกี่ยวกับตัวชี้วัดที่ 12 หมวด 4 การวัด การวิเคราะห์และการจัดการความรู้(IT 7)เอกสาร 1 KM

  13. แนวทางการตรวจประเมินการดำเนินการเกี่ยวกับตัวชี้วัดที่ 12 หมวด 4 การวัด การวิเคราะห์และการจัดการความรู้(IT 7)เอกสาร 1 KM

  14. แนวทางการดำเนินการจัดทำองค์ความรู้ ปีงบประมาณ ๒๕๕๔ - ๒๕๕๕ KM ๑.ให้ทุกหน่วยงานในสังกัด ตร.(บช./บก.) จัดทำแผนการจัดการความรู้ จำนวน (บช./บก.) ละ ๓ แผน โดยให้ บก.อก.หรือหน่วยงานที่ผู้บังคับบัญชามอบหมายเป็นผู้ดำเนินการรวบรวมองค์ความรู้ของแต่ละ บก.ในสังกัด เพื่อเป็นองค์ความรู้ในภาพรวมของ บช.

  15. แนวทางการดำเนินการจัดทำองค์ความรู้ ปีงบประมาณ ๒๕๕๔ - ๒๕๕๕ KM ๒.การรายงานผลการปฏิบัติให้รายงานตามแบบฟอร์มที่ สง.ก.พ.ร.กำหนด ของหน่วยระดับ บช.และ บก.ที่ขึ้นตรงต่อ ตร. ตามห้วงระยะเวลาดังนี้ ๒.๑ รอบ ๖ และ ๙ เดือน ให้รายงานภายใน ๑๕ ก.ค.๒๕๕๔ ๑) ตารางการทบทวนองค์ความรู้ของหน่วย ๒) คำสั่งแต่งตั้ง ๓) เอกสารการจำแนกองค์ความรู้ (ฟอร์มที่ ๑) ๔) เอกสารแผนการจัดการความรู้ (ฟอร์มที่ ๒) ๒.๒ รอบ ๑๒ เดือน ให้รายงานภายใน ๓๐ ก.ย.๒๕๕๔ โดยให้จัดส่งเอกสารองค์ความรู้ที่ดำเนินการแล้วเสร็จ (ในรูปเอกสารและซีดี)

  16. KM KM KM สอบถามรายละเอียดเพิ่มเติม เว็บไซต์วิทยาลัยการตำรวจ www.pc.edupol.org โทรศัพท์ 02-5791421 พ.ต.ท.หญิง ศิริเพ็ญ เกาะหวาย รอง ผกก.ฝ่ายวิทยบริการ วตร. โทร. 081-4243996 พ.ต.ต.หญิง โชติกา คล้ายนัครัญสว.ฝ่ายวิทยบริการ วตร. โทร. 084-1415195 ร.ต.ท.หญิง ประไพศรี จันทร์สระน้อย รอง สว.ฝ่ายวิทยบริการ วตร. โทร.086-5341224

  17. แบบฟอร์มการรายงานผลการดำเนินการจัดทำองค์ความรู้แบบฟอร์มการรายงานผลการดำเนินการจัดทำองค์ความรู้ KM

  18. แนวทางการรายงานผลการดำเนินการจัดทำองค์ความรู้แนวทางการรายงานผลการดำเนินการจัดทำองค์ความรู้ KM

  19. การบูรณาการกระบวนการจัดการความรู้และกระบวนการบริหารการเปลี่ยนแปลงการบูรณาการกระบวนการจัดการความรู้และกระบวนการบริหารการเปลี่ยนแปลง (Knowledge Management Process : KMP) (Change Management Process : CMP) 4 5 6 การฝึกอบรมและเรียนรู้ (Training & Learning) การวัดผล (Measurement) การยกย่องชมเชยและการให้รางวัล (Recognition and Reward) วิสัยทัศน์/พันธกิจ ขอบเขต KM เป้าหมาย KM ประเด็นยุทธศาสตร์/ กลยุทธ์/กระบวนงาน กระบวนการและเครื่องมือ (Process & Tools) การสื่อสาร (Communication) การเตรียมการและ ปรับเปลี่ยนพฤติกรรม (Transition & Behavior Mgt.) 1 3 2

  20. การทบทวนองค์ความรู้ของสำนักงานตำรวจแห่งชาติประจำปี 2551 - 2553 KM

  21. วิธีการคิดค่าร้อยละเฉลี่ยถ่วงน้ำหนัก RM 4.5 KM ๑.น้ำหนักของจำนวน ๓ แผน มีคะแนนเต็ม ๑ คะแนน ( ๑/๓ = ๐.๓๓) แต่ละแผนจะมีน้ำหนักคะแนนเท่ากับ ๐.๓๓ ๒. นำคะแนนที่ได้จากเกณฑ์การให้คะแนนเทียบกับร้อยละของผลสำเร็จตามเป้าหมายของตัวชี้วัด เช่น ตัวชี้วัดที่เลือกสามารถดำเนินการได้ร้อยละ ๙๕ เมื่อเปรียบเทียบกับเกณฑ์การให้คะแนนของผลลัพธ์องค์ความรู้ ได้ระดับ ๔ ให้นำค่าคะแนนที่ได้ คือ ๔ คูณกับค่าคะแนนของแผนคือ ๐.๓๓ คะแนนถ่วงน้ำหนักที่ได้คือ ๔ * ๐.๓๓ = ๑.๓๒ ๓. เมื่อดำเนินการตามขั้นตอนที่ ๒ ครบทั้ง ๓ แผนแล้ว ให้นำคะแนนถ่วงน้ำหนักทั้ง ๓ แผน มารวมกัน ก็จะได้ผลรวมคะแนนเฉลี่ยถ่วงน้ำหนัก ซึ่งมีค่าคะแนนเต็ม ๕ สูตรการคำนวณ ๑. แผนที่……. * ค่าคะแนนที่ได้ = คะแนนถ่วงน้ำหนัก ๒.คะแนนถ่วงน้ำหนักของแผนที่ ๑ + คะแนนถ่วงน้ำหนักของแผนที่ ๒ + คะแนนถ่วงน้ำหนักของแผนที่ ๓ = ผลรวมคะแนนเฉลี่ยถ่วงน้ำหนัก

  22. แนวทางการจัดการความรู้แนวทางการจัดการความรู้ ยุทธศาสตร์/นโยบาย ตร. ผู้รับผิดชอบ การบ่งชี้ความรู้ สร้างและแสวงหา องค์ความรู้ แหล่งความรู้ เช่น ผู้มีประสบการณ์/เอกสาร/หน่วยงาน ผู้รับผิดชอบ การจัดความรู้ให้ระบบ ผู้มีประสบการณ์ผู้เชี่ยวชาญ//เอกสาร/สื่อ ประมวลและกลั่นกรองความรู้ ผู้เข้าร่วมสัมมนา/ฝึกอบรม การเข้าถึงความรู้ ร่างองค์ความรู้/หัวข้อ การแบ่งปันแลกเปลี่ยน จัดเวทีแลกเปลี่ยนเรียนรู้/สัมมนา ผู้รับผิดชอบ การเรียนรู้ เผยแพร่ความรู้/ฝึกอบรม/สัมมนา

  23. ยุทธศาสตร์ ตร./บช. ตัวชี้วัดความสำเร็จ/เป้าหมาย องค์ความรู้ ระดับความพึงพอใจของประชาชนต่อการแก้ไขปัญหาและควบคุมอาชญากรรมของ ตร. ระดับ ๓ คู่มือการฝึกและการปฏิบัติการควบคุมฝูงชน ด้านการป้องกันอาชญากรรม ระดับความสำเร็จของร้อยละเฉลี่ยถ่วงน้ำหนักในการจับกุมคดีตามหมายจับค้างเก่า ระดับ ๓ ด้านการสืบสวนปราบปราม คู่มือการบริหารจัดการหมายจับ ระดับความสำเร็จในการถวายความปลอดภัยองค์พระมหากษัตริย์และพระบรมวงศานุวงศ์ เมื่อเสด็จพระราชดำเนินออกนอกเขตพระราชฐานหรือที่ประทับ ระดับ ๕ ด้านความมั่นคงของชาติและกิจการพิเศษ เทคนิคการรักษาความปลอดภัยบุคคลสำคัญ

  24. RM 4.3 : ร้อยละเฉลี่ยถ่วงน้ำหนักความสำเร็จจากผลสัมฤทธิ์ของการดำเนินการ ตามแผนการจัดการความรู้อย่างน้อย 3 องค์ความรู้ ( ปี 2553) องค์ความรู้ ตัวชี้วัดความสำเร็จ (KPI) ผลลัพธ์การดำเนินการ การวิเคราะห์ ข่าวอาชญากรรม สามารถจับกุมในคดีอุกฉกรรจ์และสะเทือนขวัญ, คดีชีวิตร่างกายและเพศ, คดีประทุษร้ายต่อทรัพย์ได้ คิดเป็นร้อยละ 100 (บรรลุเป้าหมาย) ระดับความสำเร็จของร้อยละเฉลี่ยถ่วงน้ำหนักของคดีแต่ละประเภทที่เกิดขึ้นและจับกุมได้ในปีงบประมาณ พ.ศ. 2553 (ร้อยละ 85 ของการจับกุมในคดีอุกฉกรรจ์, ร้อยละ 68 ของการจับกุมในคดีประทุษร้ายต่อชีวิต ร่างกาย และเพศ, ร้อยละ 51 ของการจับกุมในคดีประทุษร้ายต่อทรัพย์) ประเด็นยุทธศาสตร์ : ด้านการสืบสวนปราบปราม สามารถสร้างความเชื่อมั่นของผู้เสียหายที่มีต่อพนักงานสอบสวนด้านประสิทธิภาพของการทำงานได้ คิดเป็นร้อยละ 71.38 (ไม่บรรลุเป้าหมาย) แต่แนวโน้มในปี 2554 น่าจะบรรลุเป้าหมายเพราะพนักงานสอบสวนเริ่มใช้บริการนิติวิทยาศาสตร์ในการตรวจสถานที่เกิดเหตุ โดยจากผลการดำเนินการในปี 2553 ที่ใช้บริการนิติวิทยาศาสตร์ฯ จำนวน 31,019 เรื่อง (เป้าหมายตั้งไว้ 27,924 เรื่อง) ซึ่งบรรลุเป้าหมายที่ตั้งไว้ รวมทั้ง ตร. ได้เห็นชอบให้รวมงานสืบสวนและสอบสวนเข้าไว้ด้วยกัน เพื่อความคล่องตัวในการทำงานและมีประสิทธิภาพมากยิ่งขึ้น กระบวนการเก็บรวบรวมและรักษาความน่าเชื่อถือของพยานหลักฐานทางอิเล็กทรอนิกส์ ระดับความเชื่อมั่นของผู้เสียหายที่มีต่อพนักงานสอบสวนด้านประสิทธิภาพการทำงานในเรื่องการตรวจสถานที่เกิดเหตุ, รักษาที่เกิดเหตุและเก็บวัตถุพยานด้วยตนเอง, การนำตัวผู้กระทำผิดเข้าสู่กระบวนการยุติธรรมได้อย่างรวดเร็ว, การใช้อุปกรณ์และเทคโนโลยีสมัยใหม่ รวมทั้งนิติวิทยาศาสตร์ช่วยในการสอบสวน (ร้อยละ 90 ของความพึงพอใจของผู้เสียหายที่มีต่อพนักงานสอบสวน) ประเด็นยุทธศาสตร์ : ด้านการอำนวยความยุติธรรม การกระทำความผิดเกี่ยวกับการค้ามนุษย์ ระดับความสำเร็จถ่วงน้ำหนักของจำนวนการจับกุมคดีสำคัญที่มีผลต่อความมั่นคงของชาติในเรื่องการกระทำความผิดเกี่ยวกับเด็ก/สตรี/แรงงาน ไม่เกิน 25,247 คดี สามารถจับกุมผู้กระทำความผิดเกี่ยวกับ เด็ก/สตรี/แรงงาน ได้จำนวน 29,404 คดี คิดเป็นร้อยละ 100 (บรรลุเป้าหมาย) ประเด็นยุทธศาสตร์ : ด้านความมั่นคงของชาติและ กิจการพิเศษ

  25. แบบฟอร์ม ๑

  26. แบบฟอร์ม ๒

More Related