1 / 17

ด้วยระบบ Two-Phase Biotransformation

การศึกษาเปรียบเทียบวิธีการเตรียมเอนไซม์และหน้าที่ขององค์ประกอบเซลล์ในการผลิต ( R )-Phenylacetylcarbinol. ด้วยระบบ Two-Phase Biotransformation. สมาชิก. น.ส.ณิชา ครุฑกล่อม 4813100 น.ส.รติกร บัวคำ 4813113. บทนำ.

kiri
Télécharger la présentation

ด้วยระบบ Two-Phase Biotransformation

An Image/Link below is provided (as is) to download presentation Download Policy: Content on the Website is provided to you AS IS for your information and personal use and may not be sold / licensed / shared on other websites without getting consent from its author. Content is provided to you AS IS for your information and personal use only. Download presentation by click this link. While downloading, if for some reason you are not able to download a presentation, the publisher may have deleted the file from their server. During download, if you can't get a presentation, the file might be deleted by the publisher.

E N D

Presentation Transcript


  1. การศึกษาเปรียบเทียบวิธีการเตรียมเอนไซม์และหน้าที่ขององค์ประกอบเซลล์ในการผลิต (R)-Phenylacetylcarbinol ด้วยระบบ Two-Phase Biotransformation

  2. สมาชิก น.ส.ณิชา ครุฑกล่อม 4813100 น.ส.รติกร บัวคำ 4813113 CompanyLogo

  3. บทนำ (R)-Phenylacetylcarbinol เป็นผลิตภัณฑ์ที่ได้จาก pyruvate กับ benzaldehydeโดยมี pyruvate decarboxylase (PDC) เป็นตัวช่วยทำปฏิกิริยา (R)-Phenylacetylcarbinol เป็นสารตั้งต้นสำหรับการผลิตสารประกอบทางเภสัชกรรม (ephedrine,pseudoephedrine) เอนไซม์ pyruvate decarboxylase (PDC) จะได้จาก Candida utilis CompanyLogo

  4. บทนำ ระบบ Two-Phase Biotransformation เป็นระบบการเปลี่ยนสารตั้งต้นให้กลายเป็นสารผลิตภัณฑ์โดยใช้เอนไซม์ ซึ่งการทดลองนี้ใช้ระบบ 2 ชั้น คือ ชั้นบัฟเฟอร์ที่มีน้ำเป็นตัวทำละลายและชั้น octanol ที่เป็นตัวทำละลายอินทรีย์ เปรียบเทียบวิธีการเตรียมเอนไซม์จากเอนไซม์ PDCที่ถูกทำให้บริสุทธิ์แต่เพียงบางส่วน กับเอนไซม์ PDCในรูปเซลล์รวม CompanyLogo

  5. วัสดุอุปกรณ์และวิธีการทดลองวัสดุอุปกรณ์และวิธีการทดลอง • เชื้อจุลินทรีย์และการผลิต PAC • เลี้ยงเซลล์ยีสต์ C.utilis UNSW 70940 เก็บเซลล์หลังจาก 44 ชั่วโมง • วิธีการเตรียมสารสกัด PDC ใสโดยการทำให้เกิดรูรั่วด้วยผงแก้วขนาดเส้นผ่านศูนย์กลาง 0.5 มิลลิเมตร • วิธีการทำให้เอนไซม์ PDC บริสุทธิ์แต่เพียงบางส่วนโดยการตกตะกอนด้วยอะซิโตน • 1 หน่วย(U) ของค่ากิจกรรมการทำงานด้วยวิธี carboligase ว่าหมายถึง ปริมาณของเอนไซม์ pyruvate decarboxylase ที่ผลิต PAC ได้ 1 mmol จาก pyruvate กับ bezaldehyde ต่อ 1 นาที pH 6.4 และ 25°C CompanyLogo

  6. วัสดุอุปกรณ์และวิธีการทดลองวัสดุอุปกรณ์และวิธีการทดลอง • การเตรียมชิ้นส่วนเซลล์และไขมันเซลล์จาก C.utilis CompanyLogo

  7. วัสดุอุปกรณ์และวิธีการทดลองวัสดุอุปกรณ์และวิธีการทดลอง CompanyLogo

  8. วัสดุอุปกรณ์และวิธีการทดลองวัสดุอุปกรณ์และวิธีการทดลอง • การทดลอง Biotransformation CompanyLogo

  9. วัสดุอุปกรณ์และวิธีการทดลองวัสดุอุปกรณ์และวิธีการทดลอง • การทดลองวัดค่าความคงตัวของเอนไซม์ pyruvate decarboxylase (PDC) CompanyLogo

  10. ผลการทดลอง รูป 1. เปรียบเทียบความเข้มข้น PAC (แท่งสีเทา) กับ acetoin (แท่งใส) ในระบบบัฟเฟอร์/octanol หลังจาก 24 ชั่วโมง ที่ 21°C ในเอนไซม์ pyruvate decarboxylase ที่ถูกทำให้บริสุทธิ์แต่เพียงบางส่วน สารสกัดใสจากเซลล์และเอนไซม์ pyruvate decarboxylase ในรูปเซลล์รวม CompanyLogo

  11. ผลการทดลอง รูป 2. ผลกระทบของความเข้มข้นเอนไซม์ต่อ (a) ความเข้มข้นสุดท้ายของ PAC (b) การผลิต PAC จำเพาะโดยทำให้บริสุทธิ์แต่เพียงบางส่วน (จุดขาว) และโดยเอนไซม์ pyruvate decarboxylaseในรูปเซลล์รวม (จุดดำ) ในระบบบัฟเฟอร์/octanol ที่ 21oC CompanyLogo

  12. ผลการทดลอง • ตาราง I. ค่าครึ่งชีวิตของวิธีการเตรียมเอนไซม์ pyruvate decarboxylase ที่แตกต่างกันจาก C. utilisในระบบบัฟเฟอร์/octanol ที่มีการกวนอย่างรวดเร็ว โดยไม่มี pyruvate ที่ 21°C (ให้ค่ากิจกรรมการทำงานเริ่มต้นต่อปริมาตรปฏิกิริยาทั้งหมด,MOPS/KOH 2.5 โมล่าร์, pH 6.5,MgSO4 0.5 มิลลิโมล่าร์,TPPในชั้นบัฟเฟอร์ 0.5 โมล่าร์และ benzaldehydeในชั้น octanol 1.5 โมล่าร์) aไม่ได้ขจัดเศษเซลล์ออก n.d., ไม่ได้กำหนด CompanyLogo

  13. การใช้สารเคมีต่างชนิดเพื่อการปรับปรุง PAC • การเติม chitin bovin serum albumin asolectinจะให้ผลการผลิต PACต่ำกว่าตัวควบคุม • การเติมไขมัน เซลล์จาก แคนนิด้า ยูทิลิส เศษเซลล์จาก แคนนิด้า ยูทิลิส ผนังเซลล์จากแซโคโรไมซิสเซเรวิซีอี้ ให้ผลการผลิต PACมากกว่าตัวควบคุม 1.5-2เท่า • การเติม sterol (ergosteol,5mm)และ phospholipidsให้ผลการผลิต PAC ให้ผลการผลิตPAC เพิ่มขึ้นไปถึง 2.4 – 2.8เท่า การเติม AOT 50 mmก็ให้ผลชนิดเดียว กัน CompanyLogo

  14. ผลกระทบของ AOT ต่อความเสถียรของเอนไซม์ PDC CompanyLogo

  15. จลนพลศาสตร์การผลิต PAC ในสภาวะที่มี AOT CompanyLogo

  16. เส้นแนวโน้มการผลิต PAC โดยใช้เซลล์รวมตามเวลาที่ผ่านไป CompanyLogo

  17. Thank You ! www.themegallery.com

More Related