1 / 25

บทที่ 6 การวางแผนพัฒนาโครงงาน Developing a project plan

บทที่ 6 การวางแผนพัฒนาโครงงาน Developing a project plan. Developing the project network.

kochava
Télécharger la présentation

บทที่ 6 การวางแผนพัฒนาโครงงาน Developing a project plan

An Image/Link below is provided (as is) to download presentation Download Policy: Content on the Website is provided to you AS IS for your information and personal use and may not be sold / licensed / shared on other websites without getting consent from its author. Content is provided to you AS IS for your information and personal use only. Download presentation by click this link. While downloading, if for some reason you are not able to download a presentation, the publisher may have deleted the file from their server. During download, if you can't get a presentation, the file might be deleted by the publisher.

E N D

Presentation Transcript


  1. บทที่ 6 การวางแผนพัฒนาโครงงานDeveloping a project plan

  2. Developing the project network • • Project network คือเครื่องมือสำหรับการวางแผน , scheduling และติดตามความคืบหนาของ project โดยการพัฒนาจากขอมูลที่ไดจาก WBS และ graphic flow chart ของ project job plan เปนกรอบงานสำหรับ project manager ในการตัดสินใจเกี่ยวกับ time , cost , performance ของ project • • Network จะอธิบายกิจกรรมของ project ลำดับของกิจกรรม ความเกี่ยวของของแตละกิจกรรม เวลาของแตละกิจกรรมตั้งแตเริ่มตนจนถึงสิ้นสุด และกิจกรรมใดที่ใชเวลาที่มากที่สุดที่เรียกวา critical path (วิถีวิกฤต)

  3. From work package to network • Work package จาก WBS นำมาสรางเปนกิจกรรม ในแตละกิจกรรมอาจมีหลาย WP ก็ได รูป 6.1 WBS / Work package to Network

  4. • จากรูป lowest level deliverable คือ circuit board มี cost account (design , production , test , software) แสดงถึง project work , หนวยงานที่รับผิดชอบ , time-phase budget ของแตละ WP ในแตละ cost account อาจมี WP = 1 หรือมากกวา 1 WP การทำ network ตองจัดลำดับของงานทั้งหมดของ WP จากรูปยังบอกดวยวา activity A มี WP D-1-1 , D-1-2 สวนรูปดานลางบอกเวลาที่ใชสำหรับ activity นั้นๆ

  5. Constructing a project network Terminology • Activity : สวนประกอบของ project ซึ่งตองใชเวลา (ทั้งทำงานและรอ) อาจตองการหรือไมตองการ resource มักมี 1 WP หรือมากกวา 1 WP • Merge activity : activity ที่มีมากกวา 1 activity เกิดกอนหนามัน • Parallel activity : activities ที่สามารถเกิดไดในเวลาเดียวกัน (ถาตองการ) • Path : ลำดับที่ตอเนื่องกัน เปน activity ที่ขึ้นแกกัน • Critical path : เสนทางที่ยาวที่สุด ถา activity นี้ delay มีผลทำให project delay ดวย • Event : จุดเวลาที่กิจกรรมเริ่มตนหรือสมบูรณ (ไมใชระยะเวลา) • Burst activity : กิจกรรมที่มีมากกวา 1 กิจกรรมมาตามหลัง

  6. Two approaches • 1. Activity-on-node (AON) – ใช node เปนตัวแสดงกิจกรรม • 2. Activity-on-arrow (AOA) – ใช arrow เปนตัวแสดงกิจกรรม

  7. Basic rules to follow in developing project networks 1. network เริ่มจากซายไปขวา 2. กิจกรรมจะยังเริ่มไมไดจนกวากิจกรรมที่อยูติดกันกอนหนานั้นเสร็จสิ้น 3. ลูกศรใน network หัวลูกศรเปนตัวชี้วามากอน และไหลออกที่ปลาย ลูกศรสามารถตัดกันได 4. แตละกิจกรรมมีตัวเลขหรือเอกลักษณแสดง 5. ตัวเลขกิจกรรมตองมีคามากกวากิจกรรมที่มีมากอน 6. ไมใหมีการวน loop 7. ไมใหมีการระบุเงื่อนไข (หามมีคำตอไปนี้ : ถาสำเร็จ – ทำ ... , ถาไมสำเร็จ – ไมตองทำอะไร) 8. ถามีจุดเริ่มตนหลายจุด common start node สามารถใชระบุการเริ่มตน project บน network ไดอยางชัดเจน ในทำนองเดียวกัน single project end node สามารถแสดงถึงการจบไดอยางชัดเจน

  8. Activity-on-node (AON) fundamentals : precedence diagram method รูป 6.2 Activity-on-node Network Fundamentals

  9. ความสัมพันธของแตละกิจกรรม 1. กิจกรรมใดที่ตองเสร็จกอนกิจกรรมนี้ กิจกรรมนั้นๆ เรียกวา predecessor activity 2. กิจกรรมใดที่ตองทำตามหลังกิจกรรมนี้ กิจกรรมนั้นๆ เรียกวา successor activity 3. กิจกรรมใดที่สามารถเกิดในขณะที่กิจกรรมนี้เกิด กิจกรรมนั้นๆ เรียกวา concurrent or parallel activity

  10. • รูป 6.2A – A ตองเสร็จกอน B จึงจะเริ่มได และ B ตองเสร็จกอน C จึงจะเริ่มได • รูป 6.2B – Y , Z ยังเริ่มตนไมไดจนกวา X จะเสร็จ , Y ,Z อาจเกิดพรอมหรือไมพรอมกันก็ได โดย Y,Z เปน parallel จำนวนลูกศรเปนตัวบอกวามีกิจกรรมกี่อยางที่ตามหลังมัน • รูป 6.2C – J, K , L สามารถเกิดพรอมกันได (เปน parallel activity) ถาตองการ และ M ยังไมเกิดเมื่อ J , K, L ยังไมเสร็จ M เปน merge activity หรือ milestone • รูป 6.2D – X , Y เปน parallel ที่สามารถเกิดพรอมกันได โดย Z,AA เปน parallel และจะยังเริ่มไมไดจนกวา X จะเสร็จ

  11. ตาราง 6.1 KOLL BUSINESS CENTER County Engineers Design Department

  12. รูป 6.4 เปน complete network - Koll Business Center—Complete Network ใชขอมูลจากตาราง 6.1

  13. Start and finish network computations Network computation process Forward pass – Earliest times 1. How soon can the activity start ? (early start – ES) กิจกรรมเริ่มไดอยางเร็วเมื่อไร 2. How soon can the activity finish ? (early finish – EF) กิจกรรมเสร็จไดอยางเร็วเมื่อไร 3. How soon can the project be finished ? (expected time – TE) project จะเสร็จอยางเร็วเมื่อไร

  14. Backward pass – Latest times 1. How late can the activity start ? (late start – LS) กิจกรรมเริ่มไดอยางชาเมื่อไร 2. How late can the activity finish ? (late finish – LF) กิจกรรมเสร็จอยางชาเมื่อไร 3. activity ใดแสดง critical path (CP) (path ที่ใชเวลานานที่สุด) , activity ใด delay , เมื่อใดจะ delay 4. activity จะ delay นานเทาใด (slack or float – SL)

  15. Forward pass-earliest times ตาราง 6.2 Network Information KOLL BUSINESS CENTER County Engineers Design Department รูป 6.5 เปน Koll Business Center—Complete Network

  16. รูป 6.6 Activity-on-Node Network Forward Pass

  17. • จากรูปอธิบายไดวา early start time ของกิจกรรมแรก (activity A) เปน 0 ดูที่มุมซายดานบนของ activity A node ในรูป 6.6 ตาราง 6.2 แสดง activity times เปนวัน ของ Koll Business

  18. • Activity A ใชเวลา 5 (ES + Dur = EF , 0+5=5) และพบวา A เกิดกอน B, C , D ซึ่งหลังจากที่ A complete แลว (ซึ่งใชเวลา 5 วัน) ดังนั้น ES ของ B , C, D = 5 EF = 20,15,10 ตามลำดับ (EF = ES+Dur) , ES ของ E ควรเปนอะไรระหวาง 20 กับ 15 ตอบ 20 เพราะวา E จะเกิดก็ตอเมื่อ B , C สมบูรณ ซึ่งจะสมบูรณเมื่อเวลาผานไป 20 • ES ของ F ก็ตองเปน 20 (เพราะวาตองรอ B,C,D เสร็จกอน ซึ่งใชเวลา 20,15,10) ทำเชนนี้ไปเรื่อยๆ จนสิ้นสุดที่ H จนได expected time (TE) • สรุปวา forward pass ตองทำดังนี้ 1. ES + Dur = EF 2. เอา EF ไปใสที่ ES ของ activity ถัดไป 3. กรณี merge activity ตองเลือก activity ที่ EF ยาวที่สุดของ predecessor activities

  19. Backward pass-latest times • เริ่มตนจาก activity สุดทาย หา LS และ LF ของแตละ activity กอนคำนวณ backward pass ตองเลือก LF ของ activities สุดทายของ project กอน มักกำหนดใหเทากับ EF ของ activity สุดทายของ project ถามีหลายๆ activity เลือก activity ที่มี EF มากที่สุด โดยรูป 6.7 EF = LF ของ activity H • สรุปวา backward pass ตองทำดังนี้ 1. LF - Dur = LS 2. เอา LS ไปใสที่ LF ของ activity ถัดไป 3. กรณี burst activity ตองเลือก activity ที่ LS ต่ำที่สุดไปเปน LF ของ activity กอนหนานั้น

  20. • จากรูป 6.7 เริ่มที่ H : LF – Dur = LS (235-35=200) เอา 200 ไปเปน LF ของ E , G หา LS ของ E,G เอา LS ไปเปน LF ของ activity กอนหนา โดย F ไปที่ B 20 , C 20 , D 20 E ไปที่ B 185 ที่ B ตองเลือกระหวาง 20 กับ 185 เลือก D 20 แลวทำตอไปเรื่อยๆ

  21. รูป 6.7 Activity-on-Node Network Backward Pass

  22. Determining slack (or float) • เมื่อทำ forward / backward pass แลว มีโอกาสที่จะหาไดวา activity ใดสามารถ delay ได โดยการคำนวณ slack หรือ float โดย • SL = LS – ES หรือ SL = LF – EF • จากรูป 6.8 ได LS ของ D = 10 , G = 0 , C = 5 • Total slack บอกถึงจำนวนเวลาที่กิจกรรมของ project สามารถที่จะ delay ได , ES ของ activities ทั้งหมดที่ตามมาใน chain จะ delay และ slack จะลดลง • การใช total slack จะตองรวมมือกับผูที่เขารวมทั้งหมดของ activity ใน chain • หลังจากที่หา slack ของแตละ activity ได ก็จะหา critical path ได ซึ่งจะมี LF=EF หรือ slack =0 (SL = LF-EF = 0 , SL = LS-ES =0) • Critical path คือ network path ที่มี slack นอยที่สุด •รูป 6.8 critical path จะเปนเสนประ คือ A B F G H ปกติ critical activity มี ~10% ของกิจกรรมของ project

  23. รูป 6.8 Activity-on-Node Network Backward Pass

  24. Level of detail for activities • การกำหนด level of detail ควรลดใหสั้นลงทั้ง project ขนาดใหญและเล็ก เพราะถามีมากก็เปลือง OH cost Extended network techniques to come closer to reality • Laddering • เมื่อกิจกรรมหนึ่งอาจใชเวลานานๆ และอาจมีผลทำใหกิจกรรมอื่นๆ ที่ตามมาเกิดการ delay ได นิยมทำแบบ laddering เชนการวางทอ ที่มีกิจกรรม 3 อยาง คือ ขุด วางทอ กลบ ดังรูป 6.12

  25. 6.12 Example of Laddering Using Finish-to-Start Relationship

More Related