1 / 34

การใช้งานฐานข้อมูล Web of Science

การใช้งานฐานข้อมูล Web of Science. โดย จิรวัฒน์ พรหมพร. jirawat@book.co.th. แผนกฝึกอบรมฐานข้อมูล. บริษัท บุ๊ค โปรโมชั่น แอนด์ เซอร์วิส จำกัด. โครงการพัฒนาเครือข่ายระบบห้องสมุดในประเทศไทย (ThaiLIS). ปรับปรุงครั้งล่าสุด 15/12/51. สารบัญ. Web of Science คืออะไร การลงทะเบียน ( Register)

koen
Télécharger la présentation

การใช้งานฐานข้อมูล Web of Science

An Image/Link below is provided (as is) to download presentation Download Policy: Content on the Website is provided to you AS IS for your information and personal use and may not be sold / licensed / shared on other websites without getting consent from its author. Content is provided to you AS IS for your information and personal use only. Download presentation by click this link. While downloading, if for some reason you are not able to download a presentation, the publisher may have deleted the file from their server. During download, if you can't get a presentation, the file might be deleted by the publisher.

E N D

Presentation Transcript


  1. การใช้งานฐานข้อมูลWeb of Science โดย จิรวัฒน์ พรหมพร jirawat@book.co.th แผนกฝึกอบรมฐานข้อมูล บริษัท บุ๊ค โปรโมชั่น แอนด์ เซอร์วิส จำกัด โครงการพัฒนาเครือข่ายระบบห้องสมุดในประเทศไทย (ThaiLIS) ปรับปรุงครั้งล่าสุด 15/12/51

  2. สารบัญ • Web of Science คืออะไร • การลงทะเบียน (Register) • การเข้าใช้ Web of Science • หน้าจอหลักของ Web of Science • วิธีการสืบค้นเอกสาร • Search • Cited Reference Search • หน้าแสดงผลลัพธ์ (Search Results) • Marked List • พิมพ์/อีเมล์/บันทึก/ดาวน์โหลดรายการบรรณานุกรม • Search History • Log Out

  3. Content เป็นฐานข้อมูลบรรณานุกรมและสาระสังเขปพร้อมการอ้างอิงและอ้างถึง ที่ครอบคลุมสาขาวิชาหลักทั้งวิทยาศาสตร์ สังคมศาสตร์ และ มนุษยศาสตร์ จากวารสารประมาณ 9,200 รายชื่อ ให้ข้อมูลตั้งแต่ปี 2001 - ปัจจุบัน

  4. Register/Sign In คลิกปุ่ม Register

  5. Register/Sign In ระบุ E-mail Address ที่จะใช้งาน แล้วคลิก Continue

  6. Register พิมพ์ข้อมูลสำหรับการลงทะเบียน และคลิกปุ่ม Submit Registration

  7. แสดงสถานะการ Log in เฉพาะบุคคล

  8. หน้าจอหลักของ Web of Science สามารถเลือกวิธีการสืบค้นข้อมูลภายใน Web of Science ได้โดย 1. คลิกที่ Search เมื่อต้องการค้นด้วยคำสำคัญภายในส่วนต่างๆ ของเอกสาร เช่น ชื่อเรื่อง ชื่อผู้แต่ง ชื่อสิ่งพิมพ์ เป็นต้น 2. คลิกที่ Cited Reference Search เมื่อต้องการค้นหาชื่อผู้แต่ง หรือ ชื่อสิ่งพิมพ์ที่ปรากฏอยู่ในรายการอ้างอิง (reference) ของบทความวารสาร 1 2

  9. การสืบค้นโดยแถบเมนู Search 1. พิมพ์คำหรือวลี 2. ระบุเขตข้อมูลที่ต้องการสืบค้น เช่น Topic, Title, Author, Publication Name, Address เป็นต้น 3. ระบุคำเชื่อมหากมีคำค้นมากกว่า 1 คำ 4. คลิกที่ Change Limits and Settings เพื่อเลือกช่วงเวลาตีพิมพ์ของเอกสารจากส่วน Timespan และ เลือกฐานข้อมูลที่จะใช้ในการสืบค้นจากส่วน Citation Databases 5. คลิก Search 1 2 3 5 4

  10. 2 หน้าแสดงผลลัพธ์ของ Search 1 1. แสดงจำนวนผลลัพธ์ที่พบ 2. สืบค้นเฉพาะภายในรายการผลลัพธ์ปัจจุบัน จากส่วน Search within resultsfor เพื่อจำกัดผลลัพธ์ให้แคบลง โดยพิมพ์คำหรือวลี เช่น packag* และคลิกที่ปุ่ม Search

  11. 3 หน้าแสดงผลลัพธ์ของ Search (ต่อ) 3. ผลลัพธ์ที่ได้จากการสืบค้นเดิม สามารถทำการปรับปรุง หรือ กรองรายการผลลัพธ์ให้แคบลงได้จากส่วน Refine Results โดยเลือกรูปแบบในการแสดงผล เช่น Subject Areas, Document Types, Authors, Source Titles, Publication Years, Institutions, Languages, Countries/Territories - คลิกเครื่องหมายถูกหน้าหัวเรื่องที่ต้องการ หรือ คลิกที่ more options/values เพื่อแสดงหัวเรื่องทั้งหมด จากนั้นคลิกที่ Refine เพื่อแสดงผล

  12. หน้าแสดงผลลัพธ์ของ Search (ต่อ) Analyze Results:เป็นการวิเคราะห์จากผลลัพธ์ที่ได้ปัจจุบัน ซึ่งจะเป็นประโยชน์ในการจำแนกผลลัพธ์ที่มีจำนวนมากตามกลุ่มของข้อมูลที่สนใจ เช่น จำแนกตามหัวเรื่อง (Subject) ชื่อสิ่งพิมพ์ หรือ ชื่อวารสาร (Source Title) เป็นต้น คลิกที่ปุ่ม เพื่อทำการวิเคราะห์ผลลัพธ์

  13. 1. เลือกเขตข้อมูลที่ใช้เป็นเกณฑ์ในการวิเคราะห์และจำแนก ได้แก่ Author : ชื่อผู้แต่ง Country/Territory: ประเทศ Document Type: ประเภทของเอกสารInstitution Name: ชื่อสถาบัน Language: ภาษาต้นฉบับ Publication Year: ปีที่พิมพ์ Source Title: ชื่อสิ่งพิมพ์ Subject Area: กลุ่มหัวเรื่อง 2. Analyze: เลือกจำนวนบทความที่จะทำการวิเคราะห์ 3. Set display options: ตั้งค่าการแสดงจำนวนผลลัพธ์ และจำนวน records ขั้นต่ำที่ให้พบ 4. Sort by: การจัดเรียงลำดับผลลัพธ์ 5. คลิกที่ปุ่ม เพื่อทำการวิเคราะห์ หน้าแสดงการวิเคราะห์ผลลัพธ์: Analyze Results 4 1 2 3 5

  14. 6 หน้าผลลัพธ์จากการวิเคราะห์ผลลัพธ์: Analyze Results (ต่อ) 6. ผลลัพธ์การวิเคราะห์จะจำแนกการแสดงข้อมูลตามคอลัมน์ดังนี้ Field: แสดงข้อมูลตามเขตข้อมูลที่เลือก Record Count: แสดงเป็นจำนวน Records ที่พบ % of xxx: แสดงสัดส่วนการพบจากจำนวน Records โดยคิดเป็นเปอร์เซ็นต์ Bar Chart: แสดงผลลัพธ์เป็นแผนภูมิแท่ง 7. คลิกที่ช่องหน้ารายการผลลัพธ์ที่ต้องการ โดยสามารถเลือกได้มากกว่าหนึ่งรายการ จากนั้น คลิกที่ View Records เพื่อแสดงข้อมูลเป็นรายการบทความ 8. คลิกที่ปุ่ม Save Analysis Data to File เพื่อจัดเก็บข้อมูลที่วิเคราะห์ 8 7

  15. หน้าแสดงผลลัพธ์ของ Search (ต่อ) Sort by: การจัดเรียงลำดับรายการผลลัพธ์ตาม Latest Date: วันที่ตีพิมพ์ล่าสุด Times Cited : จำนวนครั้งที่ได้รับการอ้างถึง Relevance: ตามความเกี่ยวข้องกับคำค้น First Author: ชื่อผู้แต่งลำดับแรก Source Title: ชื่อของสิ่งพิมพ์ Publication Year: ปีที่ตีพิมพ์

  16. หน้าแสดงผลลัพธ์ของ Search (ต่อ) ในหน้าการแสดงผลลัพธ์ จะแสดงข้อมูลที่สำคัญดังนี้ 1. ข้อมูลบรรณานุกรมของแต่ละบทความ คลิกที่ชื่อเรื่อง เพื่อเข้าดูข้อมูลของบทความโดยละเอียด ดังตัวอย่าง คลิกที่บทความลำดับที่ 2 2. จำนวนครั้งที่บทความนี้ได้รับการอ้างถึง คลิกที่ตัวเลขของ Times Cited เพื่อดูบทความที่อ้างถึง ดังเช่นตัวอย่าง คลิกที่ 43 3. คลิกที่ปุ่ม Full Text เพื่อเชื่อมโยงไปยังฐานข้อมูลที่มีการบอกรับ เพื่อเข้าดูบทความฉบับเต็ม 1 2 3

  17. หน้าแสดงรายละเอียดบทความหน้าแสดงรายละเอียดบทความ ประกอบไปด้วยข้อมูลที่สำคัญดังนี้ 1. Title : ชื่อเรื่อง 2. Author: ผู้แต่ง ซึ่งสามารถเรียกดูรายการบทความอื่นๆที่เป็นผลงานของผู้แต่งคนนี้โดยคลิกไปที่ชื่อผู้แต่งแต่ละคน 3. Source: ชื่อสิ่งพิมพ์ 4. Time Cited: จำนวนครั้งที่ได้รับการอ้างถึงจากบทความอื่นซึ่งสามารถคลิกเพื่อเรียกดูได้ 5. References: สามารถคลิกเพื่อดูรายการอ้างอิงที่ใช้ 6. Abstract: บทคัดย่อ 7. Language: ภาษาต้นฉบับ 8. Document Type: ประเภทสิ่งพิมพ์ 9. Author Keywords: คำสำคัญของบทความ 10. Keywords Plus: คำสำคัญที่พบบ่อยจาก Title ของรายการอ้างอิง 10. Addresses: ที่อยู่ของผู้แต่ง 11. Publisher: สำนักพิมพ์ 12. Subject Category: หัวเรื่องของบทความ

  18. 2 หน้ารายการอ้างอิง: Cited References ประกอบไปด้วยส่วนต่างๆดังนี้ 1. บรรณานุกรมของบทความหลัก คลิกที่ชื่อเรื่อง เพื่อกลับไปยังหน้าของบทความหลัก 2. รายการอ้างอิงที่ใช้ของบทความหลัก 1

  19. 2 หน้ารายการบทความที่อ้างถึง: Citing Articles ประกอบไปด้วยส่วนต่างๆดังนี้ 1. บรรณานุกรมของบทความหลัก ที่ได้อ้างถึง คลิกที่ชื่อเรื่อง เพื่อกลับไปยังหน้า ของบทความหลัก 2. จำนวนรายการบทความที่อ้างถึงบทความหลักในข้อ 2 1

  20. 2 หน้ารายการบทความที่ใช้รายการ อ้างอิงเดียวกัน : Related Records 1 ประกอบไปด้วยส่วนต่างๆ ดังนี้ 1. บรรณานุกรมของบทความหลัก คลิกที่ชื่อเรื่อง เพื่อกลับไปยังหน้าของบทความหลัก 2. จำนวนรายการบทความที่ใช้รายการอ้างอิงเดียวกันกับบทความหลักในข้อ 2 โดยแต่ละบทความจะมีตัวเลขแสดงจำนวนรายการอ้างอิงเดียวกันในคอลัมน์ Shared Refs

  21. Cited Reference Search 1. Cited Author: พิมพ์นามสกุล หรือ ตามด้วยอักษรแรกของผู้แต่งที่ต้องการค้นหา เช่น warren 2. Cited Work: พิมพ์อักษรย่อของชื่อสิ่งพิมพ์ หรือ คลิกที่ journal abbreviation list เพื่อตรวจอักษรย่อจากรายการของชื่อสิ่งพิมพ์ 3. Cited Year: พิมพ์ปี หรือช่วงของปีที่ตีพิมพ์ 4. คลิกที่ปุ่ม Search เพื่อดำเนินการสืบค้น 1 2 3 4

  22. 1 หน้าผลลัพธ์ของCited Reference Search ประกอบไปด้วยส่วนต่างๆ ดังนี้ 1. Select: คลิกที่ช่องหน้า Record ที่ต้องการเลือกได้มากกว่าหนึ่ง และคลิกที่ปุ่ม Finish Search เพื่อเรียกดูรายการบทความที่อ้างถึง (Citing Article) 2. Cited Author: รายชื่อผู้แต่งที่ได้รับการอ้างอิง 3. Cited Work: ชื่อของสิ่งพิมพ์ ซึ่งสามารถเรียกแสดงชื่อเรื่องไปพร้อมกันด้วยคลิกที่ Show Expanded Titles 4. Year: ปีที่พิมพ์ 5. Volume : เลข Volume 6. Page: เลขหน้า 7. Citing Articles: จำนวนบทความที่อ้างถึง 8. View Record : คลิกที่ View Record ในรายการที่ปรากฏเพื่อดูข้อมูลโดยละเอียด 7 8 4 5 6 3 2

  23. หน้าผลลัพธ์ของCited Reference Search (ต่อ) Show Expanded Titles

  24. 1 Marked List บรรณานุกรมของแต่ละบทความในรายการผลลัพธ์ ผู้ใช้สามารถเลือกจัดเก็บบทความที่ต้องการได้ เพื่อจัดการบทความภายหลัง โดย 1. คลิกเลือกหน้ารายการที่ต้องการ 2. คลิกที่ Add to Marked List เพื่อจัดเก็บเอกสาร 2

  25. 3 Marked List 3. คลิกที่ Marked List เพื่อดูรายการเอกสารที่จัดเก็บ

  26. 5 Marked List 4 4. เลือกรูปแบบข้อมูลที่ต้องการ 5. เลือกรูปแบบการจัดการ เช่น Print, Email, Save หรือ Save to EndNote

  27. 2 1 Print/ E-mail/ Save/ Export to Reference Software บรรณานุกรมของแต่ละบทความในรายการผลลัพธ์ ผู้ใช้สามารถเลือกจัดการบทความที่ต้องการได้โดย 1. คลิกเลือกหน้ารายการที่ต้องการ 2. เลือกรูปแบบการจัดการ เช่น Print, Email, Save to EndNote Web, Save to EndNote หรือ คลิกที่ more options เพื่อเพิ่มทางเลือกในการจัดการ

  28. Print/ E-mail/ Save/ Export to Reference Software จากการคลิกที่ More Options สามารถเลือกจัดการผลลัพธ์ได้ในส่วนช่อง Output Recordsโดย 1. กำหนดรายการบทความที่ต้องการตามรายละเอียดใน Slide ก่อน 2. กำหนดรูปแบบข้อมูลที่ต้องการ 3. เลือกรูปแบบการจัดการบทความ ได้แก่ สั่งพิมพ์ ส่งอีเมล์ บันทึกข้อมูลในรูปแบบต่างๆ ถ่ายโอนไป EndNote Web ถ่ายโอนไป EndNote, RefMan, Procite 1 2 3

  29. Print

  30. E-mail

  31. Save

  32. Search History

  33. Log Out เลิกใช้งานทุกครั้งให้คลิกที่ปุ่ม Log Out

  34. Web of Science

More Related