1 / 28

ศาสนพิธีเบื้องต้น

ศาสนพิธีเบื้องต้น. ศาสน พิธี คือแนวทางหรือแบบแผนการปฏิบัติงานทางศาสนา ประกอบด้วย พิธีการ พิธีกรรม และศา สนพิธีกร พิธีการ คือ ระเบียบ ลำดับขั้นตอน แนวทาง ในการปฏิบัติพิธีกรรม พิธีกรรม คือ การประกอบพิธี เช่น การเจริญพระพุทธมนต์ จุดธูปเทียน

konane
Télécharger la présentation

ศาสนพิธีเบื้องต้น

An Image/Link below is provided (as is) to download presentation Download Policy: Content on the Website is provided to you AS IS for your information and personal use and may not be sold / licensed / shared on other websites without getting consent from its author. Content is provided to you AS IS for your information and personal use only. Download presentation by click this link. While downloading, if for some reason you are not able to download a presentation, the publisher may have deleted the file from their server. During download, if you can't get a presentation, the file might be deleted by the publisher.

E N D

Presentation Transcript


  1. ศาสนพิธีเบื้องต้น • ศาสนพิธี คือแนวทางหรือแบบแผนการปฏิบัติงานทางศาสนา ประกอบด้วย พิธีการ พิธีกรรม และศาสนพิธีกร • พิธีการ คือ ระเบียบ ลำดับขั้นตอน แนวทาง ในการปฏิบัติพิธีกรรม • พิธีกรรม คือ การประกอบพิธี เช่น การเจริญพระพุทธมนต์ จุดธูปเทียน การอาราธนาศีล การทอดผ้า การพิจารณาผ้าบังสุกุล • พิธีกร คือ บุคคลผู้ที่ทำหน้าที่ในพิธีกรรม เช่น การเชิญเทียนชนวน การอาราธนาศีล อาราธนาพระปริตร ฯลฯ

  2. งานออกเอกสารเชิญผู้เกี่ยวข้องงานออกเอกสารเชิญผู้เกี่ยวข้อง งานร่างคำกล่าวต่าง ๆ งานจัดทำกำหนดการของงาน งานจัดเตรียมความพร้อม

  3. การจัดรูปแบบพิธี งานมงคล งานอวมงคล งานอวมงคล + งานมงคล • การเริ่มประกอบพิธี การเชิญประธานพิธี • การดำเนินการพิธี การจัดลำดับขั้นตอนพิธี

  4. ศาสนพิธีกร • คุณสมบัติของศาสนพิธีกร คือ มีความรู้ความสามารถดี มีความรอบคอบ มีความละเอียดแม่นยำ มีปฏิภาณไหวพริบ • หน้าที่ของศาสนพิธีกร คือ ควบคุม ดูแล แนะนำ เผยแพร่ ปฏิบัติ ในเรื่องงานศาสนพิธี • มารยาทของศาสนพิธีกร คือ การรู้จักเวลา การรู้จักสถานที่ รู้จักบุคคล รู้จักการปฏิบัติตนในพิธี

  5. รูปแบบการจัดศาสนพิธี • การจัดแบบงานพระราชพิธี แบบงานพระราชกุศล แบบงานพระบรมราชานุเคราะห์ งานเสด็จพระราชดำเนิน • การจัดแบบรัฐพิธี หรือแบบทางราชการ • การจัดแบบท้องถิ่น หรือแบบชาวบ้าน

  6. ประเภทของศาสนพิธี • กุศลพิธี การทำความดีสำหรับตนเอง เช่น การเวียนเทียน • บุญพิธี การทำบุญ มีบุญงานมงคลกับบุญงานอวมงคล • ทานพิธี การถวายทานต่าง ๆ มีทานที่ถวายเจาะจงกับสังฆทาน • ปกิณกพิธี พิธีการเบ็ดเตล็ด พิธีการเล็กน้อย พิธีที่ไม่เข้ากับข้างต้น

  7. โครงสร้างศาสนพิธี • การเตรียมการ คือ เตรียมสถานที่ เตรียมอุปกรณ์ เตรียมบุคลากร เตรียมกำหนดการ เตรียมวันและเวลา • การปฏิบัติการ คือ ปฏิบัติก่อนพิธี เช่น วงสายสิญจน์ ตั้งโต๊ะหมู่ จัดขันน้ำมนต์ จัดภูษาโยง จัดธูปเทียนบูชา จัดมอบงานให้แต่ละคน ปฏิบัติระหว่างพิธี เช่น การเชิญเทียนชนวน การจุดธูปเทียนบูชา การอาราธนาต่าง ๆ การจุดเทียนทำน้ำมนต์ การเลี้ยงพระ การถวายจตุปัจจัยไทยธรรม การลาดการเก็บภูษาโยง การกรวดน้ำ การเชิญขันน้ำมนต์ เชิญพานแป้งเจิม • การสรุปงาน คือ การดูแลความเรียบร้อยหลังเสร็จพิธี และการประเมินผลการปฏิบัติศาสนพิธี

  8. การเตรียมการ • เตรียมสถานที่ • เตรียมอุปกรณ์ • เตรียมบุคลากร • เตรียมกำหนดการ • เตรียมวันและเวลา

  9. เตรียมสถานที่ • กว้างขวาง เพียงพอในการรับรองผู้มาร่วมงาน • สะดวก ในการเดินทาง การใช้สถานที่ • สะอาด ไม่มีสิ่งรบกวน และปลอดภัย • เหมาะสม เหมาะกับงานที่จะจัด

  10. เตรียมอุปกรณ์ • อุปกรณ์ทั่วไป • อุปกรณ์เฉพาะพิธี

  11. การจัดโต๊ะหมู่บูชา • โต๊ะหมู่พิธีสงฆ์งานมงคล งานอวมงคล • โต๊ะหมู่งานประชุม อบรม สัมมนา • โต๊ะหมู่ถวายราชสักการะ งานรับเสด็จฯ งานพระกฐินพระราชทาน • โต๊ะหมู่งานศพต่าง ๆ

  12. เตรียมบุคลากร • พระสงฆ์ • ประธานพิธี • ศาสนพิธีกร • โฆษก และประชาสัมพันธ์ • ผู้ร่วมงาน

  13. เตรียมกำหนดการ • งานธุรการในพิธี • กำหนดการ หมายกำหนดการ • การเขียนกำหนดการ บัญชีพระสงฆ์

  14. หมายกำหนดการ

  15. กำหนดการ

  16. กำหนดการงานเสด็จพระราชดำเนินกำหนดการงานเสด็จพระราชดำเนิน

  17. การเขียนกำหนดการช่วงต้น

  18. การเขียนกำหนดการช่วงกลาง

  19. การเขียนกำหนดการช่วงท้ายการเขียนกำหนดการช่วงท้าย

  20. เตรียมวันเวลา • วันที่จะจัดงาน • เวลาเริ่มต้น เวลาสิ้นสุด • เวลาที่เป็นฤกษ์ • เวลาบังคับ (เวลาพระฉันเพล)

  21. การปฏิบัติการก่อนเริ่มพิธีการปฏิบัติการก่อนเริ่มพิธี • จัดโต๊ะหมู่ อาสน์สงฆ์ ชุดน้ำ กระโถน กระดาษเช็ดมือ • ขันน้ำมนต์ ที่พรมน้ำมนต์ เทียนส่องธรรม ธูปเทียนแพ • วงสายสิญจน์ จัดภูษาโยง เครื่องทองน้อย พัดรอง • เตรียมที่กรวดน้ำ จตุปัจจัยไทยธรรม • จัดธูปเทียนบูชา เทียนชนวน ไฟแช้ก เชื้อชนวน สำลี

  22. การปฏิบัติการระหว่างพิธีการปฏิบัติการระหว่างพิธี • จุดธูปเทียนบูชา จุดเทียนทำน้ำมนต์ จุดธูปเทียน เครื่องทองน้อย จุดเทียนส่องธรรม • อาราธนาศีล อาราธนาพระปริตร อาราธนาธรรม • การถวายข้าวพระพุทธ การจัดและการถวายอาหาร ถวายจตุปัจจัยไทยธรรม การลาดภูษาโยง ทอดผ้า บังสุกุล การประเคน การปวารณาจตุปัจจัย

  23. การปฏิบัติการระหว่างพิธีการปฏิบัติการระหว่างพิธี • -การเชิญที่กรวดน้ำ • -การเริ่มเทน้ำ และนำน้ำกรวดไปเท • -ข้อควรระวังในการกรวดน้ำ • -การเชิญขันน้ำพระพุทธมนต์

  24. การปฏิบัติการหลังเสร็จพิธีการปฏิบัติการหลังเสร็จพิธี • การเชิญประธานพิธีลาพระ • การส่งพระสงฆ์กลับวัด • การดับธูปเทียน และการจัดเก็บเครื่องใช้ • การประเมินผลการปฏิบัติงาน

  25. การสรุปงาน • ถูกต้องตามแบบแผนหรือไม่ ? • รวดเร็วหรือไม่ ? • ราบรื่นหรือไม่ ? • เรียบร้อยถูกจุดมุ่งหมายหรือไม่ ?

  26. สวัสดีครับ

More Related