1 / 67

การติดเชื้อในสถานบริการสาธารณสุข

นิยามและเกณฑ์การพิจารณา. การติดเชื้อในสถานบริการสาธารณสุข. หรือการติดเชื้อในโรงพยาบาล. รวบรวมโดย นางพรหมจรรย์ ปาปะขี พยาบาลวิชาชีพ ( ICN ). 14 มกราคม 2552. การติดเชื้อในสถานบริการสาธารณสุข / ในโรงพยาบาล. ความหมาย :.  ภาวะผิดปกติของร่างกายที่เกิดจากเชื้อโรค หรือ toxin ของเชื้อ

krysta
Télécharger la présentation

การติดเชื้อในสถานบริการสาธารณสุข

An Image/Link below is provided (as is) to download presentation Download Policy: Content on the Website is provided to you AS IS for your information and personal use and may not be sold / licensed / shared on other websites without getting consent from its author. Content is provided to you AS IS for your information and personal use only. Download presentation by click this link. While downloading, if for some reason you are not able to download a presentation, the publisher may have deleted the file from their server. During download, if you can't get a presentation, the file might be deleted by the publisher.

E N D

Presentation Transcript


  1. นิยามและเกณฑ์การพิจารณานิยามและเกณฑ์การพิจารณา การติดเชื้อในสถานบริการสาธารณสุข หรือการติดเชื้อในโรงพยาบาล รวบรวมโดย นางพรหมจรรย์ ปาปะขี พยาบาลวิชาชีพ (ICN) 14 มกราคม 2552

  2. การติดเชื้อในสถานบริการสาธารณสุข / ในโรงพยาบาล ความหมาย: ภาวะผิดปกติของร่างกายที่เกิดจากเชื้อโรค หรือ toxin ของเชื้อ โรค อาจทำให้เกิดภาวะผิดปกติเฉพาะที่ หรือ ทั้งกาย โดยขณะเข้า รับการรักษาในโรงพยาบาลนั้นไม่มีอาการ หรือไม่ได้อยู่ในช่วง ระยะฟักตัวของเชื้อโรคนั้นๆ อาการมักแสดงภายหลัง 48 ชั่วโมง หรือกว่านั้น หลังรับไว้รักษา

  3. ความหมาย:  การติดเชื้อที่เกิดตามหลังจากการให้บริการรักษาพยาบาล และ บริการอื่น ๆ ในสถานบริการสาธารณสุข / ร.พ ไม่ว่าอาการ หรือ อาการแสดงของการติดเชื้อนั้นจะเกิดขึ้นในสถานที่นั้นหรือไม่ก็ตาม การติดเชื้อที่เกิดกับบุคลากรการแพทย์และสาธารณสุข จากจุลชีพซึ่งได้รับจากสถานบริการสาธารณสุข/ รพ.

  4. การเฝ้าระวังการติดเชื้อในผู้ป่วยมีคำถามที่ต้องตอบอยู่ 3 ข้อ 1. มีอาการและอาการแสดงของการติดเชื้อหรือไม่ ? 2. เป็นการติดเชื้อที่ตำแหน่งใดของ ร่างกาย ? 3. เป็นการติดเชื้อใน รพ. (nosocomial infection) หรือไม่ ? ใช้นิยาม ใช้เกณฑ์การพิจารณา

  5. นิยามที่ใช้ต้องมีลักษณะนิยามที่ใช้ต้องมีลักษณะ มีความแม่นตรง (validity) และความไว (sensitivity) มีความน่าเชื่อถือ (reliability) ชัดเจน สั้น กระชับ ทำความเข้าใจ และแปลผลง่าย ได้ผลเหมือนกันทุกครั้ง ไม่ว่าผู้ใช้นิยาม คือใคร และในสถานการณ์ใด เปรียบเทียบกับนิยามจากแหล่งอื่นได้ (compatability) เพื่อ ประโยชน์ในการเปรียบเทียบข้อมูลระหว่างกัน ปฏิบัติได้( feasibility)

  6. หลักเกณฑ์ในการพิจารณาหลักเกณฑ์ในการพิจารณา การติดเชื้อใน รพ. 1. ผู้ป่วยมีอาการติดเชื้อหลังรับไว้แต่ไม่ทราบระยะฟักตัว ของเชื้อนั้นๆ ให้นับเป็นการติดเชื้อใน รพ. เมื่อ :- 1.1 ผู้ป่วยเข้ารับการรักษานานเกิน 48 ชั่วโมง

  7. หลักเกณฑ์การพิจารณาการติดเชื้อใน รพ. (ต่อ) 1.2 ผู้ป่วยที่มีการติดเชื้อภายหลังได้รับหัตถการ/ใส่เครื่องมือ ในตำแหน่งนั้นๆ ภายใน 7 วัน 1.3 ผู้ป่วยที่มีการติดเชื้อภายหลังได้รับการผ่าตัดในตำแหน่ง นั้นๆ ภายใน 30 วัน 1.4 ผู้ป่วยที่มีการติดเชื้อภายหลังได้รับการปลูกถ่าย สิ่งแปลกปลอมไว้ในร่างกายนั้นๆ ภายใน 1 ปี 1.5 ผู้ป่วยที่เกิดบาดแผล Traumatic wound มาจากชุมน้อยกว่า 6 ชั่วโมง เกิดมีการติดเชื้อหลังรับไว้ใน รพ. ใน 48 ชั่วโมง

  8. หลักเกณฑ์การพิจารณาการติดเชื้อใน รพ. (ต่อ) 2. การติดเชื้อที่เกิดจากเชื้อในตัวผู้ป่วยเอง ขณะผู้ป่วยอยู่ใน รพ. เกิดมีอาการของการติดเชื้อนั้นๆ ขึ้นหลังจากอยู่ใน รพ. นานเกิน 48 ชั่วโมง 3. ผู้ป่วยที่ติดเชื้อใน รพ. อยู่เดิม 1 อย่าง แล้วเกิดการติดเชื้อ ใน รพ. ชนิดใหม่อีกอย่างในที่เดิมถือว่า เชื้อตัวใหม่นี้เป็น การติดเชื้อใน รพ. ตัวใหม่

  9. หลักเกณฑ์การพิจารณาการติดเชื้อใน รพ. (ต่อ) 4. ผู้ป่วยอาจมีอาการติดเชื้อจากชุมชนอยู่หนึ่งเชื้อ ๆ เดียวกันนี้ ไปเกิดในตำแหน่งใหม่ขณะอยู่ใน รพ. เชื้อเดิมที่เกิดใน ตำแหน่งใหม่นี้เป็นการติดเชื้อใน รพ. 5. เชื้อที่มาจากชุมชน ถ้ามีการดื้อยาที่สูงขึ้นจะถือว่าเป็น เชื้อตัวใหม่ที่เกิดใน รพ. เมื่อผู้ป่วยมีอาการเลวลง หรือ ช่วงเวลาการส่งเพาะเชื้อห่างกันพอสมควร

  10. หลักเกณฑ์การพิจารณาติดเชื้อใน รพ. (ต่อ) 6. เด็กแรกคลอดใน รพ. ทุกคน ถ้ายังไม่กลับบ้านเกิดมี การติดเชื้อขึ้น ถือเป็นการติดเชื้อใน รพ. รวมทั้งที่ติดเชื้อ จากช่องทางคลอดขณะคลอด แม้ว่ามารดาจะมีการติดเชื้อ มาก่อนเข้า รพ. ก็ตาม ยกเว้นการติดเชื้อผ่านทางรก

  11. 1. การติดเชื้อตำแหน่งผ่าตัด (Surgical Site Infection, SSI) • Incisional SSI • Superficial Incisional SSI • Deep Incisional SSI • Organ / Space SSI

  12. Supericial incisional SSI Skin Subcutaneous tissue Deep soft tissue fascia & muscle Deep incisional SSI Organ / space Organ / space SSI

  13. Surgical Patient Infection 1. Wound infection การติดเชื้อแผลผ่าตัด 2. Regional extension การติดเชื้อลุกลามเฉพาะที่ 3. Organ or visceral การติดเชื้อที่อวัยวะที่ทำผ่าตัด infection 4. Systemic infection : การติดเชื้อในระบบไหลเวียนเลือด remote coexisting หรือระบบอื่นนอกตำแหน่ง ผ่าตัด or complicating infection 1 2 3 รวมเป็น Surgical site infections (SSI)

  14. 1.1 Superficial incisional SSI การติดเชื้อของผิวหนังและไขมันใต้ผิวหนังบริเวณแผลผ่าตัด (skin and subcutaneous tissue)เกิดขึ้นภายใน 30 วันและต้อง มีอย่างน้อย1 ใน 4 ข้อต่อไปนี้ 1. หนองไหลจากชั้นผิวหนัง หรือไขมันใต้ผิวหนัง 2. ของเหลวจากแผลเพาะเชื้อให้ผลบวก 3. อย่างน้อยต่อไปนี้ของอาการแสดงของการติดเชื้อร่วมกับ 3.1 แผลปวด หรือ กดเจ็บ (pain,tenderness) 3.2 แผลบวม (local swelling) แดง ร้อน 4. ศัลยแพทย์ตัดไหมในชั้นผิวหนัง และไขมันใต้ผิวหนังก่อน เวลาอันควร *ให้การวินิจฉัย superficial SSI*

  15. 1.2 Deep incisional SSI เป็นการติดเชื้อที่ลุกลามหรือเกิดขึ้นในชั้นของพังผืด และชั้นกล้ามเนื้อ (fascia and muscular layer)เกิดขึ้นภายใน 30 วันหลังผ่าตัด หรือ 1ปี ในกรณีที่มีการใส่อุปกรณ์และต้องมีอย่างน้อย ¼ ข้อต่อไปนี้ 1. มีหนองไหลจากชั้นที่ลึกกว่าชั้นไขมันใต้ผิวหนัง 2. แผลในลึกกว่าไขมันใต้ผิวหนังแยก หรือศัลยแพทย์แหวก แผลเอง *โดยที่ผู้ป่วยมีอาการอย่างน้อย 1 ในอาการแสดงเหล่านี้ ไข้ (>38 ) ปวดบริเวณแผล (localize pain) กดเจ็บ (tenderness) 3. เป็นฝีหรือมี evidence ที่บ่งชี้ว่าการติดเชื้อนั้นลุกลาม หรือเกิดขึ้นในชั้นที่ลึกกว่าชั้นใต้ผิวหนังไม่ว่าจะพบโดยวิธีใด 4. ให้การวินิจฉัยโดยแพทย์

  16. 1.3 Organ / Space SSI การติดเชื้อเกิดขึ้นที่ organ หรือ space ใดๆที่เกี่ยวข้องกับการผ่าตัดนั้นๆ โดยที่การติดเชื้อนั้นมีขอบเขตที่กว้างกว่าตำแหน่งแผลผ่าตัด เกิดขึ้นภายใน 30 วันหลังผ่าตัดหรือ 1 ปีในกรณีที่ใส่อุปกรณ์ และต้องมีอย่างน้อย ¼ ข้อต่อไปนี้ 1 .มีหนองไหลจาก drain ที่วางผ่าน stab wound (แผลdrain) ที่วาง อยู่ใน space/organ นั้น 2. สามารถเพาะแยกเชื้อจาก discharge หรือ tissue จาก organ/space นั้น 3.พบฝีหรือ evidence ของ infection ที่ involve organ/space ไม่ว่า จะพบ โดย PE,Re-operation 4.ให้การวินิจฉัยโดยแพทย์

  17. TYPE OF WOUND CODE 01= Clean • ไม่มีอันตรายต่อเนื้อเยื้อมาก่อน • ไม่มีการติดเชื้อที่บริเวณผ่าตัด • ไม่ผ่าผ่านทางเดินหายใจ ,อาหาร ,ปัสสาวะ หรืออวัยวะสืบพันธุ์ • ไม่มีความผิดพลาดในกรรมวิธีปลอดเชื้อระหว่างผ่าตัด • แผลผ่าตัดที่เตรียมการไว้ล่วงหน้า เมื่อผ่าตัดเสร็จเย็บปิดแผลไม่ใส่ท่อระบาย หรือใส่ท่อระบบปิด เช่น craniotomy herniorhaphy mastectomy

  18. TYPE OF WOUND CODE 02= Clean Contaminated • ผ่าตัดผ่านเนื้อเยื่อที่ช้ำ ผ่าผ่านทางเดินหายใจ หรือทางเดินอาหารทางเดินปัสสาวะ หรืออวัยวะสืบพันธุ์ • ใส่ท่อระบายระบบเปิด • มีความผิดพลาดในกรรมวิธีปลอดเชื้อเล็กน้อยระหว่างผ่าตัด เช่น tonsillectomy,pharyngectomy appendectomy ผ่าตัดท่อทางเดินน้ำดี

  19. TYPE OF WOUND CODE 03= Contaminated • ผ่าผ่านบริเวณที่มีการอักเสบที่ยังไม่มีหนอง • แผลผ่าตัดที่ผ่าภยันตรายที่เกิดใหม่ๆ (ไม่เกิน6 ชั่วโมง) • ปนเปื้อนสารคัดหลั่งจากทางเดินอาหาร, ทางเดินหายใจทางเดินปัสสาวะ

  20. TYPE OF WOUND CODE 04= Dirty • แผลผ่าตัดผ่านแผลภยันตรายที่ได้รับมานานแล้ว (เกิน6 ชั่วโมง) • ผ่าตัดช่องท้องกรณีที่มีการทะลุของอวัยวะภายใน • ผ่าตัดบริเวณที่มีการติดเชื้อที่เป็นหนอง, มีเนื้อตาย

  21. Operative Procedure Classifications 1.Clean - Alveolar Bone Graft-donor site - Biopsy or Excision of Nodes - Burr holes for Pneumoencephalogram orVenticulogram - Chalazion and Conjunctival Cyst(non-infected) - Cirrcumcision - Closure of Clean Wound Dehiscence - Craniotomy for Hematoma or Turmor

  22. Operative Procedure Classifications 1.Clean(ต่อ) -Elective eye surgery,Routine ptosis,Cataract Extraction -Elective Neurosurgery - Excision Cystic Hygroma - Excision of Ganglion or Nodules - Excision of Intervertebral Disk - Excision of Nevus,Mole,etc. -Exploratory Laparotomy -Exstrophy(first stage) -Herniorrhapy(Umbilical,Inquinal)

  23. Operative Procedure Classifications 1.Clean (ต่อ) -Heart-Open or Closed - Insertion of Deep Line Hyperal - Laparoscopy -Lysis of Adhesions -Mastectomy or Mamoplasty -Mediastinoscopy -Omphalocele-Intact -Operations on Muscles, Tendons, Fascia and Bursa -Orchiectomy -Orchiopexy

  24. Operative Procedure Classifications 1.Clean (ต่อ) -Otoplasty -Pacemaker Insertion -Parathyroidectomy -Penile Prosthesis -Pin Removal -Pyloromyotomy -Radical Neck without entry to the Respiratory Tract -Reconstructive Orthopedic surgery -Reopening of Wounds for Hemostasis

  25. Operative Procedure Classifications 1.Clean (ต่อ) -Skin Graft-donor site and recipient site for Clean Wounds -Splenectomy -Stapedectomy -Thyroidectomy -V-P Shunt -VeinSripping or Ligation -Y-Z Plasty (depending on site)

  26. 2.Clean contaminated(An entry made into an organ or organ system which leads to the outside of the body) -Amputation for Dry Gangrene -Abdomino-Perineal Resection -Appendectomy -Cesarean Section -Cholecystectomy, CBDE(No infection) -Cleft Palate and Cleft Lip Repair -Colostomy Closure

  27. 2.Clean contaminated(ต่อ) • -Dental Restorations • -Dilation and Curettage of Uterus (no infection present) • -Episiotomy • -Epispadius, Hypospadius • -Excision Dermoid Cyst and Sinus • -Exstrophy (second stage) • -Gastrostomy

  28. 2.Clean contaminated(ต่อ) • -Hemorrhoidectomy • -Hysterectomy (abd., Vag.) • -Intra Oral or Intra Nasal Procedures • -Ligation and Division of Fallopian Tubes • -Lobectomy or Pneumonectomy or Thoracotomy • -Mastoidectomy • -Meatotomy-Meatoplasty

  29. 2.Clean contaminated(ต่อ) • -Myringotomy with Tubes • -Nasal Polypectomies • -Nephrostomy • -Nephrectomy-Urine Sterile at Surgery • -Omphalo Mesenteric Duct • -Omphalocele-stage closure • -Oophorectomy, Salpingo-oophorectomy

  30. 2.Clean contaminated(ต่อ) • -Open Lung Biosy • -Panendoscopy • -Pilonidal Cysts-not infected • -Pneumonectomy for Neoplasm • -Prostatectomy TUR, Suprapubic, Urine not infected • -Radical Neck with entry into Respiratory Tract or Oral Cavity • -Rectal Wall Biopsy

  31. 2.Clean contaminated(ต่อ) • -Resection of Small Intestine or Colon (no infection or gross spillage) • -Rhinoplasty • -Shirodkar • -Septoplasty • -Steven’s Procedure • -T&A

  32. 2.Clean contaminated(ต่อ) • -TE Fistula • -Tear Duct Probing • -Tryroglossal Duct Cysts • Tip Rhinnoplasty • -Tracheotomy • -Tympanoplasty • -Tympanotomy

  33. 2.Clean contaminated(ต่อ) • -Ureteral Lithotomy-via Cysto or Incision • -Ureteral Reimplant • -Urethroplasty • -Vaginoplasty • -Zenker’s Diverticulum-not on VA’s

  34. 3. Contaminated use Clean ContaminatedList Procedure was complicated by: • 1.Acute inflamation without pus formation. • 2.Gross spillage form gastrointestinal tract. • 3.Entrance genitourinary or biliarytract in presence of infected bile or urine.

  35. 4.Dirty • -Amputation for Wet Gangrene • -Appendectomy with Peritonitis or Perforation • -Appendiceal Abscess • -Burn Debridement • -Excision of Nail,e.g., Ingrown • -I&D of any Abscess • -Lacerations or Traumatic Wounds

  36. 4.Dirty(ต่อ) • -Nephrectomy-Bacteriuria at surgery • -Omphalocele-Peritonium Ruptureed • -Operation for Perforated Viscus(Perforated ulcer,bowel) • -Pilonidol Cyst –infected • -Second Stage Closure of Infected Wounds • -Skin Graft to Infected Site

  37. Specific Site of Organ/Space Surgical Site Infection • -Arterial or Venus Infection • -Breast Abscess or Mastitis • -Disc space • -Ear,Mastoid • -Endrometritis • -Endrocarditis • -Eye ,other than Conjunctivitis

  38. Specific Site of Organ/Space Surgical Site Infection(ต่อ) • -Gastrointestinal tract • -Breast Abscess or Mastitis • -Intraabdominal,not specific elsewhere • -Intracranial,brain, or dural infectious abscess • -Joint or bursa • -Mediastinitis • -Meningitis or Ventriculitis

  39. Specific Site of Organ/Space Surgical Site Infection(ต่อ) • -Myocarditis or Pericarditis • -Oral cavity(mouth,tongue or gums) • -Osteomyelitis • -Other infections of the lower respiratory tract • -Other infections of the urinary tract • -Other male or female reproductive tract

  40. Specific Site of Organ/Space Surgical Site Infection(ต่อ) • -Spinal Abscess without meningitis • -Sinusitis • -Upper respiratory tract,pharyngitis • -Vaginal cuff Reference: อะเคื้อ อุณหเลขกะ.การป้องกันการติดเชื้อในโรงพยาบาล.พิมพ์ครั้งที่ 6.2548.(หน้า220-225)

  41. 2. Urinary Tract Infection 2.1 Symptomatic UTI มีลักษณะ 1 ข้อต่อไปนี้ :- 2.1.1 อาการ หรือ อาการแสดงของการติดเชื้อ ระบบปัสสาวะ 1 อย่าง ร่วมกับเพาะพบเชื้อใน ปัสสาวะ > 10 4 col / ml 3 และพบเชื้อ ไม่เกิน 2 ชนิด

  42. 2.1 Smptomatic UTI (ต่อ) 2.1.2 เด็กอายุ < 1 ปี มีอาการหรืออาการแสดงของ การติดเชื้อระบบปัสสาวะ 1 อย่าง ร่วมกับเพาะ พบเชื้อในปัสสาวะ >10 5 col /ml 3 และพบเชื้อ ไม่เกิน 2 ชนิด 2.1.3 อาการ หรืออาการแสดงของการติดเชื้อระบบ ปัสสาวะ 2 อย่าง ร่วมกับ 1 ข้อ ต่อไปนี้ :- - leukocyte esterase หรือ nitrite ให้ผลบวก - pyuria ( > 10 WBC / ml3 > 3 WBC / HPF ในปัสสาวะไม่ปั่น)

  43. 2.1 Symptomatic UTI (ต่อ) - พบจุลชีพจาก gram stain ในปัสสาวะไม่ปั่น - พบเชื้อก่อโรคเดียวกัน > 102 col / ml3 2 ครั้ง ในปัสสาวะจากการสวน - พบจุลชีพชนิดเดียว> 105col / ml3 ในผู้ป่วยได้ รับยาต้านจุลชีพ - แพทย์วินิจฉัย - แพทย์ให้ยาต้านจุลชีพที่เหมาะสม

  44. 2.1 Symptomatic UTI (ต่อ) 2.1.4 เด็กอายุ <1 ปี มีอาการ หรือ อาการแสดงของ การติดเชื้อระบบปัสสาวะ 1 อย่าง ร่วมกับ :- - leukocyte esterase หรือ nitrite ให้ผลบวก - pyuria ( > 10 WBC / ml3 > 3 WBC / HPF ในปัสสาวะไม่ปั่น) - พบจุลชีพจาก gram stain ในปัสสาวะไม่ปั่น - พบเชื้อก่อโรคเดียวกัน > 102 col / ml3 2 ครั้ง ในปัสสาวะจากการสวน หรือเจาะดูดจากเหนือ หัวเหน่า

  45. 2.1 Symptomatic UTI (ต่อ) - พบจุลชีพชนิดเดียว> 105col / ml3 ในผู้ป่วยได้ รับยาต้านจุลชีพ - แพทย์วินิจฉัย - แพทย์ให้ยาต้านจุลชีพที่เหมาะสม

  46. 2.2 Asymptomatic bacteriuria วินิจฉัยจาก :- 2.2.1 คาสายสวนปัสสาวะ ภายใน 7 วันก่อนเพาะเชื้อ และพบเชื้อในปัสสาวะ >10 5 col/ml 3 2 ครั้ง และไม่มีอาการ 2.2.2 ไม่คาสายปัสสาวะภายใน 7 วัน พบเชื้อเดียวกัน ในปัสสาวะ >10 5 col/ml 3 2 ครั้ง และไม่มี อาการ

  47. 3. Pneumonia วินิจฉัยจาก :- 3.1. RALE หรือ เคาะทึบที่ทรวงอกร่วมกับ 1 ข้อ ต่อไปนี้ :- - เสมหะข้นเป็นหนองซึ่งเกิดใหม่หรือเปลี่ยนลักษณะ - เพาะเชื้อจากเลือดพบจุลชีพ - แยกเชื้อก่อโรคได้จากสิ่งส่งตรวจที่เก็บโดย transtracheal aspirate, bronchial brushing หรือ biopsy

  48. 3. Pneumonia(ต่อ) วินิจฉัยจาก :- 3.2. X-RAY พบ infiltration, consolidation, cavitation หรือ pleural effusion ใหม่ หรือเป็นมากขึ้นร่วมกับ :- - เกณฑ์วินิจฉัย ข้อ 3.1 - เเยกพบเชื้อไวรัส หรือ ตรวจพบ viral antigen จากสารคัดหลั่งทางระบบหายใจ - ตรวจพบภูมิต้านทานต่อเชื้อก่อโรคชนิด Ig M 1 ครั้ง หรือ Ig G 2 ครั้ง มีระดับขึ้นสูง 4 เท่า - ตรวจพบปอดอักเสบทางพยาธิวิทยา

  49. 3. Pneumonia(ต่อ) 3.3. เด็กอายุ <1 ปี มีอาการ หรือ อาการแสดง 2 อย่าง : apnea, tachypnea, bradycardia, wheezing, rhonchi หรือไอ หรือ 3.4 เด็กอายุ < 1 ปี X-RAY พบ infiltration, consolidation, cavitation หรือ pleural effusion ใหม่ หรือเป็นมากขึ้น และ 1 ข้อ ต่อไปนี้ - มีสารคัดหลั่งทางระบบหายใจมากขึ้น

  50. 3. Pneumonia(ต่อ) - เสมหะข้น เป็นหนองซึ่งเกิดใหม่หรือเปลี่ยนลักษณะ - เพาะพบเชื้อจากเลือด หรือ ตรวจพบภูมิต้านทานต่อ เชื้อก่อโรคชนิด Ig M 1 ครั้ง หรือ Ig G 2 ครั้ง มีระดับขึ้นสูง 4 เท่า - แยกเชื้อก่อโรคได้จากสิ่งส่งตรวจที่เก็บโดย transtracheal aspirate, bronchial brushing หรือ biopsy - แยกพบเชื้อไวรัส หรือ ตรวจพบ viral antigen จาก สารคัดหลั่งทางระบบหายใจ - ตรวจพบปอดอักเสบทางพยาธิวิทยา

More Related