1 / 36

หอผู้ป่วยศัลยกรรมชาย

หอผู้ป่วยศัลยกรรมชาย. โรงพยาบาลนครปฐม. นวัตกรรม. ปลอดภัย ลดความเสี่ยง เพิ่มความสะดวกสบาย. ด้วยอุปกรณ์ช่วยหัก Amp ยา. Safety Modern Cutter. อุปกรณ์ช่วยสวมปลอกเข็ม. Healthy Needle Box.

Télécharger la présentation

หอผู้ป่วยศัลยกรรมชาย

An Image/Link below is provided (as is) to download presentation Download Policy: Content on the Website is provided to you AS IS for your information and personal use and may not be sold / licensed / shared on other websites without getting consent from its author. Content is provided to you AS IS for your information and personal use only. Download presentation by click this link. While downloading, if for some reason you are not able to download a presentation, the publisher may have deleted the file from their server. During download, if you can't get a presentation, the file might be deleted by the publisher.

E N D

Presentation Transcript


  1. หอผู้ป่วยศัลยกรรมชาย โรงพยาบาลนครปฐม

  2. นวัตกรรม ปลอดภัย ลดความเสี่ยง เพิ่มความสะดวกสบาย ด้วยอุปกรณ์ช่วยหัก Amp ยา Safety Modern Cutter อุปกรณ์ช่วยสวมปลอกเข็ม Healthy Needle Box

  3. * หนึ่งในประเด็นคุณภาพปี 53 เน้นเรื่องความปลอดภัยการสร้างความมั่นใจส่งผลให้เกิดความเชื่อมั่นเกิดความไว้วางใจในบริการที่ได้รับ * อุบัติการณ์การถูกเข็มทิ่มตำปี 52 = 24 ครั้ง / ปี * อุบัติการณ์การถูก Amp ยาบาดปี 52 = 20 ครั้ง / ปี

  4. ประเด็นคุณภาพปี53 เน้นความปลอดภัย เจ้าหน้าที่พยาบาล AID คนงาน ผู้ป่วย ญาติผู้ป่วย นวัตกรรม เกิดผลกระทบ/ความสูญเสีย ด้านร่างกาย/จิตใจ/สังคม/เศรษฐกิจ เจาะเลือดเตรียม/ฉีดยาให้ IV/เลือด กิจกรรมที่มีการใช้เข็ม ภาระงานมาก/เร่งรีบ ขาดความตระหนัก ไม่ปฏิบัติตามมาตรฐาน จบใหม่ สาเหตุการเกิดอุบัติการณ์เข็มทิ่มตำ/ของมีคมบาด

  5. หอผู้ป่วยศัลยกรรมชาย ได้ตระหนักถึงความสำคัญของโอกาสเสี่ยงที่อาจจะเกิดอุบัติการณ์เข็มทิ่มตำ / ของมีคมบาด ของบุคลากร ผู้ป่วยและญาติจึงได้คิดอุปกรณ์ช่วยหัก Ampยา , อุปกรณ์ช่วยสวมปลอกเข็มขึ้น เพื่อเป็นการพัฒนาประสิทธิภาพการปฏิบัติงาน ตอบสนองนโยบาย Safe for allของโรงพยาบาล

  6. วัตถุประสงค์

  7. เป็นการค้นหาความเสี่ยง ตอบสนองนโยบายปี2553ของโรงพยาบาล เน้นความปลอดภัย • เพื่อลดความเสี่ยงป้องกันการเกิดอุบัติการณ์การบาดเจ็บจากเข็มทิ่มตำ,ของมีคมบาดในเจ้าหน้าที่ ผู้ป่วยและญาติ • เพื่อเพิ่มความปลอดภัย สร้างความมั่นใจไว้วางใจในบริการที่ผู้ป่วยและญาติได้รับจากพยาบาล • เพื่อนำวัสดุเหลือใช้มาประยุกต์ใช้ให้เกิดประโยชน์ • เพื่อให้ผู้ร่วมประชุมมีการตื่นตัวในการป้องกันความผิดพลาดที่อาจจะเกิดขึ้น พัฒนาศักยภาพการปฏิบัติการพยาบาล มุ่งหวังก่อเกิดพฤติกรรมการดูแลด้วยใจและความรัก

  8. วัสดุอุปกรณ์ที่ใช้ในการผลิตวัสดุอุปกรณ์ที่ใช้ในการผลิต

  9. อุปกรณ์ช่วยหัก Ampยา (Safety Modern Cutter) • เศษไม้ • ใบเลื่อย • สว่าน • แล็กเกอร์

  10. อุปกรณ์ช่วยสวมปลอกเข็ม (Healthy Needle Box) • หลอดใส่ยา • สติกเกอร์ • ดินน้ำมัน • ยางยืด • หนามเตย • Cable tile

  11. วิธีดำเนินงาน

  12. BEFORE AFTER

  13. BEFORE AFTER

  14. การประเมินผล

  15. 1. ทำแบบสอบถามความคิดเห็นและประเมินประสิทธิภาพของการใช้อุปกรณ์ช่วยหัก Amp ยา , อุปกรณ์ช่วยสวมปลอกเข็ม

  16. แบบสอบถามความคิดเห็นและประเมินประสิทธิภาพของการใช้ณ์อุปกรณ์ช่วยหัก Amยา , อุปกรณ์ช่วยสวมปลอกเข็ม - ให้ท่านใส่เครื่องหมาย / ในช่องที่ท่านคิดว่าตรงกับความคิดเห็นของท่านมากที่สุด ดีมาก = 5 คะแนน, ดี = 4 คะแนน, ปานกลาง = 3 คะแนน, ไม่ดี = 2 คะแนน, ต้องปรับปรุง = 1 คะแนน

  17. 2.ทำกล่องใส่อุบัติการณ์ เพื่อนำไปวิเคราะห์เปรียบเทียบอุบัติการณ์ การถูกเข็มตำ, ของมีคมบาด,การพบเข็ม/ปลอกเข็มที่พื้น ก่อนและระหว่างการทดลองใช้อุปกรณ์ช่วยป้องกัน รวมทั้งอัตราการติดเชื้อจากการทำงานที่ถูกเข็มตำ,ของมีคมบาด

  18. ผลการประเมิน

  19. 1.จากการตอบแบบสอบถามแบบสอบถามความคิดเห็นและประเมินประสิทธิภาพของการใช้อุปกรณ์ช่วยหัก Amp ยา ,อุปกรณ์ช่วยสวมปลอกเข็มดังแสดงในตารางดังนี้

  20. 2.ผลการพบเข็ม/ปลอกเข็มที่พื้นของเจ้าหน้าที่ก่อนและระหว่างการทดลองลดลงจาก20ครั้ง (เข็ม3) เป็น12 (เข็ม2) , 8 (เข็ม1) , 5 (เข็ม1) ครั้งตามลำดับ 3.ผลการเปรียบเทียบอุบัติการณ์การบาดเจ็บของเจ้าหน้าที่จากเข็มทิ่มตำก่อนและระหว่างการทดลองใช้อุปกรณ์ช่วยสวมปลอกเข็มลดลงจาก 2 เป็น 2 , 1 ,0 ครั้งตามลำดับ 4.ผลการเปรียบเทียบอุบัติการณ์การบาดเจ็บของเจ้าหน้าที่จากของมีคมบาดก่อนและระหว่างการทดลองใช้อุปกรณ์ช่วยหักAmpยา ลดลงจาก 3 เป็น 1 , 0, 0 ครั้ง ตามลำดับ 5.อัตราการติดเชื้อของเจ้าหน้าที่จาการปฏิบัติงานเนื่องจากถูกเข็มทิ่มตำ/ของมีคมบาดก่อนและระหว่างการทดลองใช้อุปกรณ์ช่วยป้องกันเท่ากับ 0

  21. กราฟแสดงการเปรียบเทียบการเกิดอุบัติการณ์เข็มทิ่มตำ/ของมีคมบาดก่อนและหลังการทดลองใช้อุปกรณ์ช่วยป้องกันในแต่ละเดือนกราฟแสดงการเปรียบเทียบการเกิดอุบัติการณ์เข็มทิ่มตำ/ของมีคมบาดก่อนและหลังการทดลองใช้อุปกรณ์ช่วยป้องกันในแต่ละเดือน

  22. สรุปผลการศึกษา

  23. เจ้าหน้าที่มีความพึงพอใจต่อนวัตกรรมใช้งานสะดวก ประดิษฐ์ง่ายสามารถนำกลับมาใช้ใหม่ ต้นทุนถูกคุ้มค่ากับการลงทุน • ลดความเสี่ยง,ป้องกันและลดอุบัติการณ์การบาดเจ็บจากการถูกเข็มทิ่มตำ / ของมีคมบาด • ส่งเสริมให้ผู้รับบริการได้รับความปลอดภัย มั่นใจต่อการบริการที่มีคุณภาพที่ดีจากโรงพยาบาล • ก่อเกิดพฤติกรรมเอื้ออาทรต่อกันและกัน ทั้งกับเพื่อนร่วมงาน ผู้ป่วยและญาติ เป็นพฤติกรรมการดูแลด้วยใจและความรัก

  24. Thank You

More Related