1 / 40

วิทยาลัยการอาชีพเชียงราย

การปฐมนิเทศ. นักศึกษาเทียบโอนความรู้ และประสบการณ์. รุ่นที่ 8 ปีการศึกษาที่ 1/2553. วิทยาลัยการอาชีพเชียงราย. วิทยาลัยการอาชีพเชียงราย. ยินดีต้อนรับ. นักศึกษาเทียบโอนความรู้ และประสบการณ์ ทุกท่าน. ด้วยความยินดียิ่ง. การเทียบโอนผลการเรียนรู้ ( R ecognition of P rior L earning : RPL ).

laith-dunn
Télécharger la présentation

วิทยาลัยการอาชีพเชียงราย

An Image/Link below is provided (as is) to download presentation Download Policy: Content on the Website is provided to you AS IS for your information and personal use and may not be sold / licensed / shared on other websites without getting consent from its author. Content is provided to you AS IS for your information and personal use only. Download presentation by click this link. While downloading, if for some reason you are not able to download a presentation, the publisher may have deleted the file from their server. During download, if you can't get a presentation, the file might be deleted by the publisher.

E N D

Presentation Transcript


  1. การปฐมนิเทศ นักศึกษาเทียบโอนความรู้และประสบการณ์ รุ่นที่ 8 ปีการศึกษาที่ 1/2553 วิทยาลัยการอาชีพเชียงราย

  2. วิทยาลัยการอาชีพเชียงรายวิทยาลัยการอาชีพเชียงราย ยินดีต้อนรับ นักศึกษาเทียบโอนความรู้และประสบการณ์ ทุกท่าน ด้วยความยินดียิ่ง

  3. การเทียบโอนผลการเรียนรู้(Recognition of Prior Learning : RPL)

  4. เป็นการเทียบประสบการณ์เข้าสู่หน่วยกิต ช่วยแก้ปัญหาให้ผู้ประกอบอาชีพพัฒนาสมรรถนะตน จนได้วุฒิ ปวช.หรือ ปวส.ที่มีมาตรฐานแต่ละสาขาวิชาอย่างชัดเจนในระยะเวลาที่น้อยกว่านักเรียน นักศึกษาปกติ ที่ศึกษาในระบบเพียงอย่างเดียว การเทียบโอนผลการเรียนรู้(Recognition of Prior Learning)

  5. - การเทียบโอนความรู้- การเทียบโอนประสบการณ์- การเทียบโอนผลการเรียน- การเทียบระดับการศึกษา เทียบโอน อะไรบ้าง ?

  6. ข้อดีการเทียบโอนผลการเรียนรู้ข้อดีการเทียบโอนผลการเรียนรู้ - มีงานทำ - เรียนต่อ - เป็นผู้ประกอบการรายย่อย - เลื่อนตำแหน่งหน้าที่สูงขึ้น - พัฒนาความรู้ ความสามารถ - อื่น ๆ • - ลดการเรียนซ้ำ • - ประหยัดค่าใช้จ่าย • - ลดเวลาการเดินทาง • - เลือกเรียนได้ตามความต้องการ • - นายจ้าง / คนงาน พึงพอใจทั้งคู่ • ไม่ต้องเสียเวลา และค่าใช้จ่าย • ฝึกอบรมคนใหม่

  7. ผู้ขอรับการประเมิน • นักเรียน นักศึกษา ปวช. หรือ ปวส. ในสถานศึกษา • ผู้ที่มีความรู้และประสบการณ์วิชาชีพ (>= 3 ปี)

  8. คุณสมบัตินักเรียน นักศึกษา ที่ขอรับการประเมิน • เรียน ปวช. หรือ ปวส. ในสถานศึกษา • มีพื้นความรู้และประสบการณ์ในรายวิชา/กลุ่ม วิชาที่ขอประเมิน • มีหลักฐานที่แสดงถึงความรู้และประสบการณ์

  9. คุณสมบัติผู้ที่มีความรู้และประสบการณ์คุณสมบัติผู้ที่มีความรู้และประสบการณ์ • มีประสบการณ์งานอาชีพ • ฝึกงานในสถานฝึกอาชีพ อย่างน้อย 3 ปี • ทำงานในอาชีพนั้น • มีความรู้ในรายวิชาตามหลักสูตรก่อนเข้าเรียน

  10. เงื่อนไขการขอรับการประเมินเงื่อนไขการขอรับการประเมิน • ขอประเมินเทียบโอนความรู้และประสบการณ์ ไม่เกิน 2 ใน 3 ของหน่วยกิตตามโครงสร้าง หลักสูตร • ผู้ที่ประเมินแล้วไม่ผ่านเกณฑ์ สามารถลงทะเบียนเรียนในภาคเรียนนั้น หรือ ขอรับการประเมินใหม่ในภาคเรียนต่อไป

  11. ขั้นตอนการเทียบโอนความรู้และประสบการณ์ขั้นตอนการเทียบโอนความรู้และประสบการณ์ หน้าที่นักเรียนนักศึกษา • นักเรียนนักศึกษายื่นคำร้อง • รับการประเมินเบื้องต้น • ลงทะเบียนเทียบโอนความรู้และประสบการณ์ • นักเรียนนักศึกษาเข้ารับการประเมิน

  12. ขั้นตอนการเทียบโอนความรู้และประสบการณ์ขั้นตอนการเทียบโอนความรู้และประสบการณ์ หน้าที่สถานศึกษา • ตั้งคณะกรรมการประเมินเบื้องต้น • ตั้งคณะกรรมการประเมินความรู้ประสบการณ์ • รับลงทะเบียนเทียบโอนความรู้และประสบการณ์ • ประเมินนักเรียนนักศึกษาใช้วิธีและเครื่องมือที่หลากหลาย • พิจารณาตัดสินผลการประเมินมีต่ำกว่าร้อยละ 50 ในแต่ละวิชา

  13. วิธีการประเมิน • การประเมินเบื้องต้น • การประเมินความรู้และประสบการณ์ • การให้ค่าระดับผลการประเมิน • การประเมินเป็นกลุ่ม / รายบุคคล

  14. การประเมินเบื้องต้น • การสัมภาษณ์เบื้องต้น - ความรู้ /ทักษะ ประสบการณ์ ผลงาน ฯ • หลักฐานจากทางราชการ / สถานประกอบการ เช่น วุฒิบัตร เกียรติบัตร หนังสือรับรอง การเป็นผู้บรรยาย หรือวิทยากร รูปถ่ายกิจกรรม/ผลงาน

  15. หลักฐานการประเมิน - ถ้าเป็นภาคเอกชน ต้องประกอบการถูกต้องตามกฎหมาย - หลักฐานอายุไม่เกิน 5 ปีนับถึงวันขอประเมิน หรืออยู่ในดุลพินิจของสถานศึกษา - รายวิชาที่จำนวนชั่วโมงปฏิบัติงาน/ฝึกอบรม ไม่น้อยกว่าจำนวนชั่วโมงของรายวิชาในหลักสูตร - มีสมรรถนะหรือเนื้อหาสาระที่สอดคล้อง กับรายวิชา/กลุ่มวิชา ไม่น้อยกว่าร้อยละ 60

  16. เครื่องมือวัดและประเมินผลการเรียนเครื่องมือวัดและประเมินผลการเรียน • แบบทดสอบปากเปล่า ( Oral Test ) • แบบทดสอบข้อเขียน ( Paper and Pencil Test ) • แบบทดสอบภาคปฏิบัติ ( Performance Test )

  17. ข้อสอบแบบเลือกตอบ • แบบหลายตัวเลือก (Multiple Choices ) • แบบถูก - ผิด ( True - False ) • แบบจับคู่ ( Matching ) • แบบตีความ ( Interpretive Exercise )

  18. ข้อสอบแบบเขียนตอบ • แบบตอบสั้นๆ ( Short Answer ) • แบบความเรียงจำกัดคำตอบ ( Essay : Restricted Response ) • แบบความเรียงไม่จำกัดคำตอบ ( Essay : Extended Response )

  19. การตัดสินผลการประเมินการตัดสินผลการประเมิน • ตัดสินผลการประเมินเป็นรายวิชา • ต้องได้คะแนนจากการประเมินไม่ต่ำกว่าร้อยละ 50 • ประเมินทฤษฎี ปฏิบัติ หรือทั้งทฤษฎีและปฏิบัติ • เวลาที่ใช้ในการประเมินไม่น้อยกว่าเวลาเรียน/สัปดาห์ สำหรับรายวิชา หรือ อยู่ในดุลพินิจ • ค่าระดับผลการประเมินใช้ตามระเบียบการประเมินฯ

  20. เงื่อนไขการเทียบโอนผลการเรียนเงื่อนไขการเทียบโอนผลการเรียน • ยื่นคำร้องขอเทียบโอนในภาคเรียนที่ ขึ้นทะเบียนเป็นนักศึกษา • แต่งตั้งคณะกรรมการเทียบโอนผลการเรียน • ต้องศึกษาในสถานศึกษาที่รับเทียบโอนไม่ น้อยกว่า 1 ภาคเรียน

  21. เงื่อนไขการเทียบโอนผลการเรียนเงื่อนไขการเทียบโอนผลการเรียน • อายุผลการเรียนที่จะนำมาเทียบโอนให้อยู่ใน ดุลพินิจของกรรมการ • ผลการเรียนที่ได้รับการเทียบโอนให้คงเดิม หรือผลการประเมินใหม่แต่ไม่สูงกว่าเดิม • สถานศึกษาเป็นผู้ อนุมัติผลการเทียบโอน

  22. วิธีการเทียบโอนผลการเรียนวิธีการเทียบโอนผลการเรียน • หลักสูตรเดียวกัน - รับโอนทุกรายวิชา - ระดับผลการเรียน 1 จะรับโอน หรือ ประเมินใหม่ก่อนรับโอน

  23. วิธีการเทียบโอนผลการเรียนวิธีการเทียบโอนผลการเรียน • หลักสูตรอื่นที่มีลักษณะเดียวกัน หรือ หลักสูตรอื่น ๆ - รายวิชา/กลุ่มวิชาที่มีจุดประสงค์และเนื้อหา ใกล้เคียงกันไม่ต่ำกว่า ร้อยละ 60 - จำนวนหน่วยกิตไม่น้อยกว่าหน่วยกิตของรายวิชาที่รับโอน - ได้ระดับผลการเรียนตั้งแต่ 2 ขึ้นไป อาจรับโอนหรือ ประเมินใหม่

  24. การจัดทำแผนการสอนการประเมินการจัดทำแผนการสอนการประเมิน • ลักษณะกิจกรรม เน้นผู้เรียนเป็นศูนย์กลางให้ผู้เรียนมีส่วนร่วม • เรียนรู้โดยคิดและปฏิบัติจริง • เรียนรู้ร่วมกัน • งานปฏิบัติกำหนดจากสถานการณ์จริง / ใกล้เคียง • จัดประสบการณ์ก่อให้เกิดการบูรณาการความรู้ เน้นการคิดซับซ้อน • จัดประสบการณ์ที่มีความหมายนำไปใช้ได้ในชีวิตจริง

  25. สร้างงานและมาตรฐาน สะท้อนตนเอง นำไปใช้ในชีวิตจริง บูรณาการความรู้ มีความหมาย ประเมินต่อเนื่อง ประเมินหลายวิธี ผลงานมีคุณภาพ เน้นการคิดซับซ้อน เน้นปฏิสัมพันธ์ทางบวก ลักษณะงาน/กิจกรรมการเรียนรู้

  26. โครงการ / โครงงาน งานสถานการณ์จำลอง โปรแกรมคอมพิวเตอร์ บันทึกประจำวัน บันทึกจากทัศนศึกษา งานที่ร่วมกันทำ งานตกแต่ง บันทึกผลการอภิปราย วีดิทัศน์ /การปฏิบัติ งานจริง กิจกรรมและวิธีการรวบรวมข้อมูล

  27. แบบสอบถาม การสัมภาษณ์ การประเมินตนเอง แบบทดสอบ การสังเกต การประเมินจากเพื่อน เครื่องมือและวิธีการรวบรวมข้อมูล

  28. การจัดทำแผนการสอนการประเมินการจัดทำแผนการสอนการประเมิน • ครู อาจารย์ และผู้เรียน ร่วมกันกำหนดสิ่งที่ควรบันทึกและเก็บไว้เป็นหลักฐานสำหรับประเมินผู้เรียน • ตามสภาพจริง เช่น • ผลการเรียนรู้ • ผลงานพร้อมกระบวนการ (ถ้ามี) • เกณฑ์การให้คะแนนที่ชัดเจน

  29. การเรียนการสอนปกติ (+ทวิภาคี) การเรียนการสอน อาชีวศึกษาผ่านระบบเครือข่าย เวลาเรียน ตามเกณฑ์ การใช้หลักสูตร วิธีการสามารถปรับได้ตามความเหาะสม สำหรับนักเรียน นักศึกษาที่มีงานทำ วิธีการจัดการเรียนการสอน

  30. การวางแผนจัดแผนการเรียน(จำนวนคาบเรียน)รายวิชาที่ประเมินไม่ผ่าน และ 1/3 (ที่เหลือ) • จันทร์ – ศุกร์ :5 วัน x 4 ชั่วโมง = 20 ชั่วโมง x 18 สัปดาห์( 1 ภาคเรียน ) • เสาร์ – อาทิตย์ : 2 วัน x 8 ชั่วโมง = 16 ชั่วโมง x 18 สัปดาห์( 1 ภาคเรียน )

  31. หลักการของหลักสูตร ปวส. 2546 พ.ศ.2547 • มุ่งผลิตและพัฒนาแรงงานระดับผู้ชำนาญการเฉพาะสาขาอาชีพตามความต้องการของตลาดแรงงานทั้งในระดับท้องถิ่นและระดับประเทศ • เปิดโอกาสให้ผู้เรียนได้เรียนตามความถนัด ความสามารถ และความสนใจ • เปิดโอกาสให้สถานศึกษาจัดวิธีเรียน วิธีสอนที่หลากหลายสอดคล้องกับสภาพและความต้องการของผู้เรียนและท้องถิ่น • เปิดโอกาสให้มีการถ่ายโอนความรู้และทักษะ โดยให้มีการถ่ายโอนผลการเรียน การเทียบความรู้ และประสบการณ์จากแหล่งวิทยาการ สถานประกอบการและสถานประกอบอาชีพอิสระ • เปิดโอกาสให้สถานศึกษา ชุมชน ท้องถิ่น ทั้งในภาครัฐและภาคเอกชน มีส่วนร่วมในการพัฒนาหลักสูตรและการจัดการศึกษา

  32. โครงสร้างหลักสูตร ปวส. 2546ประเภทวิชาบริหารธุรกิจสาขาวิชาการจัดการทั่วไป 1. หมวดวิชาสามัญ ไม่น้อยกว่า21 นก. 1.1 วิชาสามัญทั่วไป (13 นก.) 1.2 วิชาสามัญพื้นฐานวิชาชีพ (ไม่น้อยกว่า 8 นก.) 2. หมวดวิชาชีพ ไม่น้อยกว่า 58 นก. 2.1 วิชาชีพพื้นฐาน (ไม่น้อยกว่า 15 นก.) 2.2 วิชาชีพสาขาวิชา (ไม่น้อยกว่า 24 นก.) 2.3 วิชาชีพสาขางาน (ไม่น้อยกว่า 15 นก.) 2.4 โครงการ (4 นก.) 3. หมวดวิชาเลือกเสรี ไม่น้อยกว่า 6 นก. 4. ฝึกงาน (ไม่น้อยกว่า 1 ภาคเรียน) 5. กิจกรรมเสริมหลักสูตร (ไม่น้อยกว่า 120 ชม.) รวมไม่น้อยกว่า 85 นก. 3

  33. 3000-2005 –> 2008 กิจกรรม(จัดโดยสถานประกอบการ/สถานศึกษา) จุดประสงครายวิชา เพื่อให 1. รูจักการวางแผนจัดทําโครงการ สามารถเขียนบันทึกรายงาน เสนอแนะใหความเห็น สรุปกิจกรรมโครงการ ประเมินผลตัดสินการแขงขัน และประกวดกิจกรรมตาง ๆ ที่จัดขึ้นได 2. เกิดความรับผิดชอบ ตรงตอเวลา มีความจงรักภักดีตอชาติ ศาสนา พระมหากษัตริย มีบุคลิกภาพที่ดี มีคุณธรรม จริยธรรมทั้งในการประกอบอาชีพและการดํารงชีวิตประจําวัน

  34. 3000-2005 –> 2008 กิจกรรม(จัดโดยสถานประกอบการ/สถานศึกษา) มาตรฐานรายวิชา 1. สามารถวางแผนจัดทําโครงการได 2. เขียนรายงาน เสนอแนะใหความเห็นสรุปกิจกรรมโครงการได 3. สามารถตัดสินการแขงขัน และประกวดกิจกรรมตาง ๆ ได 4. มีความจงรักภักดีตอชาติ ศาสนา พระมหากษัตริย คําอธิบายรายวิชา ใหสถานประกอบการ / สถานศึกษาจัดกิจกรรมตามความเหมาะสมของสภาพและเงื่อนไขของตนเอง เพื่อพัฒนากิจนิสัยผูเรียนใหบรรลุจุดประสงครายวิชา

  35. เอกสารในแฟ้มสะสมผลงานเอกสารในแฟ้มสะสมผลงาน • ใบสมัครติดรูปถ่ายเรียบร้อยแล้ว • สำเนาวุฒิการศึกษา • สำเนาทะเบียนบ้าน • เอกสารอื่น ๆ ที่เกี่ยวข้องกับการเรียน เช่น วุฒิบัตร เกียรติบัตร • บัตรเจ้าหน้าที่ต่าง ๆ • รูปภาพกิจกรรม หรือผลงาน ต่าง ๆ ที่เกี่ยวข้อง • (นำเอกสารฉบับจริงมาให้อาจารย์ที่ปรึกษาตรวจสอบด้วย)

  36. เอกสารในแฟ้มสะสมผลงานเอกสารในแฟ้มสะสมผลงาน • แผนการเรียนประจำตัว • เอกสารชำระเงินค่าลงทะเบียนเรียน • เอกสารการลงทะเบียน • ใบคำร้องขอผ่อนผันค่าลงทะเบียนเรียน (กรณีขอผ่อนผัน) • เอกสารคำอธิบายรายวิชาตามหลักสูตรที่กำหนด • บันทึกการประชุมร่วมกับครูที่ปรึกษาเพื่อนัดหมายต่างๆ • เอกสารการเรียนในบางวิชาที่เตรียมมา

  37. หลักฐานแสดงความรู้และประสบการณ์หลักฐานแสดงความรู้และประสบการณ์ 1) บันทึกประจำวัน ที่แสดงถึงสิ่งที่ผู้สมัครทำเป็นประจำวันทั้งที่บ้าน สถานประกอบการ ฯลฯ 2) แฟ้มสะสมผลงาน (Portfolio) โดยรวบรวมเอกสาร ภาพถ่าย สำเนาเกียรติบัตร วุฒิบัตรจากการศึกษาทั้งในหรือนอกประเทศ การอบรมระยะสั้น รางวัลต่าง ๆ ที่เคยได้รับ 3) หนังสือรับรอง จากนายจ้าง/บุคคลที่เคยทำงานด้วย ชุมชน ซึ่งแสดงถึงการมีความรู้ ทักษะ ความสามารถในด้านอาชีพ

  38. หลักฐานแสดงความรู้และประสบการณ์หลักฐานแสดงความรู้และประสบการณ์ 4) คนรู้จักที่ผู้สมัครสามารถอ้างอิงได้ 5) ชิ้นงานหรือผลงานดีเด่นด้านวิชาการ วิชาชีพ ฯลฯ 6) ผลตอบแทนทางธุรกิจ (ถ้ามี) ผู้รับสมัคร หรือผู้ประสานงานการเทียบความรู้ และประสบการณ์ ต้องตรวจสอบความถูกต้องของหลักฐานที่ผู้ขอเทียบนำมาแสดงให้ถูกต้อง

  39. ผู้ที่สามารถติดต่อสอบถามได้ผู้ที่สามารถติดต่อสอบถามได้ รองผู้อำนวยการฝ่ายวิชาการนางสาวอรพิน ดวงแก้วโทร. 08-1603-0908 งานเทียบโอนความรู้และประสบการณ์โทร. 08-6430-3363 ครูสมชาย เมืองมาโทร. 08-6431-4747

  40. สวัสดี

More Related