1 / 18

ผู้สอน : อาจารย์เล็กฤทัย ขันทองชัย สาขาวิชาคอมพิวเตอร์ธุรกิจ E-mail: lekruthai_CRU@hotMail

สื่อประกอบการเรียนการสอน วิชา BCOM1701 หลักการเขียนโปรแกรมเบื้องต้น Introduction to Basic Programming. ผู้สอน : อาจารย์เล็กฤทัย ขันทองชัย สาขาวิชาคอมพิวเตอร์ธุรกิจ E-mail: lekruthai_CRU@hotMail.com WEBSITE : http://msci.chandra.ac.th/lrk. บทที่ 1 บทนำ. จุดประสงค์การเรียนรู้

lamya
Télécharger la présentation

ผู้สอน : อาจารย์เล็กฤทัย ขันทองชัย สาขาวิชาคอมพิวเตอร์ธุรกิจ E-mail: lekruthai_CRU@hotMail

An Image/Link below is provided (as is) to download presentation Download Policy: Content on the Website is provided to you AS IS for your information and personal use and may not be sold / licensed / shared on other websites without getting consent from its author. Content is provided to you AS IS for your information and personal use only. Download presentation by click this link. While downloading, if for some reason you are not able to download a presentation, the publisher may have deleted the file from their server. During download, if you can't get a presentation, the file might be deleted by the publisher.

E N D

Presentation Transcript


  1. สื่อประกอบการเรียนการสอนวิชา BCOM1701 หลักการเขียนโปรแกรมเบื้องต้นIntroduction to Basic Programming ผู้สอน : อาจารย์เล็กฤทัย ขันทองชัย สาขาวิชาคอมพิวเตอร์ธุรกิจ E-mail: lekruthai_CRU@hotMail.com WEBSITE : http://msci.chandra.ac.th/lrk

  2. บทที่ 1 บทนำ จุดประสงค์การเรียนรู้ • เพื่อให้มีความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับโปรแกรมภาษา โดยเข้าใจหลักของภาษา รูปแบบของโปรแกรมภาษา ตัวแปลภาษา ขั้นตอนในการพัฒนาโปรแกรม และ ประเภทคอมพิวเตอร์องค์ประกอบต่าง ๆ ของระบบคอมพิวเตอร์

  3. บทที่ 1 บทนำ • เนื้อหาบทเรียน • ภาษาคอมพิวเตอร์ • ตัวแปลงภาษา • ขั้นตอนในการพัฒนาโปรแกรม • ประเภทของโปรแกรม • องค์ประกอบของระบบคอมพิวเตอร์ • ประเภทของคอมพิวเตอร์

  4. บทที่ 1 บทนำ • ความรู้เบื้องต้นในการเขียนโปรแกรม • ภาษาคอมพิวเตอร์ (Computer language) ภาษา (Language) เป็นเครื่องมือที่มนุษย์ใช้ในการติดต่อสื่อสารระหว่างกัน ต่างจากภาษาคอมพิวเตอร์ที่มนุษย์คิดค้นขึ้นมาเพื่อใช้ติดต่อสื่อสารกับคอมพิวเตอร์ซึ่งเป็นอุปกรณ์อิเล็กทรอนิกส์ที่ต้องอาศัยสัญญาณไฟฟ้าในการทำงาน

  5. บทที่ 1 บทนำ • ภาษาคอมพิวเตอร์ออกมาเป็น 3 ระดับ คือ • ระดับภาษาเครื่อง (Machine code) • ระดับภาษาแอสเซมบลี (Assembly language) • ภาษาระดับสูง (High-level Languages) รูปที่ 1.1.2 การแปลงจากภาษาแอสเซมบลีไปเป็นภาษาเครื่อง

  6. บทที่ 1 บทนำ • ภาษาระดับสูง (High-level Languages) • ถูกคิดค้นขึ้นมาเพื่ออำนวยความสะดวกในการพัฒนาโปรแกรม โดยรูปแบบของคำสั่งจะใช้คำศัพท์ภาษาอังกฤษอย่างง่าย สัญลักษณ์ทางคณิตศาสตร์ สัญลักษณ์ทางตรรกศาสตร์ สัญลักษณ์ในการเปรียบเทียบ และอื่น ๆ ในการสั่งการและดำเนินการต่าง ๆตามรูปแบบโครงสร้างการใช้งานของตัวภาษา รูปที่ 1.1.3 ลำดับการแปลงคำสั่ง

  7. บทที่ 1 บทนำ ตัวอย่างภาษาระดับสูง:

  8. บทที่ 1 บทนำ ตัวแปลงภาษา (Translator) ตัวแปลงภาษา มีหน้าที่แปลงภาษาระดับสูงของคอมพิวเตอร์ให้กลายไปเป็นภาษาเครื่องที่สามารถทำงานในระดับชุดคำสั่งของซีพียูได้ ตัวแปลงภาษาแบ่งได้ 2 ประเภทตามลักษณะการใช้งาน - คอมไพเลอร์ (Compiler) - อินเตอร์พรีเตอร์ (Interpreter)

  9. บทที่ 1 บทนำ คอมไพเลอร์ (Compiler) คอมไพเลอร์ คือ ตัวแปลงภาษามีหน้าที่แปลงจากโปรแกรมภาษาไปเป็นภาษาเครื่องโดยทันทีซึ่งบางภาษาอาจจะไม่ได้มีการตรวจสอบความถูกต้องของคำสั่งหรือผลลัพธ์ของการสั่งการแปลงภาษา นักพัฒนาโปรแกรมจะต้องแน่ใจว่าโปรแกรมที่ได้เขียนนั้นมีความถูกต้องสมบูรณ์ก่อนจะทำการแปลงไปเป็นภาษาเครื่องและถูกนำไปใช้งานจริงในที่สุด เช่น ภาษา C, C++,FORTRAN, COBOL C, Ada , Objective-C, Objective-C++ เป็นต้น

  10. บทที่ 1 บทนำ อินเตอร์พรีเตอร์ (Interpreter) อินเตอร์พรีเตอร์ คือ ตัวแปลงภาษาที่มีหลักการทำงานเช่นเดียวกับคอมไพเลอร์ แต่จะมีการแปลงและดำเนินการคำสั่งไปทีละคำสั่ง เพื่อใช้ในการตรวจสอบข้อผิดพลาดของตัวโปรแกรมก่อนที่จะถูกแปลงไปเป็นภาษาเครื่องด้วยคอมไพเลอร์ หลายภาษาอาจจะมีตัวแปลงภาษาทั้ง 2 แบบเพื่อใช้ในการพัฒนาโปรแกรม เช่น ภาษา  BASIC ,  Perl, PHP เป็นต้น

  11. บทที่ 1 บทนำ ขั้นตอนการแปลงภาษา

  12. บทที่ 1 บทนำ • ขั้นตอนในการพัฒนาโปรแกรม • การศึกษาขอบเขตปัญหา (Study Problem) • การเก็บรวบรวมข้อมูล (Collecting) • การวิเคราะห์ปัญหา (Analysis Problem) • การออกแบบโปรแกรม (Software Design) • การพัฒนาโปรแกรม (Software Development) • การติดตั้งและทดสอบโปรแกรม (Setting and Testing) • การบำรุงรักษาโปรแกรม (Software Maintenance)

  13. บทที่ 1 บทนำ • ประเภทของซอฟต์แวร์โปรแกรม • โปรแกรมระบบปฏิบัติการ (Operating System: OS) • โปรแกรมสำเร็จรูป (Package Application) • โปรแกรมประยุกต์ (Special Application) • โปรแกรมอรรถประโยชน์ (Utility) • โปรแกรมไดร์เวอร์ (Driver) • โปรแกรมภาษา (Language)

  14. บทที่ 1 บทนำ • องค์ประกอบของระบบคอมพิวเตอร์ • ซอฟแวร์ (Software) • ฮาร์ดแวร์ (Hardware) • บุคลากรทางคอมพิวเตอร์ (People ware) รูปที่ 1.4 แสดงลำดับการทำงานของระบบคอมพิวเตอร์

  15. บทที่ 1 บทนำ • ประเภทของคอมพิวเตอร์ การจำแนกประเภทของคอมพิวเตอร์ อาจจำแนกได้ตามลักษณะการใช้งาน ซึ่งสามารถจำแนกได้ 2 ประเภท คือ • คอมพิวเตอร์แม่ข่าย (Server Computer) เป็นคอมพิวเตอร์สำหรับให้บริการเครื่องลูกข่ายต่างๆ เช่น Web Server, Database Server เป็นต้น • คอมพิวเตอร์ลูกข่าย (Clientcomputer) เป็นคอมพิวเตอร์สำหรับใช้บริการเครื่องแม่ข่าย บางครั้งก็เรียกว่าเครื่องแบบ Work Station เนื่องจากเป็นเครื่องคอมพิวเตอร์สำหรับใช้งานทั่วไป

  16. บทที่ 1 บทนำ จำแนกออกตามขนาดและความเร็วในการทำงานของคอมพิวเตอร์ จำแนกได้ ดังนี้ • ซูเปอร์คอมพิวเตอร์ (Super Computer) • เมนเฟรมคอมพิวเตอร์ (Mainframe Computer) • มินิคอมพิวเตอร์ (Mini Computer) • ไมโครคอมพิวเตอร์ (Micro Computer / PC: Personal Computer) • คอมพิวเตอร์พกพา (Handle Computer / Pocket PC)

  17. กิจกรรมที่ 1 1) ภาษาแรกตามมาตรฐาน ISO ตั้งชื่อเพื่อเป็นเกียรติให้กับโปรแกรมเมอร์คนแรกของโลกอยู่ตำแหน่งใดของภาพ2) ภาษาที่มีความใกล้เคียงกับภาษาเครื่องมากที่สุดอยู่บริเวณตำแหน่งใดของภาพ

  18. แบบฝึกหัดท้ายบทเรียน 1. จงอธิบายว่าภาษาคอมพิวเตอร์มีกี่ระดับอะไรบ้างและภาษาแต่ละระดับมีความสัมพันธ์กันอย่างไร 2. จงอธิบายถึงขั้นตอนการทำงานรวมถึงองค์ประกอบของระบบคอมพิวเตอร์มาให้เข้าใจ 3. จงอธิบายขั้นตอนการแปลงภาษามาให้เข้าใจ 4. จงอธิบายขั้นตอนการพัฒนาโปรแกรมมาให้เข้าใจ 5. เราสามารถแบ่งแยกประเภทคอมพิวเตอร์ออกมาได้อย่างไรบ้างจงอธิบาย 6. ใครเป็นผู้ที่ได้รับการยกย่องว่า เป็น โปรแกรมเมอร์คนแรกของโลก และ เพราะเหตุใด? 7. จงยกตัวอย่างภาษาคอมพิวเตอร์ที่เป็นภาษาระดับสูง คนละ 10 ภาษา พร้อมทั้งบอกข้อดี และข้อจำกัด ของแต่ละภาษามาให้เข้าใจ

More Related