1 / 39

การเตรียมการและการกำหนดท่าทีในการเจรจาต่อรองในระดับสากล

การเตรียมการและการกำหนดท่าทีในการเจรจาต่อรองในระดับสากล. กลุ่ม 1. รายงานที่จะนำเสนอ. องค์การการค้าโลก : สมาคมคนรวยจริงหรือ ( เดือนเด่น นิคมบริรักษ์ , TDRI) มองย้อนหลัง : ไทยได้อะไรมา เสียอะไรไป (กรมเจรจาการค้าระหว่างประเทศ กระทรวงพาณิชย์). รายงานที่จะนำเสนอ (ต่อ).

laura-kane
Télécharger la présentation

การเตรียมการและการกำหนดท่าทีในการเจรจาต่อรองในระดับสากล

An Image/Link below is provided (as is) to download presentation Download Policy: Content on the Website is provided to you AS IS for your information and personal use and may not be sold / licensed / shared on other websites without getting consent from its author. Content is provided to you AS IS for your information and personal use only. Download presentation by click this link. While downloading, if for some reason you are not able to download a presentation, the publisher may have deleted the file from their server. During download, if you can't get a presentation, the file might be deleted by the publisher.

E N D

Presentation Transcript


  1. การเตรียมการและการกำหนดท่าทีในการเจรจาต่อรองในระดับสากลการเตรียมการและการกำหนดท่าทีในการเจรจาต่อรองในระดับสากล กลุ่ม 1

  2. รายงานที่จะนำเสนอ • องค์การการค้าโลก: สมาคมคนรวยจริงหรือ(เดือนเด่น นิคมบริรักษ์, TDRI) • มองย้อนหลัง : ไทยได้อะไรมา เสียอะไรไป (กรมเจรจาการค้าระหว่างประเทศ กระทรวงพาณิชย์)

  3. รายงานที่จะนำเสนอ (ต่อ) • มองไปข้างหน้า: การเจรจารอบใหม่ ไทยจะมีโอกาสได้อะไร และต้องเตรียมพร้อมอย่างไร (กรมเจรจาการค้าระหว่างประเทศ กระทรวงพาณิชย์) • การปฏิรูประบบการเงินระหว่างประเทศ (จันทวรรณ สุจริตกุล, ธนาคารแห่งประเทศไทย)

  4. WTO มีหน้าที่อะไร • WTO เป็นเพียงเวทีการเจรจาการค้าระหว่างประเทศสมาชิก (รัฐต่อรัฐเท่านั้น) • WTO เองไม่มีจุดยืนใดๆ เกี่ยวกับความเหมาะสมหรือเป็นธรรมของข้อตกลงที่เป็นผลมาจากการเจรจาต่อรองของสมาชิกโดยทั้งสิ้น • เมื่อมีความตกลงกันแล้ว WTO เป็นผู้ดูแลให้มีการปฏิบัติตามกฎ กติกาที่ตกลงกัน

  5. แนวคิดต่อต้าน/สนับสนุน WTO ต่อต้าน:WTO เป็นเวทีที่ประเทศร่ำรวยเอาเปรียบประเทศที่ยากจนโดยการกำหนด กฎ กติกาการค้าที่เอื้อประโยชน์แก่ตนเอง จากความแตกต่างของอำนาจต่อรองและทุนทรัพย์ทำให้ประเทศที่ร่ำรวยเป็นผู้นำในการเจรจาตลอดมา

  6. แนวคิดต่อต้าน/สนับสนุน WTO (ต่อ) สนับสนุน: • ปลาใหญ่ย่อมกินปลาเล็กได้เสมอ อย่างน้อยกฎ กติกา พหุภาคี (multilateral rules) มีความโปร่งใสและเป็นธรรมมากกว่ากฎกติกาที่กำหนดขึ้นโดยฝ่ายเดียว (unilateral rules) • โดยโครงสร้างแล้ว WTO เป็นองค์กรระหว่างประเทศที่ให้ความเสมอภาคแก่สมาชิก อย่างน้อยโดยหลักการ (สมาชิกทุกรายมีเสียงเดียว และการดำเนินการต่างต้อง ได้รับฉันทามติ)

  7. WTO เป็นสมาคมคนรวยจริงหรือ? • ผลการเจรจาทางการค้าที่ผ่านมาช่วยลดอุปสรรคกีดกันสินค้าจากประเทศกำลังพัฒนาหรือไม่ • กระบวนการระงับข้อพิพาททางการค้าให้การ คุ้มครองประเทศกำลังพัฒนาหรือไม่ • ประเด็นใหม่ที่มีการผลักดันเข้ามาใน WTO เป็นประโยชน์ต่อประเทศกำลังพัฒนาหรือไม่ • การให้ “การปฏิบัติที่พิเศษ” แก่ประเทศกำลังพัฒนาในกรอบความตกลง WTO เป็นประโยชน์จรงหรือไม่

  8. องค์การการค้าโลก: สมาคมคนรวยจริงหรือ คำถาม: (1) การเจรจาทำให้ประเทศที่ยากจนสามารถส่งสินค้าออกมากขึ้นหรือไม่ (1995 - 2002) • อัตราภาษีศุลกากรของสินค้าเกษตรและสินค้า อุตสาหกรรมที่ใช้แรงงานเข้มข้นต่ำลงในอัตราที่เทียบเคียงกับของสินค้าอุตสาหกรรมอื่นๆ หรือไม่ • แนวโน้มการอุดหนุนสินค้าเกษตรลดลงหรือไม่ • ประเทศกำลังพัฒนาเป็นเป้าของมาตรการต่อต้านการทุ่มตลาดของประเทศพัฒนาแล้วจริงหรือไม่

  9. อัตราภาษีศุลกากรของสินค้าที่ใช้แรงงานเข้มข้นในการผลิตอัตราภาษีศุลกากรของสินค้าที่ใช้แรงงานเข้มข้นในการผลิต

  10. อัตราภาษีศุลกากรสูง (peak tariffs)ของสินค้าที่ใช้แรงงานเข้มข้นในการผลิต

  11. อัตราภาษีศุลกากรของสินค้าเกษตรอัตราภาษีศุลกากรของสินค้าเกษตร

  12. อัตราภาษีศุลกากรของสินค้าที่ใช้แรงงานเข้มข้นในการผลิตอัตราภาษีศุลกากรของสินค้าที่ใช้แรงงานเข้มข้นในการผลิต

  13. Anti-Dumping 1986 - 1998

  14. กรณีข้อพิพาททางการค้ากรณีข้อพิพาททางการค้า LDC ร้องเรียน DC DC vs DC 17% 21% DC ร้องเรียน LDC 8% LDC vs LDC 54%

  15. สรุปแล้ว การเปิดเสรีทางการค้าเอื้อประโยชน์ให้สินค้าจากประเทศอุตสาหกรรมเป็นหลัก

  16. องค์การการค้าโลก: สมาคมคนรวยจริงหรือ (2) การระงับข้อพิพาทให้ความเป็นธรรมแก่ประเทศที่ยากจนหรือไม่ • กระบวนการระงับข้อพิพาทของ WTO เป็นอย่างไรเปิดกว้างต่อสมาชิกทุกรายอย่างเท่าเทียมกันหรือไม่ • ที่ผ่านมาประเทศกำลังพัฒนาใช้ระบบการระงับข้อพิพาทมากน้อยเพียงใด • ผลการตัดสินกรณีข้อพิพาทที่ผ่านมาแสดงว่ากระบวนการระงับข้อพิพาทเบี่ยงเบนไปในลักษณะที่เอื้อประโยชน์ต่อประเทศที่ร่ำรวยหรือไม่

  17. กระบวนการข้อพิพาทของ WTO • ก่อนนำเรื่องเข้ากระบวรการต้องมีการเจรจาไกล่เกลี่ยกันก่อน • การตั้งคณะพิจารณา (panel) และการรับรอง รายงานของคณะพิจารณา เป็นไปโดยอัตโนมัติ ยกเว้นมีฉันทามติคัดค้าน • มีเงื่อนไขของเวลาที่ต้องปฏิบัติตามคำสั่งของ DSU มิฉะนั้น... • ผู้เสียหายมีสิทธิตอบโต้

  18. การเข้าร่วมในกระบวนการระงับข้อพิพาทของประเทศกำลังพัฒนา (1948-94) การเป็นผู้ร้องเรียน การเป็นผู้ถูกร้องเรียน

  19. การเข้าร่วมในกระบวนการระงับข้อพิพาทของประเทศกำลังพัฒนา (1995-2000) การเป็นผู้ร้องเรียน การเป็นผู้ถูกร้องเรียน

  20. ปัญหาของระบบระงับข้อพิพาทปัญหาของระบบระงับข้อพิพาท • มีค่าใช้จ่ายสูง • การตั้ง Advisory Centre ขึ้นมาไม่สามารถช่วยประเทศยากจนได้อย่างเพียงพอ • การใช้มาตรการตอบโต้โดยการเพิกถอนสิทธิประโยชน์ทางการค้าเป็นเครื่องมือในการแก้ไขปัญหาซึ่งเป็นการให้อำนาจประเทศขนาดใหญ่ฝ่ายเดียว

  21. ข้อเสนอของประเทศกำลังพัฒนาข้อเสนอของประเทศกำลังพัฒนา • ให้มีการชดเชยความเสียหาย • ให้สมาชิกสามารถรวมกันตอบโต้ได้ (collective retaliation) • ให้สามารถเลือกวิธีการในการตอบโต้ได้ (cross retaliation)

  22. สรุปแล้ว การระงับข้อพิพาทใน WTO ที่มีค่าใช้จ่ายสูง และ การให้ผู้ เสียหาย “ทวงหนี้เอาเอง”ทำให้ประเทศที่ยากจนและประเทศที่มีอำนาจทาง การค้าต่ำเสียเปรียบ

  23. องค์การการค้าโลก: สมาคมคนรวยจริงหรือ คำถาม: (3) ความตกลงที่มีลักษณะเป็นกฎ กติกาที่กำหนดขึ้น เอื้อประโยชน์ให้แก่ประเทศยากจนหรือไม่ • ประเด็นใหม่ๆ ที่เรียกว่า “behind- the- border issues”เช่น ทรัพย์สินทางปัญญา (TRIPS) มาตรฐานสินค้า อุตสาหกรรม (TBT) และ มาตรฐานสุขอนามัยเหล่านี้ เป็นประโยชน์ต่อประเทศกำลังพัฒนาจริงหรือไม่

  24. ลักษณะของประเด็นใหม่ที่มีการเจรจาใน WTO • ไม่ได้มีการวิเคราะห์ cost benefit analysis • มาตรฐานที่กำหนดขึ้นอิงมาตรฐานของประเทศพัฒนาแล้ว • มีต้นทุนในการนำมาบังคับใช้สูง • มีความซับซ้อนทางเทคนิค ทำให้ประเทศที่ยากจน “ตามไม่ทัน”

  25. สรุปแล้ว หัวข้อที่เป็น “Behind border issues” และลักษณะของความตกลงที่เน้นการสร้างกฎกติกาสากลไม่เอื้อประโยชน์และสร้างต้นทุนให้กับประเทศกำลังพัฒนา

  26. องค์การการค้าโลก: สมาคมคนรวยจริงหรือ คำถาม: (4) ประเทศที่ยากจนได้รับ “แต้มต่อ” อย่างไร ในการเจรจา การให้แต้มต่อแก่ประเทศกำลังพัฒนาในองค์การการค้าโลกมีรูปแบบอย่างไร และสิทธิพิเศษเหล่านี้เป็นประโยชน์แก่ประเทศกำลังพัฒนาจริงหรือไม่

  27. รูปแบบของสิทธิประโยชน์รูปแบบของสิทธิประโยชน์ GATT - GSP TOKYO ROUND • Technical Assistance and Capacity Building • การลดหรือให้ความยืดหยุ่นแก้ข้อผูกพัน • การยกเว้นไม่ต้องปฏิบัติตามข้อผูกพัน URUGUAY ROUND • การยืดระยะเวลาในการปฏิบัติตามข้อผูกพัน

  28. ปัญหาของสิทธิประโยชน์ที่ได้รับปัญหาของสิทธิประโยชน์ที่ได้รับ • ไม่ผูกพัน(เช่นการให้ความช่วยเหลือทางเทคนิค) • ไม่เป็นรูปธรรม (เช่นการกำหนดให้ประเทศพัฒนาแล้วคำนึงถึงความจำเป็นของประเทศกำลังพัฒนาในกรณีที่มีข้อพิพาททางการค้า)

  29. ปัญหาของสิทธิประโยชน์ที่ได้รับ (ต่อ) • ไม่สอดคล้องกับความต้องการ(เช่นการอนุญาตให้ประเทศกำลังพัฒนากำหนดมาตรฐานสินค้า นำเข้าเองได้ ในขณะที่ปัญหาสำคัญคือมาตรฐานสินค้าส่งออก) • ไม่โปร่งใส (เช่น ในกรณีของ GSP ที่ถูกใช้เป็นเครื่องมือในการสร้างแรงกดดันนอกเวทีการเจรจา)

  30. ปัญหาของสิทธิประโยชน์ที่ได้รับ (ต่อ) • มีเงื่อนไขที่เป็นอุปสรรคต่อการใช้สิทธิพิเศษ (เช่น การอนุญาตให้ประเทศที่กำลังพัฒนาสามารถปรับเปลี่ยนอัตราภาษีที่อาจไม่สอดคล้องกับข้อผูกพันเพื่อการพัฒนาอุตสาหกรรมภายในประเทศ แต่เปิดให้การกระทำดังกล่าวถูกตอบ โต้จากผู้ที่ได้รับความเสียหาย)

  31. ประเทศที่พัฒนาแล้วไม่ได้ดำเนินการอย่างจริงจังเพื่อ ลดปัญหาความเหลื่อมล้ำของศักยภาพในการเจรจาต่อรองและระดับของการพัฒนาของสมาชิก

  32. สรุปแล้ว WTO เป็นสมาคมคนรวยจริงในทางปฏิบัติ แต่หากเราไม่เข้าร่วมการเจรจาแล้ว เราจะมีทางเลือก ที่ดีกว่าหรือ ???

  33. การมองย้อนหลัง • ทำไมประเทศไทยจึงตัดสินใจเข้าร่วมการเจรจาพหุภาคีในปี พ.ศ. 2525 • ไทยเป็นเศรษฐกิจเปิด • มีการใช้ AD/CVD เพื่อกีดกันการค้ามากขึ้น • ประหยัดทรัพยากรแทนการเจรจาทวิภาคี • สามารถใช้ WTO เป็นช่องทางในการเจรจาเพื่อยุติ ข้อพิพาท

  34. การมองย้อนหลัง (ต่อ) • ประสบการณ์ • การใช้กลุ่ม Cairns ในการเจรจาผลักดันประเด็นสินค้าเกษตร • การถูกสหรัฐฯ บีบคั้นให้รับ TRIPS เพื่อแลกกับ GSP • ผลประโยชน์ที่ได้รับ • กฎกติกาการค้าที่รัดกุมขึ้น • กฎระเบียบทางการค้าของสินค้าเกษตร • การเปิดตลาดสิ่งทอ • การลงทุนจากต่างประเทศเนื่องจากการคุ้มครอง IP

  35. การมองย้อนหลัง (ต่อ) • สิ่งที่นำไปแลก • การเปิดตลาด • การบังคับใช้ TRIPS • การปรับกฎหมายภายใน

  36. การมองไปข้างหน้า • ประเด็นที่มีความสำคัญในการเจรจารอบต่อไป (เกษตร GATS SPS Safeguard) • กลยุทธ์ในการเจรจาต่อรองเพื่อผลักดันผลประโยชน์ของประเทศ (การรวมกลุ่มระหว่างประเทศกำลังพัฒนา การแลกเปลี่ยนกับประเทศ ที่พัฒนาแล้ว) • การพัฒนาศักยภาพในการเจรจา

  37. ทำไมประเทศกำลังพัฒนาจึงเสียเปรียบทำไมประเทศกำลังพัฒนาจึงเสียเปรียบ • ขาดความเชี่ยวชาญด้านเทคนิคและด้านกฎหมายจึง “ตามไม่ทัน” • ถูกแรงกดดันนอกเวทีการเจรจา (GSP, AID) • ขาดผู้นำ • ขาดการรวมตัวกันเป็นกลุ่มก้อน เนื่องจากแต่ละประเทศมุ่งหวังเพียงผลประโยชน์ของตนเอง

  38. ประเด็นที่ต้องพิจารณาประเด็นที่ต้องพิจารณา 1. ทำอย่างไรประเทศกำลังพัฒนาจึงจะสร้างอำนาจต่อรองได้ • เราจะใช้ประโยชน์จากประเทศจีนและ อาเซียนได้อย่างไร • เราจะทำให้ประเทศกำลังพัฒนาสละแนวคิดแบบ “ตัวใครตัวมัน” ซึ่งทำให้กลุ่มอ่อนแอได้อย่างไร

  39. ประเด็นที่ต้องพิจารณา (ต่อ) 2. การสร้างศักยภาพในการเจรจา • เราจะต้องปรับปรุงตัวเองอย่างไร • เราจะทำอย่างไรจึงจะมีบทบาทในเชิงรุกแทนที่จะเป็นเพียงผู้สังเกตการณ์ • เราควรดำเนินการอย่างไรเพื่อให้ความช่วยเหลือแก่ประเทศที่ยากจนเป็นพันธกรณีผูกพันประเทศที่ร่ำรวย • เราจะใช้ประโยชน์จากองค์กรพัฒนาต่างประเทศได้มากน้อยเพียงใด

More Related