1 / 49

การบริหาร จัดการด้านการเงิน ภาครัฐ และระเบียบเบิกจ่ายฯ

การบริหาร จัดการด้านการเงิน ภาครัฐ และระเบียบเบิกจ่ายฯ. กิ่งกาญจน์ ภู่ทองตระกูล. รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พ.ศ. 2550. มาตรา 78 (4) (5) รัฐต้องดำเนินการตามแนวนโยบายด้านการ บริหารราชการแผ่นดินดังต่อไปนี้ (4) พัฒนาระบบงานภาครัฐ โดยมุ่งเน้นการ พัฒนาคุณภาพ คุณธรรม และ

leane
Télécharger la présentation

การบริหาร จัดการด้านการเงิน ภาครัฐ และระเบียบเบิกจ่ายฯ

An Image/Link below is provided (as is) to download presentation Download Policy: Content on the Website is provided to you AS IS for your information and personal use and may not be sold / licensed / shared on other websites without getting consent from its author. Content is provided to you AS IS for your information and personal use only. Download presentation by click this link. While downloading, if for some reason you are not able to download a presentation, the publisher may have deleted the file from their server. During download, if you can't get a presentation, the file might be deleted by the publisher.

E N D

Presentation Transcript


  1. การบริหาร จัดการด้านการเงินภาครัฐ และระเบียบเบิกจ่ายฯ กิ่งกาญจน์ ภู่ทองตระกูล

  2. รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พ.ศ. 2550 มาตรา 78 (4) (5) รัฐต้องดำเนินการตามแนวนโยบายด้านการ บริหารราชการแผ่นดินดังต่อไปนี้ (4) พัฒนาระบบงานภาครัฐ โดยมุ่งเน้นการพัฒนาคุณภาพ คุณธรรม และ จริยธรรมของเจ้าหน้าที่ของรัฐ ควบคู่ไปกับการปรับปรุงรูปแบบและวิธีการ ทำงาน เพื่อให้การบริหารราชการแผ่นดินเป็นไปอย่างมีประสิทธิภาพและ ส่งเสริมให้หน่วยงานของรัฐใช้หลักการบริหารกิจการบ้านเมืองที่ดีเป็นแนว ทางในการปฏิบัติราชการ (5) จัดระบบงานราชการและงานของรัฐอย่างอื่น เพื่อให้การจัดทำและการให้ บริการสาธารณะเป็นไปอย่างรวดเร็ว มีประสิทธิภาพ โปร่งใส และตรวจสอบ ได้ โดยคำนึงถึงการมีส่วนร่วมของประชาชน 2

  3. กฎหมายและระเบียบการคลังกฎหมายและระเบียบการคลัง รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พรบ.วิธีการงบประมาณ พรบ.เงินคงคลัง ระเบียบว่าด้วยการบริหารงบประมาณ ระเบียบการเบิกจ่ายเงินการเก็บรักษา เงินและการนำส่งคลังของส่วนราชการ ระเบียบเงินทดรองราชการ ระเบียบค่าใช้จ่ายเดินทาง/ฝึกอบรม ระเบียบค่าใช้จ่ายเกี่ยวกับการ บริหารงาน พรฎ.ว่าด้วยหลักเกณฑ์และวิธีการ บริหารจัดการที่ดี พ.ศ. 2546

  4. ประเภทของเงินราชการ • เงินงบประมาณ • เงินนอกงบประมาณ • เงินรายได้แผ่นดิน • เงินนอกราชการ

  5. การเบิกจ่ายเงินงบประมาณการเบิกจ่ายเงินงบประมาณ ประกาศใช้ พ.ร.บ. งบประมาณรายจ่ายประจำปีแล้ว ต้องได้รับเงินประจำงวดแล้ว มีข้อผูกพันหรือมีความจำเป็นต้องจ่ายให้เจ้าหนี้/ผู้มีสิทธิ หนี้ต้องถึงกำหนดหรือใกล้ถึงกำหนดต้องจ่าย

  6. การจ่ายเงินงบประมาณ (รัฐธรรมนูญ 50 ม.169) กฏหมาย กระทรวงการคลัง ระเบียบ มติ ครม. ข้อบังคับ คำสั่ง

  7. กระบวนการบริหารจัดการกระบวนการบริหารจัดการ Input Process Output ทรัพยากร ผลสำเร็จ/ผลสัมฤทธิ์ การดำเนินงาน สินค้า/บริการ ความคาดหวัง ประสิทธิผล ประหยัด Outcome ประสิทธิภาพ /ผลิตภาพ ความคุ้มค่า

  8. การจำแนกงบประมาณรายจ่ายการจำแนกงบประมาณรายจ่าย มี 2 ลักษณะ รายจ่ายของส่วนราชการและรัฐวิสาหกิจ รายจ่ายงบกลาง

  9. รายจ่ายของส่วนราชการและรัฐวิสาหกิจรายจ่ายของส่วนราชการและรัฐวิสาหกิจ • งบบุคลากร • งบดำเนินงาน • งบลงทุน • งบเงินอุดหนุน • งบรายจ่ายอื่น แต่ละงบสามารถโอนเปลี่ยนแปลงได้

  10. การเบิกจ่ายงบดำเนินงานการเบิกจ่ายงบดำเนินงาน ค่าตอบแทน ใช้สอย วัสดุ ค่าสาธารณูปโภค รวมถึงรายจ่ายจากงบรายจ่ายอื่นใดในลักษณะเดียวกัน

  11. ค่าตอบแทน เป็นเงินที่จ่ายให้แก่ผู้ปฏิบัติงานให้แก่ทางราชการในลักษณะ เงินเดือน (ตามมาตรฐานกำหนดตำแหน่ง) นอกเหนือเงินเดือน นอกเวลาราชการปกติ เงินเพิ่มรายเดือน นอกเหนืองานในหน้าที่ เป็นไปตามกระทรวงการคลังกำหนด จะกำหนดขึ้นเองไม่ได้

  12. ค่าตอบแทนนอกเหนือจากงานในหน้าที่ ค่าเช่าบ้านข้าราชการ ค่าตอบแทนปฏิบัติงานนอกเวลา ค่าตอบแทนตรวจการจ้าง/ควบคุมงาน เบี้ยประชุมกรรมการ ค่าตอบแทนรายเดือนสำหรับปฏิบัติงานในเขตพื้นที่พิเศษ ค่าตอบแทนเหมาจ่ายแทนการจัดหารถประจำตำแหน่ง

  13. ค่าใช้สอย เป็นรายจ่ายเพื่อให้ได้มาซึ่งบริการ (ยกเว้นค่าสาธารณูปโภค) รายจ่ายเกี่ยวกับการรับรองและ พิธีการและรายจ่ายที่เกี่ยวเนื่อง กับการปฏิบัติราชการที่ไม่เข้า ลักษณะรายจ่ายอื่น ๆ ค่าจ้างเหมาบริการ ค่าเบี้ยประกันภัย ค่าใช้จ่ายในการ เดินทางไปราชการ ค่าของขวัญ อื่นๆ

  14. ค่าวัสดุ เป็นรายจ่ายเพื่อจัดหาสิ่งของซึ่งโดยสภาพแล้วย่อม สิ้นเปลืองหมดไป แปรสภาพหรือไม่คงสภาพเดิมหรือ สิ่งของที่มีลักษณะคงทนถาวรและมีราคาต่อหน่วยหรือ ต่อชุดไม่เกิน 5,000 บาท รายจ่ายเพื่อซ่อมแซมบำรุงรักษาทรัพย์สินเพื่อให้ใช้ งานได้ตามปกติ

  15. ค่าสาธารณูปโภค ค่าไฟฟ้า ค่าประปา ค่าโทรศัพท์ ค่าบริการไปรษณีย์ ชำระภายใน 15 วัน ไม่พอ โอนหมวดอื่น ใช้เงินนอกงบประมาณ 2 เดือนสุดท้าย (ส.ค. - ก.ย.)

  16. ค่าสาธารณูปโภค การเบิกจ่ายเงินค่าโทรศัพท์ โทรศัพท์พื้นฐาน • สถานที่ราชการ • บ้านพัก (เหมาจ่าย 400 บาท) หมายเลข 02 • วิทยุสื่อสารเคลื่อนที่ (ว.73/ว.108) • สถานที่ราชการ • ถือครอง (จ่ายจริงไม่เกินที่ กค.กำหนด)

  17. หลักเกณฑ์การจ่ายค่าตอบแทนหลักเกณฑ์การจ่ายค่าตอบแทน กระทรวงการคลัง

  18. ระเบียบกระทรวงการคลัง ว่าด้วยการเบิกจ่าย เงินตอบแทนการปฏิบัติงานนอกเวลาราชการ พ.ศ. 2550

  19. ระเบียบกระทรวงการคลังว่าด้วยการเบิกจ่ายเงินระเบียบกระทรวงการคลังว่าด้วยการเบิกจ่ายเงิน ค่าตอบแทนการปฏิบัติงานนอกเวลาราชการ พ.ศ. 2550 ผู้มีสิทธิ จากเงิน งปม. ข้าราชการ ลูกจ้างประจำ/ชั่วคราว พนักงานราชการ ผู้รับจ้างเหมาบริการ(ตามเงื่อนไขสัญญา)

  20. ลูกจ้างประจำและลูกจ้างชั่วคราวที่ได้รับค่าจ้างจากเงินงบประมาณ มีสิทธิได้รับเงินตอบแทนฯ ตามระเบียบว่าด้วยการจ่ายค่าจ้างลูกจ้างของส่วนราชการ พ.ศ. 2526 และที่แก้ไขเพิ่มเติม โดยให้นำหลักเกณฑ์และอัตราเงินตอบแทนตามระเบียบนี้มาใช้โดยอนุโลม

  21. พนักงานราชการมีสิทธิได้รับเงินตอบแทนฯ ตามระเบียบสำนักนายกรัฐมนตรี ว่าด้วยพนักงานราชการ พ.ศ. 2547 และประกาศคณะกรรมการ บริหารพนักงานราชการ เรื่อง ค่าตอบแทนและสิทธิประโยชน์ของพนักงานราชการ (ฉบับที่ 3)

  22. ค่าตอบแทนปฏิบัติงานนอกเวลาราชการ หมายถึง เงินที่จ่ายให้แก่ข้าราชการที่ปฏิบัติงานตามหน้าที่ ปกติโดยลักษณะงาน ส่วนใหญ่ต้องปฏิบัติงานใน ที่ตั้งสำนักงาน หรือ โดยลักษณะงานส่วนใหญ่ต้องปฏิบัติงานนอก ที่ตั้งสำนักงานและได้ปฏิบัติงานนั้น นอกเวลาราชการ นอกที่ตั้งสำนักงานและหรือ โดยลักษณะงานปกติต้องปฏิบัติงานในลักษณะ เป็นผลัดหรือกะและได้ปฏิบัติงานนั้นนอกผลัดหรือ นอกกะของตน

  23. การปฏิบัติงานเป็นกะหรือผลัดการปฏิบัติงานเป็นกะหรือผลัด หมายถึง การปฏิบัติงานประจำตามหน้าที่ปกติของ ขรก. ในส่วนราชการนั้น ๆ ซึ่งจัดให้มีการปฏิบัติงานผลัด เปลี่ยนหมุนเวียนกันตลอด 24 ชั่วโมง ในช่วงเวลาที่ปฏิบัติงานดังกล่าวซึ่งถือเป็นเวลาราชการปกติของ ขรก.ผู้นั้น ทั้งนี้ การปฏิบัติงานในผลัดหรือกะหนึ่ง ๆ ต้องมีเวลาไม่น้อยกว่า 7 ชั่วโมง (ไม่รวมเวลาหยุดพัก)”

  24. ลักษณะงานนอกเวลาราชการลักษณะงานนอกเวลาราชการ ปฏิบัติงานนอกเวลาราชการในสำนักงาน ปฏิบัติงานนอกเวลาราชการนอกที่ตั้งสำนักงาน ปฏิบัติงานนอกเวลาผลัด / กะ

  25. หลักเกณฑ์ ปฏิบัติงานตามหน้าที่ปกตินอกเวลาราชการ ได้รับอนุมัติจากผู้มีอำนาจก่อน กรณีเร่งด่วนต้องปฏิบัติงานนอกเวลา โดยยังไม่ ได้รับอนุมัติให้รีบขออนุมัติโดยไม่ชักช้า

  26. หลักเกณฑ์ • ข้าราชการผู้ได้รับคำสั่งให้เดินทาง ไปราชการไม่มีสิทธิได้รับเงินตอบแทนนอกเวลาราชการ เว้นแต่ ได้รับอนุมัติให้ปฏิบัติงานนอกเวลาราชการก่อนการเดินทาง เมื่อการเดินทางไปราชการนั้นเสร็จสิ้นหรือเสร็จสิ้นการฝึกอบรมในแต่ • ละวันกลับถึงสำนักงานในวันเดียวกัน ให้เบิกค่าตอบ • แทนได้

  27. การปฏิบัติงานนอกเวลาราชการหลายช่วงเวลาภายในวันเดียวกันให้นับเวลาปฏิบัติงานนอกเวลาราชการทุกช่วงเวลารวมกัน เพื่อเบิกเงินตอบแทนสำหรับวันนั้น การปฏิบัติงานนอกเวลาราชการที่มีสิทธิได้รับค่าตอบแทนอื่นของทางราชการสำหรับการปฏิบัติงานนั้นแล้ว ให้เบิกได้ทางเดียว

  28. กรณีมีความจำเป็นต้องปฏิบัติงานซึ่งเป็นภารกิจหลักของหน่วยงานเป็นครั้งคราวหรือเป็นไปตามนโยบายของรัฐบาลที่มอบหมายให้หน่วยงานปฏิบัติ โดยมีกำหนดระยะเวลาแน่นอนและมีลักษณะเร่งด่วน เพื่อมิให้เกิดความเสียหายแก่ราชการหรือประโยชน์สาธารณะ หัวหน้าส่วนราชการอาจสั่งการให้ปฏิบัติงานนอกเวลาราชการติดต่อกัน โดยให้มีสิทธิเบิกเงินตอบแทนเป็นรายครั้งไม่เกินครั้งละ 7 ชั่วโม ในอัตราชั่วโมงละ 60 บาท

  29. การเบิกจ่ายเงินค่าตอบแทนการปฏิบัติงานนอกเวลาราชการของลูกจ้างส่วนราชการการเบิกจ่ายเงินค่าตอบแทนการปฏิบัติงานนอกเวลาราชการของลูกจ้างส่วนราชการ สำหรับลูกจ้างชั่วคราว ที่ได้รับค่าจ้างจากเงินบำรุง สามารถเบิกค่าตอบแทนปฏิบัติงานนอกเวลาราชการได้ ตามหลักเกณฑ์และอัตราที่กระทรวงการคลังกำหนด แต่ ต้องเบิกจ่ายจากเงินบำรุง

  30. การเบิกค่าตอบแทนปฏิบัติงานนอกเวลาราชการนอกที่ตั้งการเบิกค่าตอบแทนปฏิบัติงานนอกเวลาราชการนอกที่ตั้ง กระทรวงการคลังอนุมัติให้ สป. เบิกจ่ายค่าตอบแทนปฏิบัติงาน งานนอกเวลาราชการให้เจ้าที่ที่ออกปฏิบัติงานตามภารกิจที่รับ ผิดชอบนอกที่ตั้งสำนักงานได้ ตามหลักเกณฑ์และอัตราตาม ระเบียบกระทรวงการคลังว่าด้วยการจ่ายเงินตอบแทนการ ปฏิบัติงานนอกเวลาราชการ พ.ศ. 2536 (ปัจจุบันปี 50) ตั้งแต่ปี งบประมาณ พ.ศ. 2549 เป็นต้นไป ตามหนังสือ กค 0409.7/29071 ว. 18 ตค. 48

  31. การเบิกค่าตอบแทนปฏิบัติงานนอกเวลาราชการนอกที่ตั้งการเบิกค่าตอบแทนปฏิบัติงานนอกเวลาราชการนอกที่ตั้ง • งานภารกิจที่รับผิดชอบ ซึ่งเป็นงาน งานส่งเสริม ควบคุม ป้องกัน • เช่น • ออกตรวจแหล่งแพร่เชื้อในสถานบันเทิง • ออกตรวจสารตกค้างในอาหารที่ตลาดสด • การอยู่ร่วมกับด่านตรวจวัดระดับแอลกอฮอล์และสารเสพติด • การออกหน่วยแพทย์เคลื่อนที่ • การออกเยี่ยมบ้านผู้ป่วยหลังเวลาราชการ หรือ • ออกรถประชาสัมพันธ์เคลื่อนที่ • และงานที่เกี่ยวข้องกับการส่งเสริม ควบคุม และป้องกันโรค

  32. ค่าเบี้ยเลี้ยง เป็นการจ่ายเงินค่าใช้สอยให้ไปปฏิบัติราชการชั่วคราว นอกที่ตั้งสำนักงาน และได้รับคำสั่งผู้บังคับบัญชา ตาม กฤษฎีกาค่าใช้จ่ายเดินทางไปราชการ ตามอัตราที่กำหนด ถึงแม้ว่าจะไปปฏิบัติราชการนอกเวลาราชการก็ไม่สามารถ เบิกค่าตอบแทนนอกเวลาได้

  33. เบิกไม่ได้ อยู่เวรรักษาการณ์ตามระเบียบว่าด้วยการ รักษาความปลอดภัยแห่งชาติหรือตามระเบียบหรือคำสั่งที่เกี่ยวกับการรักษาความปลอดภัยสถานที่ราชการ การปฏิบัติงานนอกเวลาราชการไม่เต็ม จำนวนชั่วโมง

  34. อัตราการจ่ายค่าตอบแทนปฏิบัติงานนอกเวลาราชการอัตราการจ่ายค่าตอบแทนปฏิบัติงานนอกเวลาราชการ ตามข้อหารือการเบิกจ่ายเงินค่าตอบแทนในการปฏิบัติงานนอกเวลา ที่ สธ 0201.046.1/20810 ลว. 19 ธันวาคม 2551 อัตราการเบิกค่าตอบแทนปฏิบัติงานนอกเวลาราชการ ให้พิจารณาตามคำสั่งมอบหมายให้ปฏิบัติงานในหน้าที่ใด

  35. ค่าใช้สอย เป็นรายจ่ายเพื่อให้ได้มาซึ่งบริการ (ยกเว้นค่าสาธารณูปโภค) รายจ่ายเกี่ยวกับการรับรองและ พิธีการและรายจ่ายที่เกี่ยวเนื่อง กับการปฏิบัติราชการที่ไม่เข้า ลักษณะรายจ่ายอื่น ๆ ค่าจ้างเหมาบริการ ค่าเบี้ยประกันภัย ค่าใช้จ่ายในการ เดินทางไปราชการ ค่าของขวัญ อื่นๆ

  36. ค่าวัสดุ เป็นรายจ่ายเพื่อจัดหาสิ่งของซึ่งโดยสภาพแล้วย่อม สิ้นเปลืองหมดไป แปรสภาพหรือไม่คงสภาพเดิมหรือ สิ่งของที่มีลักษณะคงทนถาวรและมีราคาต่อหน่วยหรือ ต่อชุดไม่เกิน 5,000 บาท รายจ่ายเพื่อซ่อมแซมบำรุงรักษาทรัพย์สินเพื่อให้ใช้ งานได้ตามปกติ

  37. ค่าสาธารณูปโภค ค่าไฟฟ้า ค่าประปา ค่าโทรศัพท์ ค่าบริการไปรษณีย์ ชำระภายใน 15 วัน ไม่พอ โอนหมวดอื่น ใช้เงินนอกงบประมาณ 2 เดือนสุดท้าย (ส.ค. - ก.ย.)

  38. ค่าสาธารณูปโภค การเบิกจ่ายเงินค่าโทรศัพท์ โทรศัพท์พื้นฐาน • สถานที่ราชการ • บ้านพัก (เหมาจ่าย 400 บาท) หมายเลข 02 • วิทยุสื่อสารเคลื่อนที่ (ว.73/ว.108) • สถานที่ราชการ • ถือครอง (จ่ายจริงไม่เกินที่ กค.กำหนด)

  39. การเบิกจ่ายงบรายจ่ายอื่นการเบิกจ่ายงบรายจ่ายอื่น เป็นรายจ่ายที่ไม่เข้าลักษณะงบรายจ่ายใดหรือเป็นรายจ่ายที่สำนักงบประมาณกำหนดให้จ่ายในงบรายจ่ายอื่น เช่น เงินราชการลับ คชจ.ไปราชการต่างประเทศ คชจ.สำหรับกองทุนหรือเงินหมุนเวียน คชจ.ในการทำวิจัย

  40. รายจ่ายงบกลาง รายการที่มีวัตถุประสงค์เป็นการ เฉพาะ ประกอบด้วย • เงินสำรองจ่ายเพื่อกรณีฉุกเฉินหรือจำเป็น • คชจ. ตามโครงการอันเนื่องมาจากพระราชดำริ • คชจ. เกี่ยวกับการเสด็จพระราชดำเนินและต้อนรับ • ประมุขต่างประเทศ • เงินชดเชยค่างานก่อสร้าง (โดยสำนักงบประมาณ)

  41. ประเภทเงินสวัสดิการ รายจ่าย งบกลาง • ค่ารักษาพยาบาล/ศึกษาบุตร ขรก. ลูกจ้าง พนักงานฯ • เบี้ยหวัด บำเหน็จ บำนาญ • เงินช่วยเหลือ ขรก.ลูกจ้าง พนักงานฯ • เงินเลื่อนขั้นเลื่อนเงินเดือน และเงินปรับวุฒิ ขรก. • เงินสำรอง เงินสมทบและเงินชดเชยของ ขรก. • เงินสมทบลูกจ้างประจำ (โดยกรมบัญชีกลาง)

  42. เงินนอกงบประมาณ

  43. เงินนอกงบประมาณ เงินทั้งปวงที่อยู่ในความรับผิดชอบ ของส่วนราชการนอกจากเงินงบประมาณ รายจ่าย เงินรายได้แผ่นดิน เงินเบิก เกินส่งคืน เงินเหลือจ่ายปีเก่าส่งคืน

  44. พ.ร.บ. เงินคงคลัง พ.ศ. 2491 เงินนอกงบประมาณ มาตรา 4 บรรดาเงินทั้งปวงที่พึงชำระให้แก่รัฐบาล เช่นภาษีอากร ค่าธรรมเนียมค่าปรับ เงินกู้หรือเงินอื่นใด ส่วนราชการ ต้องนำส่งคลัง โดยไม่หักเงินไว้เพื่อการใด ๆ เว้นแต่ 1. รายจ่ายที่หักนั้นเป็นรายจ่ายที่กม.อนุญาตให้จ่ายได้ 2. รายจ่ายที่จำเป็นต้องจ่ายที่ได้รับความตกลงจาก กค. เพื่อเป็นค่าสินบนรางวัล หรือค่าใช้จ่ายในการจัดให้ไดมา ซึ่งเงินอันพึงชำระให้รัฐบาล 3. รายจ่ายที่ต้องจ่ายคืนให้แก่บุคคลใด ๆ เพราะเป็น เงินอันไม่พึงต้องชำระให้แก่รัฐบาล

  45. พ.ร.บ. วิธีการงบประมาณ พ.ศ. 2502 มาตรา 24 เงินที่ส่วนราชการรับไว้เป็นกรรมสิทธิ์ ไม่ว่าจะได้รับตาม กม.หรือระเบียบข้อบังคับ หรือได้รับตามอำนาจหน้าที่หรือ สัญญาหรือได้รับจากการให้ใช้ท/สหรือเก็บดอกผลจาก ทรัพย์สิน ให้นำส่งคลัง เว้นแต่จะมีกม.กำหนดเป็นอย่างอื่น

  46. พ.ร.บ. วิธีการงบประมาณ พ.ศ. 2502 มาตรา 24 เงินบริจาค 1. เงินที่มีผู้มอบให้ โดยมีวัตถุประสงค์ให้ส่วนราชการนั้นใช้จ่าย ในกิจการของส่วนราชการ 2. เงินที่เกิดจากทรัพย์สินซึ่งมีผู้มอบให้เพื่อหาดอกผลใช้จ่ายใน กิจการให้ส่วนราชการนั้นจ่ายเงิน และให้ก่อหนี้ผูกพันภายใน วงเงินที่ได้รับ และไม่ต้องส่งคลัง

  47. พ.ร.บ. วิธีการงบประมาณ พ.ศ. 2502 มาตรา 24 เงินช่วยเหลือต่างประเทศ เงินที่ส่วนราชการได้รับตามโครงการช่วยเหลือหรือร่วมมือกับ รัฐบาลต่างประเทศ องค์การสหประชาชาติ ทบวงการชำนัญพิเศษ องค์การระหว่างประเทศ หรือบุคคลใด ไม่ว่าจะเป็นเงินกู้หรือ เงินให้เปล่า รวมทั้งเงินที่ได้รับสืบเนื่องจากโครงการช่วยเหลือ หรือร่วมมือเช่นว่านั้น

  48. พ.ร.บ. วิธีการงบประมาณ พ.ศ. 2502 เงินที่ส่วนราชการได้รับโดยไม่ต้องนำส่งคลัง 1. เงินที่ได้รับในลักษณะค่าชดใช้ความเสียหายหรือสิ้นเปลืองแห่งทรัพย์สิน และจำเป็นต้องจ่ายเพื่อบูรณะทรัพย์สินหรือจัดให้ได้ทรัพย์สินคืนมา 2. รายรับของสถานพาบาล สถานศึกษา หรือสถานอื่นใดที่อำนวยบริการ อันเป็นสาธารณะประโยชน์หรือประชาสงเคราะห์ 3. เงินที่ได้รับในลักษณะผลพลอยได้จากการปฏิบัติงานตามอำนาจหน้าที่ กรณีได้รับเงินตามโครงการช่วยเหลือหรือร่วมมือกับรัฐบาลต่างประเทศ องค์การสหประชาชาติ องค์การระหว่างประเทศอื่นใด หรือบุคคลใด ไม่ว่า จะเป็นเงินให้กู้หรือให้เปล่า รวมทั้งเงินที่ส่วนราชการได้รับสืบเนื่องจากโครง การช่วยเหลือหรือร่วมมือ รัฐมนตรีจะกำหนดเป็นอย่างโดยไม่ต้องส่ง

More Related