1 / 42

การวิเคราะห์ข้อมูลในรายงาน ตามระบบ GFMIS

การวิเคราะห์ข้อมูลในรายงาน ตามระบบ GFMIS. หลักสูตร “การเสริมสร้างสมรรถนะด้านการเงินการคลังภาครัฐ” ระดับชำนาญการ. 1. 2. 4. 3. 5. ความแตกต่างระหว่างรายงานในระบบ R/3 และ BW. รายจ่ายประจำ / รายจ่ายลงทุน. การวิเคราะห์ข้อมูลในรายงาน MIS. รายงานในระบบปฏิบัติการ ( R/3) – Web Online.

Télécharger la présentation

การวิเคราะห์ข้อมูลในรายงาน ตามระบบ GFMIS

An Image/Link below is provided (as is) to download presentation Download Policy: Content on the Website is provided to you AS IS for your information and personal use and may not be sold / licensed / shared on other websites without getting consent from its author. Content is provided to you AS IS for your information and personal use only. Download presentation by click this link. While downloading, if for some reason you are not able to download a presentation, the publisher may have deleted the file from their server. During download, if you can't get a presentation, the file might be deleted by the publisher.

E N D

Presentation Transcript


  1. การวิเคราะห์ข้อมูลในรายงานตามระบบ GFMIS หลักสูตร “การเสริมสร้างสมรรถนะด้านการเงินการคลังภาครัฐ” ระดับชำนาญการ

  2. 1 2 4 3 5 ความแตกต่างระหว่างรายงานในระบบ R/3 และ BW รายจ่ายประจำ / รายจ่ายลงทุน การวิเคราะห์ข้อมูลในรายงาน MIS รายงานในระบบปฏิบัติการ (R/3) – Web Online ประเภทรายงานในระบบ BW (MIS / EIS) ประเด็น 2

  3. ช่องทางการใช้งานในระบบ GFMIS ส่วนราชการ / สนง.คลังจังหวัด Internet PC หน่วยงาน MIS MIS Report (Web Static) • Update on • weekly basis • Summary • Drill down EIS ส่วนราชการ / สนง.คลังจังหวัด PC หน่วยงาน Internet ส่วนราชการ (50 User) BW Business Warehouse GFMIS Terminal Ready to use : every Monday 6:00 Load data from R/3 : every Friday 20:30 Operation R/3 Web report • Online real time • Detail PC หน่วยงาน Internet Excel Loader / Web Online Intranet ผ่านเครื่อง Terminal R/3 GFMIS Terminal 3 Database

  4. R/3 และBW R/3 BW รายงานแบบวิเคราะห์ หลากหลายมุมมอง Scorecards การวิเคราะห์แบบ What-if Trend analysis Benchmark analysis Operational Reporting ข้อมูลแบบ Real Time (transaction based) ข้อมูลตามช่วงเวลา (รายวัน/รายสัปดาห์/รายเดือน) จากเครื่อง GFMIS Terminal จาก Internet (Web Report) จากเครื่อง GFMIS Terminal 50 User จาก Internet (EIS)

  5. รายงานในระบบปฏิบัติการ (Operation) GFMIS RP FM FA PO AP GL Fund Management :งบประมาณ Purchasing Order : จัดซื้อจัดจ้าง Fixed Asset : สินทรัพย์ถาวร Account Payable : เบิกจ่าย Receipt Process : รับและนำเงินส่งคลัง General Ledger : บัญชีแยกประเภท 5

  6. รายงานในระบบ Web Online 1 6

  7. 2 7

  8. 8

  9. การเรียกรายงานในระบบ Web Online 1 9

  10. FM ZFMA55 ZFMA51N ZFMA52N ZFMA53N 10

  11. FM งบประจำปี 11

  12. FM 12

  13. FM 13

  14. FM งบกลาง 14

  15. FM เงินเหลื่อมปี 15

  16. FM เงินไทยเข้มแข็ง 16

  17. รายงานงบประมาณ ที่จะพัฒนาในอนาคต 17

  18. FM 18

  19. FM 19

  20. FM 20

  21. FM 21

  22. รายงานสามารถจัดเก็บในรูปแบบ Excel ,Word และ PDF 22

  23. รายงานในระบบ MIS • MIS – Management Information System คือ ระบบจัดการสารสนเทศเพื่อนำไปใช้ในการบริหารจัดการและการตัดสินใจของผู้บริหาร สามารถเรียกรายงานจาก 2 ช่องทาง ดังนี้ - GFMIS Terminal : MIS - Internet : MIS Report • EIS – Executive Information System เป็นระบบงานระบบหนึ่งของ MIS ที่ออกแบบให้ผู้บริหารระดับสูง เพื่อเรียกข้อมูลได้ง่ายขึ้น มีรูปแบบที่น่าสนใจโดยสามารถเรียกรายงานผ่าน Internet 23

  24. MIS Terminal(ต่อ) • รายงานของ MIS Terminal แบ่งออกเป็นด้านต่างๆ 3 ด้าน ได้แก่ • การบริหารงบประมาณ • การเงินและบัญชี • การจัดซื้อจัดจ้าง

  25. 1. กระทรวง2. กรม3. รายจ่ายประจำ/ลงทุน4. เดือน/ปีงบประมาณ5. จังหวัด6. ผลผลิต/โครงการ7. Commitment item (รหัสบัญชีแยกประเภท)8. Funded Program (หน่วยรับงบ)9. ลักษณะเศรษฐกิจ10.หน่วยงานที่ใช้งบกลาง11.ด้าน12.ด้าน_ลักษณะงาน มุมมองการดูรายงานระบบงบประมาณ 13.แผนงาน 14.ลักษณะงาน 15.ยุทธศาสตร์การจัดสรร 16.กลุ่มลักษณะงาน 17.กลุ่มภารกิจ 18.หมวดรายจ่าย 19.งบรายจ่าย 20.แผนงบประมาณ 21.งบกลาง CGD/BOB 22.Functional area 23.งาน/โครงการ 24.Funds Center (รหัสงบประมาณ) 25

  26. ตัวอย่างรายงานงบประมาณในระบบ MIS 26

  27. รายงานในระบบ EIS (1/3) 27

  28. รายงานในระบบ EIS (2/3) 28

  29. รายงานในระบบ EIS (3/3) 29

  30. การใช้ข้อมูลในรายงาน MIS/EIS • ต้องเข้าใจความหมายของข้อมูลที่เป็นตัวเลขในแต่ละคอลัมน์ • ใช้ในการติดตามผลการดำเนินงานตามยุทธศาสตร์ • ใช้ในการติดตามผลการเบิกจ่ายเงิน • ตาม KPI คำรับรองการปฏิบัติราชการ • ใช้ในการชี้แจงผลการดำเนินงานต่อบุคคลหรือ • คณะกรรมการต่างๆ เช่น ผู้บริหารของหน่วยงาน • คณะกรรมการการเร่งรัดการใช้จ่ายเงิน คณะกรรมาธิการ • พิจารณาร่างพระราชบัญญัติงบประมาณรายจ่ายประจำปี • เป็นต้น 30

  31. รายจ่ายประจำ/รายจ่ายลงทุนรายจ่ายประจำ/รายจ่ายลงทุน แสดงถึงลักษณะเศรษฐกิจ เป็นการจำแนกงบประมาณเพื่อแสดงให้เห็นผลทางเศรษฐกิจที่จะเกิดขึ้นจากการใช้จ่ายของรัฐบาล โดยจำแนกเป็น • รายจ่ายประจำ (Current Expenditure) คือ รายจ่ายที่รัฐบาลจ่ายเพื่อให้ได้รับสิ่งตอบแทนเป็นบริการหรือสิ่งของที่มิใช่ทรัพย์สินประเภททุน หรือมิใช่สินค้าและบริการที่จะนำมาใช้ผลิตสินค้าทุน • รายจ่ายลงทุน (Capital Expenditure) คือ รายจ่ายที่รัฐบาลจ่ายเพื่อจัดหาทรัพย์สินประเภททุนทั้งที่มีตัวตน และทรัพย์สินที่ไม่มีตัวตน ที่มา : คำอธิบายรหัสงบประมาณรายจ่าย คู่มือรหัสงบประมาณรายจ่าย ของสำนักงบประมาณ 31

  32. รายจ่ายประจำ/รายจ่ายลงทุนรายจ่ายประจำ/รายจ่ายลงทุน 32

  33. รายจ่ายของส่วนราชการ 33

  34. จำแนกรายจ่ายประจำ/ลงทุนจำแนกรายจ่ายประจำ/ลงทุน 34

  35. ตัวอย่างข้อมูลรายจ่ายประจำ 35

  36. ตัวอย่างข้อมูลรายจ่ายลงทุน 36

  37. ความแตกต่างระหว่างรายงานในระบบ R/3 และ BW ZFMA55 37

  38. กลุ่มงานวิเคราะห์ข้อมูลและรายงาน สำนัก GFMIS กรมบัญชีกลาง โทร 0 2127 7000 ต่อ 6421, 4291 โทร/โทรสาร 0 2127 7306 38

  39. รหัสแหล่งของเงิน (Fund) ใช้ในการแสดงประเภทเงินทุน ซึ่งมี 3 ประเภท 1. เงินในงบประมาณ YY A B C DD แสดง หมวดรายจ่าย (สำหรับเงินในงบฯ) 1: งบบุคลากร 2: งบดำเนินงาน 3: งบลงทุน 4: งบอุดหนุน 5: งบรายจ่ายอื่น แสดง งบรายจ่าย 0: งบกลาง 1: งบส่วนราชการ 9: รายการอื่น 1: เงินในงบประมาณ แสดง ปีงบประมาณ 39

  40. รหัสงบประมาณ (Fund Center) MMAAABPOPP ZZZZZZ Running No. 1 – ครุภัณฑ์ < 1 ล. อาคาร, สิ่งก่อสร้าง <= 10 ล. 2 – ครุภัณฑ์ > 1 ล. อาคาร, สิ่งก่อสร้าง >= 10 ล. รหัสกระทรวง รหัสผลผลิต/โครงการ รหัสกรม ประเภทรายการ 0 – งบประจำ 1 – ครุภัณฑ์ 2 – ที่ดิน 3 – อาคาร 4 – สิ่งก่อสร้าง 5 – อุดหนุนทั่วไป 6 – อุดหนุนเฉพาะกิจ 7 – รายจ่ายอื่น รหัสแผนงาน/ แผนงบประมาณ 40

  41. รหัสกิจกรรมหลัก ( Functional Area) • กรณีเงินนอกงบประมาณ การบันทึกค่าใช้จ่ายหรือ PO ให้ระบุรหัสกิจกรรมหลัก 5 หลัก P XX 00 ตัวอย่างP1000 ส่วนกลาง P5000 เชียงใหม่ • กรณีเงินงบประมาณ การบันทึกค่าใช้จ่ายหรือ PO ให้ระบุรหัสกิจกรรมหลัก 14 หลัก MMAAABBBB XXXXX ตัวอย่าง15002 6000 C0001 กิจกรรมพัฒนายุทธศาสตร์ของกระทรวงมหาดไทย จ.นครสวรรค์ รหัสอำเภอ (สำหรับอนาคต) กิจกรรมหลักตาม สงป. รหัสหน่วยงาน 5 หลัก รหัสพื้นที่ รหัสจังหวัด 41

  42. ความแตกต่างระหว่างรายงานในระบบ R/3 และ BW ZFMA55 งบประมาณ 652.631-270.579+3.172 = 385.224 ลบ. เบิกจ่าย 21.766+204.601-61.946+2.066 = 166.487 ลบ. (แตกต่างจาก R/3 เนื่องจากช่วงเวลาในการเรียกรายงานต่างกัน) 42

More Related