1 / 56

Application And Improvement of Activated Carbon การประยุกต์ใช้และ การปรับปรุงสภาพ ถ่านกัมมันต์

Application And Improvement of Activated Carbon การประยุกต์ใช้และ การปรับปรุงสภาพ ถ่านกัมมันต์ เสนอโดย นายกัณฑ์ชนก มุ้ย พรม วันอาทิตย์ที่ 19 พฤษภาคม 2556 เวลา 13.00 -16.30 น. ณ อาคารปฏิบัติการทางวิทยาศาสตร์ ชั้น 3 มหาวิทยาลัยราช ภัฏ เพชรบูรณ์. หัวข้อนำเสนอ 1. วัตถุประสงค์ 2. บทนำ

luann
Télécharger la présentation

Application And Improvement of Activated Carbon การประยุกต์ใช้และ การปรับปรุงสภาพ ถ่านกัมมันต์

An Image/Link below is provided (as is) to download presentation Download Policy: Content on the Website is provided to you AS IS for your information and personal use and may not be sold / licensed / shared on other websites without getting consent from its author. Content is provided to you AS IS for your information and personal use only. Download presentation by click this link. While downloading, if for some reason you are not able to download a presentation, the publisher may have deleted the file from their server. During download, if you can't get a presentation, the file might be deleted by the publisher.

E N D

Presentation Transcript


  1. Application And Improvement of Activated Carbon การประยุกต์ใช้และการปรับปรุงสภาพถ่านกัมมันต์ เสนอโดย นายกัณฑ์ชนก มุ้ยพรม วันอาทิตย์ที่ 19 พฤษภาคม 2556 เวลา 13.00 -16.30 น. ณ อาคารปฏิบัติการทางวิทยาศาสตร์ ชั้น 3 มหาวิทยาลัยราชภัฏเพชรบูรณ์

  2. หัวข้อนำเสนอ • 1. วัตถุประสงค์ • 2. บทนำ • -ถ่านกัมมันต์ • -การดูดซับ( Adsorption ) • อะตอมมิกแอบซอร์พชันสเปกโทรสโกปี (AAS) • 3. วิธีการทดลอง (จากงานวิจัย) • 4. ผลการทดลอง • 5. สรุปผลการทดลอง

  3. วัตถุประสงค์ 1. เพื่อศึกษาการปรับปรุงคุณภาพถ่านกัมมันต์ 2. เพื่อศึกษาการประยุกต์ใช้ถ่านกัมมันต์ให้เกิดประโยชน์

  4. ถ่านกัมมันต์ (Activated carbon ) ถ่านกัมมันต์เป็นถ่านที่มีความสามารถในการดูดซับสูง เพราะมีรูพรุนขนาด 18-10,000 อังสตรอง ตามผิวของรูพรุนยังมีอิเล็คตรอนอิสระที่คอยเปลี่ยนประจุ และยึดเหนี่ยวโมเลกุลของสารต่างๆ

  5. ถ่านกัมมันต์มีความสามารถในการดูดสี กลิ่น และก๊าซ และนำกลับมาใช้ได้อีก โดยการ Regenerateกระบวนการผลิตถ่านกัมมันต์โดยทั่วๆ ไป แบ่งเป็น 2 ขั้นตอน 1.กระบวนการคาร์บอไนซ์ (Carbonization) 2.กระบวนการกระตุ้น (Activation)

  6. กระบวนการคาร์บอไนซ์ (Carbonization)  เป็นการไพโรไรซิสซึ่งเกิดขึ้นในที่อับอากาศ เพื่อเพิ่มสัดส่วนคาร์บอนของสารอินทรีย์ รวมทั้งได้ของเหลว และแก็สออกมาด้วย อุณหภูมิในการเผาประมาณ 200-400 องศาเซลเซียส

  7. กระบวนการกระตุ้น (Activation)  เป็นการเปลี่ยนแปลงทางกายภาพสำหรับคาร์บอน  ด้วยการเพิ่มพื้นที่ผิวให้มากขึ้น โดยการทำให้มีรูพรุนมากขึ้น หรือเป็นการเพิ่มประสิทธิภาพการดูดซับสารอื่นๆ ของถ่านกัมมันต์ แบ่งได้เป็น 2 วิธีคือ 1.การกระตุ้นทางเคมี 2.การกระตุ้นทางกายภาพ

  8. การกระตุ้นทางเคมี (Chemical Activation) เป็นวิธีการเพิ่มปริมาตรรูพรุนและพื้นที่ผิวโดยปฏิกิริยากับสารเคมี เช่น การกระตุ้นด้วยซิงคลอไรด์ (ZnCl2) และกรดฟอสฟอริก (H3PO4)

  9. การกระตุ้นทางกายภาพ (PhysicalActivation) เป็นการกระตุ้นด้วยการใช้แก๊ส หรือไอนํ้า ซึ่งใช้อุณหภูมิในการเผากระตุ้นค่อนข้างสูงประมาณ 800-1000 องศาเซลเซียส

  10. ดัชนีที่ใช้วัดคุณภาพของถ่านกัมมันต์ดัชนีที่ใช้วัดคุณภาพของถ่านกัมมันต์ 1. เลขไอโอดีน (Iodine number) 2. เลขฟีนอล (Phenol number) 3. การดูดซับเมทิลีนบูล 4. การดูดซับไอออนของโลหะหนัก 5. พื้นที่ผิวจำเพาะ (Surface area)

  11. การดูดซับ( Adsorption ) การดูดซับเป็นกระบวนการที่เกี่ยวข้องกับการสะสมตัวของสาร พื้นผิวหรือระหว่างผิวหน้า (interface) กระบวนการนี้สามารถเกิดที่บริเวณผิวสัมผัสระหว่าง 2 สภาวะใด ๆ

  12. Atomic Absorption Spectrophotometer (AAS) เป็นเครื่องมือที่ใช้ในการวิเคราะห์ธาตุ(metal element) ที่อยู่ในตัวอย่างทดสอบ ด้วยเทคนิค Atomic Absorption Spectroscopy ซึ่งเป็นกระบวนการที่อะตอมอิสระ (free atom) ของธาตุ ดูดกลืน (absorp) แสงที่ความยาวคลื่นระดับหนึ่งโดยเฉพาะซึ่งขึ้นอยู่กับธาตุแต่ละธาตุ

  13. องค์ประกอบที่สำคัญของเครื่อง AAS จะมีด้วยกัน 5 ส่วน 1. แหล่งกำเนิดแสง(light source) 2. ส่วนที่ทำให้ธาตุกลายเป็นอะตอมอิสระ(atomizer) 3. Monochromator 4. Detector 5. เครื่องประมวลผลและอ่านผล

  14. วิธีการทดลอง

  15. การเตรียมถ่านกัมมันต์จากลูกหูกวางการเตรียมถ่านกัมมันต์จากลูกหูกวาง โดย ผศ. ปัญญา มณีจักร ภาควิชาเคมี คณะวิทยาศาสตร์ มหาวิทยาลัยรังสิต

  16. การเตรียมถ่านที่จะวิเคราะห์การเตรียมถ่านที่จะวิเคราะห์ นำลูกหูกวางมากระตุ้นด้วยกรดซัลฟูริก ที่อุณหภูมิ 500 C เป็นเวลา 1 ชั่วโมง นำลูกหูกวางมาเผาที่อุณหภูมิ 500 C เป็นเวลา 1 ชั่วโมง เตรียมถ่านกัมมันต์เกรดการค้า

  17. นำถ่านคาร์บอไนซ์ที่ได้มาตรวจสอบคุณสมบัตินำถ่านคาร์บอไนซ์ที่ได้มาตรวจสอบคุณสมบัติ ค่าไอโอดีนนัมเบอร์ เมทิลีนบูลนัมเบอร์ สภาพพื้นที่ผิวของถ่านคาร์บอไนซ์

  18. ผลการทดลอง • ตารางที่ 1 แสดงการวิเคราะห์คุณสมบัติทางกายภาพของลูกหูกวาง

  19. ตารางที่ 3 แสดงค่าไอโอดีนนัมเบอร์ของถ่านคาร์บอไนซ์ขนาดต่าง ๆ

  20. ตารางที่ 4 พื้นที่ผิวจำเพาะ ปริมาตรและขนาดรูพรุนของถ่านคาร์บอไนซ์ถ่านกัมมันต์จากลูกหูกวาง ถ่านกัมมันต์การค้า

  21. ภาพที่ 1 ถ่านคาร์บอไนซ์ ภาพที่ 2 ถ่านกัมมันต์จากลูกหูกวาง ภาพที่ 3 ถ่านกัมมันต์การค้า

  22. การศึกษาสมบัติและคุณลักษณะของพื้นผิวของถ่านกัมมันต์จากเปลือกมังคุดการศึกษาสมบัติและคุณลักษณะของพื้นผิวของถ่านกัมมันต์จากเปลือกมังคุด ที่เตรียมแบบ 1 ขั้น และ 2 ขั้น โดย ภควดี สุขอนันต์ ภาควิชาวิทยาศาสตร์ สาขา เคมี คณะวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี มหาวิทยาลัยราชภัฏพระนครศรีอยุธยา

  23. เตรียมเปลือกมังคุดบดแห้ง ขนาด 250 ไมโครเมตร กระตุ้นด้วยสารละลายซิงค์คลอไรด์ 24 ชั่วโมง นำไปเผาที่อุณหภูมิ 500 และ 600 C Stage 1

  24. เตรียมเปลือกมังคุดบดแห้ง ขนาด 250 ไมโครเมตร นำเปลือกมังคุดที่บดไปเผาที่อุณหภูมิ 350 C กระตุ้นด้วยสารละลายซิงค์คลอไรด์ 24 ชั่วโมง นำไปเผาที่อุณหภูมิ 500 และ 600 C Stage 2

  25. นำถ่านที่ได้มาตรวจสอบคุณสมบัตินำถ่านที่ได้มาตรวจสอบคุณสมบัติ การดูดซับเมทิลีนบูลและแก๊สไนโตรเจน

  26. ผลการทดลอง

  27. สรุปผลการทดลอง

  28. จากผลการทดลองพบว่าถ่านที่ผ่านการกระตุ้นทางเคมีมีความสามารถในการดูดซับมากขึ้น ไม่ว่าจะเป็นการเตรียมจากเปลือกมังคุดหรือการเตรียมโดยใช้ลูกหูกวาง ซึ่งมีการดูดซับได้ดีเมื่อเตรียมถ่านที่อุณหภูมิ 500 C เมื่อถ่านมีอนุภาคเล็กลง จะทำให้ดูดซับได้ดีขึ้นและมีพื้นที่ผิวสัมผัสเพิ่มขึ้นจากผลตามตารางแสดงผล

  29. การกำจัดสีเมทิลเรดด้วยการดูดซับ/วิธีทางชีวิภาพการกำจัดสีเมทิลเรดด้วยการดูดซับ/วิธีทางชีวิภาพ โดย สุดสายชล หอมทอง1 นเรศ เชื้อสุวรรณ2 สุบัณฑิต นิ่มรัตน์1 ภาควิชาจุลชีววิทยา คณะวิทยาศาสตร์ มหาวิทยาลัยบูรพา1 สาขาวิชาอนามัยสิ่งแวดล้อม สำนักวิชาแพทยศาสตร์ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีสุรนารี2 Burapha Sci. J. 16 (2011) 2 : 63-74

  30. เตรียมสีเมทิลเรด เข้มข้น 0.1 mMด้วยตัวทำละลาย Dimethylsulfoxide เติมสารละลาย NaCl 7 % (w/v) นำถ่านกัมมันต์บรรจุลงในคอลัมน์ กว้าง 5 ซม. ยาว 12 ซม. สูง 17 ซม. เทสีเมทิลเรดเข้มข้น 0.1 mM 250 มล.

  31. ให้อัตราการไหลของสีเท่ากับ 2.40 มล./นาที วัดค่า COD ด้วยชุด COD Kit ด้วยวิธีการของ Henderson et al. (1997)

  32. ผลการทดลอง

  33. การปรับปรุงคุณภาพน้ำบาดาล เพื่อใช้ในโรงงานอุตสาหกรรมและการอุปโภค ในเขตตำบลหนองบัวศาลาและตำบลหนองระเวียงจังหวัดนครราชสีมา โดยใช้ถ่านกัมมันต์ที่ปรับปรุงพื้นผิวทางเคมี โดย รัชฏาพร วัชรวิชานันท์ กมณชนก วงศ์สุขสิน สาขาวิชา วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี มหาวิทยาลัยราชภัฏนครราชสีมา GRC (2012)

  34. เก็บตัวอย่างน้ำบาดาลในถัง 5 ลิตร โดยวัดอุณหภูมิน้ำ อากาศ และความชื้น เตรียมถ่านกัมมันต์ ด้วยการใช้กรดไนตริก 7.5 M ในอัตราส่วน 1:10 (น้ำหนักถ่าน:ปริมาตร) ทำการรีฟลักซ์ 4 ชั่วโมง ล้างถ่านจนมีค่า pH คงที่

  35. อบที่อุณหภูมิ 110 C เป็นเวลา 24 ชั่วโมง นำไปทดสอบความสามารถในการดูดซับโลหะหนัก จากกลุ่มน้ำบ่อตัวอย่าง

  36. ผลการทดลอง

  37. ผลการวิเคราะห์ปริมาณโลหะหนักก่อนและหลังการปรับปรุงคุณภาพนํ้าดาล

  38. การกำจัดกลีเซอรีนออกจากไบโอดีเซลที่เตรียมจากน้ำมันประกอบอาหารที่ใช้แล้วการกำจัดกลีเซอรีนออกจากไบโอดีเซลที่เตรียมจากน้ำมันประกอบอาหารที่ใช้แล้ว โดยใช้ถ่านกัมมันต์จากเมล็ดลำไย โดย สโรชา เพ็งศรี สมใจ เพ็งปรีชา ภาควิชา เคมี คณะวิทยาศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย

  39. เตรียมน้ำมันน้ำมัน 500 กรัม อุ่นที่อุณหภูมิ 60 – 65 C ผสมกับเมทานอล 144.82 mLที่มี NaOHละลายอยู่ 5 กรัม คนทิ้งไว้ 90 นาที แยกชั้นด้วยกรวยสกัด นำไบโอดีเซลไปทำให้บริสุทธิ์

  40. นำเมล็ดลำไยมาล้าง แล้วอบที่อุณหภูมิ 110 C เป็นเวลา 24 ชั่วโมง คัดเมล็ดขนาด 2.00 มม. นำมาบดแล้วแช่ในสารละลาย ZnCl2ในอัตราส่วน 1:2 นำไปเผาที่ อุณหภูมิ 800 C เป็นเวลา 3 ชั่วโมง

  41. ล้างด้วยกรด HClเข้มข้น 10 % ล้างให้ pH เท่ากับ 7 อบที่อุณหภูมิ 110 C เป็นเวลา 24 ชั่วโมง นำไปทดสอบความสามารถในการดูดซับกลีเซอรีน

  42. ผลการทดลอง

More Related