1 / 61

การบัญชี ชั้นต้น

การบัญชี ชั้นต้น. โดย ชูศักดิ์ เกียรติเฉลิมคุณ. สมการบัญชี. DR. = CR. 1) สินทรัพย์ = หนี้สิน + ส่วนของเจ้าของ (ทุน) 2)สินทรัพย์+ค่าใช้จ่าย = หนี้สิน+ ส่วนของเจ้าของ +รายได้. สินทรัพย์.

lucky
Télécharger la présentation

การบัญชี ชั้นต้น

An Image/Link below is provided (as is) to download presentation Download Policy: Content on the Website is provided to you AS IS for your information and personal use and may not be sold / licensed / shared on other websites without getting consent from its author. Content is provided to you AS IS for your information and personal use only. Download presentation by click this link. While downloading, if for some reason you are not able to download a presentation, the publisher may have deleted the file from their server. During download, if you can't get a presentation, the file might be deleted by the publisher.

E N D

Presentation Transcript


  1. การบัญชีชั้นต้น โดย ชูศักดิ์ เกียรติเฉลิมคุณ

  2. สมการบัญชี DR. = CR. 1) สินทรัพย์ = หนี้สิน + ส่วนของเจ้าของ (ทุน) 2)สินทรัพย์+ค่าใช้จ่าย=หนี้สิน+ส่วนของเจ้าของ+รายได้

  3. สินทรัพย์ • ทรัพยากรที่มีอยู่ในความควบคุมของกิจการ ซึ่งกิจการคาดว่าจะได้รับประโยชน์เชิงเศรษฐกิจของทรัพยากรนั้นในอนาคต (ที่มา : แม่บทการบัญชี)

  4. สินทรัพย์หมุนเวียน • สภาพคล่องสูง ต้องเข้าเงื่อนไขข้อใดข้อหนึ่ง 1. คาดว่าจะได้รับประโยชน์ภายใน 1 รอบบัญชี 2. วัตถุประสงค์เพื่อค้า 3. เป็นเงินสดหรือรายการเทียบเท่าเงินสด ( รายการเทียบเท่าเงินสด = เงินลงทุนระยะสั้นที่มีสภาพคล่องสูง ซึ่งพร้อมที่จะเปลี่ยนเป็นเงินสดในจำนวนที่ทราบได้ และมีความเสี่ยงต่อการเปลี่ยนแปลงในมูลค่าน้อยหรือไม่มีนัยสสำคัญ) เช่น เงินลงทุนชั่วคราว,ลูกหนี้,สินค้า,เงินให้กู้ยืมระยะสั้น

  5. สินทรัพย์ไม่หมุนเวียนสินทรัพย์ไม่หมุนเวียน • สภาพคล่องต่ำ = ไม่เข้าเงื่อนไขสินทรัพย์หมุนเวียน เช่น เงินลงทุนในบริษัทย่อย,เงินให้กู้ยืมระยะยาว,ที่ดิน อาคารและอุปกรณ์,สินทรัพย์ไม่มีตัวตน : ที่ดิน อาคารและอุปกรณ์ = อาคาร,เครื่องจักร,เครื่องใช้สำนักงาน ฯ : สินทรัพย์ไม่มีตัวตน = สิทธิบัตร/ลิขสิทธิ์ ฯ

  6. หนี้สิน • ภาระผูกพันในปัจจุบันของกิจการ ซึ่งการชำระ ภาระผูกพันนั้นคาดว่าจะส่งผลให้กิจการสูญเสีย สินทรัพย์

  7. หนี้สินหมุนเวียน • สภาพคล่องสูง ต้องเข้าเงื่อนไขข้อใดข้อหนึ่ง 1. คาดว่าจะมีการชำระ/ถึงกำหนดชำระภายใน 1 รอบบัญชี 2. มีวัตถุประสงค์หลักไว้เพื่อค้า 3. กิจการไม่มีสิทธิที่จะเลื่อนการชำระหนี้ออกไปได้เกิน 1 รอบบัญชีโดยไม่ม่เงื่อนไข เช่น เงินเบิกเกินบัญชีธนาคาร,เจ้าหนี้,เงินกู้ยืมระยะสั้น,ค่าใช้จ่ายค้างจ่าย,ส่วนของหนี้สินระยะยาวที่ถึงกำหนดชำระภายใน 1 ปี

  8. หนี้สินไม่หมุนเวียน = ไม่เข้าเงื่อนไขสินทรัพย์หมุนเวียน เช่น เงินกู้ยืมระยะยาว,เจ้าหนี้เช่าซื้อ-สุทธิจากส่วนที่ถึงกำหนดชำระภายใน 1 ปี

  9. ส่วนของเจ้าของ(ส่วนของผู้ถือหุ้น)ส่วนของเจ้าของ(ส่วนของผู้ถือหุ้น) • ส่วนได้เสียคงเหลือในสินทรัพย์ของกิจการหลังจากหักหนี้สินทั้งสิ้นออกแล้ว = (มูลค่าของสิ่งที่นำมาลงทุน+กำไร/ขาดทุนที่ทำมาหาได้ทั้งสิ้น) สินทรัพย์ - หนี้สิน = ส่วนของเจ้าของ ส่วนของเจ้าของ = ทุน + กำไร(ขาดทุน)สะสม

  10. สมการบัญชี 1) = งบดุล DR = CR. สินทรัพย์ =หนี้สิน + ส่วนของเจ้าของ -สินทรัพย์หมุนเวียน -หนี้สินหมุนเวียน -ทุน -เงินสด -เงินเบิกเกินบัญชี -กำไร(ขาดทุน)สะสม -ลูกหนี้การค้า -เจ้าหนี้การค้า -สินค้าคงเหลือ -เงินกู้ยืมระยะสั้น -สินทรัพย์ไม่หมุนเวียน -หนี้สินไม่หมุนเวียน -สินทรัพย์ที่ไม่มีตัวตน -เงินกู้ยืมระยะยาว -ที่ดิน อาคารและอุปกรณ์

  11. กำไร(ขาดทุน)สะสม กำไรสะสม=ก/รสุทธิ(X1)+ข/ทสุทธิ(X2)-จ่ายเงินปันผล กำไรสุทธิ(+) = รายได้ - ค่าใช้จ่าย ขาดทุนสุทธิ(-) = รายได้ - ค่าใช้จ่าย 2) สินทรัพย์+ค่าใช้จ่าย=หนี้สิน+ส่วนของเจ้าของ+ รายได้

  12. รายได้ • การเพิ่มค่าของสินทรัพย์หรือการลดลงของหนี้สินในระหว่างรอบบัญชี ส่งผลให้ส่วนของเจ้าของเพิ่มขึ้น ( ไม่รวมถึงทุนจากผู้เป็นเจ้าของ ) 1. สินทรัพย์ = หนี้สิน + ( ทุน + รายได้ ) 2. สินทรัพย์ = หนี้สิน + ( ทุน + รายได้ )

  13. รายได้-สุทธิ • รายได้จากการขาย-สุทธิ รายได้จากการขาย 125 หัก รับคืน (15) หัก ส่วนลดจ่าย(10) รายได้จากการขาย-สุทธิ 100 • รายได้อื่น : ดอกเบี้ยรับ,กำไรจากการขายทรัพย์สิน ฯ

  14. ค่าใช้จ่าย • การลดค่าของสินทรัพย์หรือการเพิ่มขึ้นของหนี้สินในระหว่างรอบบัญชี ส่งผลให้ส่วนของเจ้าของลดลง ( ไม่รวมถึงการแบ่งปันคืนส่วนของผู้เป็นเจ้าของ ) 1. สินทรัพย์ + ค่าใช้จ่าย = หนี้สิน + ทุน 2. สินทรัพย์ + ค่าใช้จ่าย = หนี้สิน + ทุน

  15. ค่าใช้จ่าย (ต่อ) • ต้นทุนขาย/ต้นทุนบริการ/ต้นทุนผลิต • ค่าใช้จ่ายในการขายและบริหาร • ค่าใช้จ่ายอื่น :ดอกเบี้ยจ่าย,ขาดทุนจากการขายทรัพย์สิน ฯ

  16. ต้นทุนขาย(ซื้อมาขายไป)ต้นทุนขาย(ซื้อมาขายไป) สินค้าคงเหลือ ณ วันต้นงวด 30 บวก ซื้อ-สุทธิ 90 ต้นทุนสินค้าที่มีไว้เพื่อขาย 120 หัก สินค้าคงเหลือ (40) ต้นทุนขาย 80

  17. ซื้อ-สุทธิ ซื้อ 110 บวก ค่าขนส่งเข้า 20 หัก ส่งคืน (30) หัก ส่วนลดรับ (10) รายได้จากการขาย-สุทธิ 90

  18. ต้นทุนขาย(ผลิต) สินค้าคงเหลือ ณ วันต้นงวด 30 บวก ต้นทุนการผลิต 90 ต้นทุนสินค้าที่มีไว้เพื่อขาย 120 หัก สินค้าคงเหลือ (40) ต้นทุนขาย 80

  19. ต้นทุนการผลิต(ต่อ) :รายจ่ายเพื่อการผลิตสินค้า 1) วัตถุดิบใช้ไป (RM/DM)XXX 2) ค่าแรงงานทางตรง (DL) XXX 3) โสหุ้ยการผลิต (OH) XXX รวมต้นทุนที่ใช้ในการผลิตระหว่างงวด XXX บวก งานระหว่างทำ ณ วันต้นงวด XXX หัก งานระหว่างทำ ณ วันสิ้นงวด (xxx) ต้นทุนการผลิต xxx

  20. 1) วัตถุดิบใช้ไป(วัตถุดิบหลักที่ใช้ในการผลิต) วัตถุดิบคงเหลือ ณ วันต้นงวด 30 บวก ซื้อ-สุทธิ 90 ต้นทุนวัตถุดิบที่มีไว้เพื่อผลิต 120 หัก วัตถุดิบคงเหลือ (40) วัตถุดิบใช้ไป 80

  21. 2) ค่าแรงงานทางตรง • ค่าแรงงานพนักงานที่ใช้ในการผลิตสินค้าโดยตรง จากการทำงานในเวลาปกติของกิจการ

  22. 3) โสหุ้ยการผลิต • ต้นทุนคงที่(FIX COST) • ค่าเสื่อมราคาเครื่องจักร,อาคารโรงงาน • เงินเดือนผู้จัดการโรงงาน • ค่าเบี้ยประกันภัยโรงงาน • ค่าเช่าเครื่องจักร ฯ

  23. 3) โสหุ้ยการผลิต(ต่อ) • ต้นทุนผันแปรตามปริมาณการผลิต(VIRABLE COST) • วัตถุดิบทางอ้อม(IDM/IRM) เช่นอะไหล่น๊อตฯ • O/T,เบี้ยขยัน • ค่าไฟฟ้า-ประปา (ส่วนของโรงงาน) • ค่าบำรุงรักษาเครื่องจักร

  24. งานระหว่างทำ(WORK IN PROCESS) • มูลค่าของต้นทุนการผลิตที่ยังทำไม่เสร็จในงวดก่อน ต้องนำมาผลิตต่อในถัดมา

  25. สินทรัพย์ -สินทรัพย์หมุนเวียน -เงินสด -ลูกหนี้การค้า -สินค้าคงเหลือ -สินทรัพย์ไม่หมุนเวียน -สินทรัพย์ที่ไม่มีตัวตน -ที่ดิน อาคารและอุปกรณ์ หนี้สิน -หนี้สินหมุนเวียน -เงินเบิกเกินบัญชี -เจ้าหนี้การค้า -เงินกู้ยืมระยะสั้น -หนี้สินไม่หมุนเวียน -เงินกู้ยืมระยะยาว ส่วนของเจ้าของ -ทุน -กำไร(ขาดทุน)สะสม งบดุล

  26. รายได้จากการขาย-สุทธิรายได้จากการขาย-สุทธิ หัก ต้นทุนขาย กำไรขั้นต้น(GROSS PROFIT) หัก ค่าใช้จ่ายบริหาร/ดำเนินงาน รายได้อื่น หัก ค่าใช้จ่ายอื่น กำไรสุทธิ AAA (BBB) CCC (XXX) XXX (XXX) DDD งบกำไรขาดทุน

  27. ยอดคงเหลือ ณ วันต้นงวด เพิ่ม เพิ่มทุน กำไร(ขาดทุน)สุทธิ ลด ลดทุน/คืนทุน จ่ายเงินปันผล ยอดคงเหลือ ณ วันสิ้นงวด ทุนกำไรสะสม XXX XXX XXX XXX XXX XXX (XXX) (XXX) (XXX)(XXX) XXXXXX งบแสดงการเปลี่ยนแปลงส่วนของเจ้าของ(งบกำไรสะสม)

  28. ประกอบด้วย 1) งบดุล 2) งบกำไรขาดทุน 3) งบแสดงการเปลี่ยนแปลงส่วนของเจ้าของ 4) งบกระแสเงินสด 5) หมายเหตุประกอบงบการเงิน วัตถุประสงค์ 1) แสดงฐานะการเงิน 2) วัดผลการดำเนินงาน 3) แสดงการเปลี่ยนแปลงในส่วนของเจ้าของ 4) แสดงกระแสเงินสดรับ-จ่าย(จริง) แต่ละกิจกรรมของกิจการ 5) เป็นส่วนหนึ่งของงบการเงิน งบการเงิน

  29. หลักเกณฑ์นำเสนองบการเงินหลักเกณฑ์นำเสนองบการเงิน • เกณฑ์คงค้าง : การรับรู้รายการเมื่อเกิดขึ้นตามงวดบัญชีที่เกี่ยวข้อง โดยไม่คำนึงว่าจะมีการรับ-จ่ายเงินสด/รายการเทียบเท่าเงินสดเมื่อใด 1) งบดุล 2) งบกำไรขาดทุน 3) งบแสดงการเปลี่ยนแปลงส่วนของเจ้าของ • เกณฑ์เงินสด 1) งบกระแสเงินสด

  30. จุดส่งมอบสินค้า(ต่างประเทศ)จุดส่งมอบสินค้า(ต่างประเทศ) • F.0.B(Fee On Board)=มูลค่าสินค้า(INVOICE) • Shipping = พิธีการออกของ(ศุลกากร) • Destination = ปลายทาง F.0.BShippingPoint F.0.BDestinationPoint |____________|

  31. การวิเคราะห์รายการค้าการวิเคราะห์รายการค้า • นำเงินสดทุนมาลงทุน 400 • ซื้อเครื่องคอมพิวเตอร์เป็นเงินเชื่อ 100 • รับเงินกู้ยืมจากธนาคาร 300 • ซื้อสินค้าเป็นเงินเชื่อ 140 • รับเงินกู้ยืมจากกู้ยืมจากกรรมการ 100 • ขายสินค้าเป็นเงินเชื่อ 200 (ส่งมอบสินค้าแล้ว) • จ่ายค่าเบี้ยประกันภัยเป็นเงินสด 120 (สำหรับการประกัน 1/4/51-31/3/52) • จ่ายค่าเงินเดือนพนักงานโดยจ่ายเช็ค 80

  32. +400 +100 +300 +140 +100 +200 -120 +120 -80+80 +900 +340 = +400 = +100 = +300 = +140 = +100 = +200 = = ____ ______ ____ = +640 +400+200 A + E = L + SE + R

  33. รายการปรับปรุง (ให้ถูกต้อง/ตามงวดบัญชี) 31 ธค.25x1 ____________________________|____________________________ A B A = ค่าใช้จ่าย ,รายได้ในงวดบัญชีปกติ ต้อง ป/ป ค่าใช้จ่ายค้างจ่าย,รายได้ค้ารับ B = ค่าใช้จ่ายจ่ายล่วงหน้า,รายได้รับล่วงหน้า

  34. รายการปรับปรุง (ให้ถูกต้อง/ตามงวดบัญชี) ต่อ A -รายได้ค้างรับ เช่น ดอกเบี้ยค้างรับ A -ค่าใช้จ่ายค้างจ่าย เช่น ค่าไฟฟ้า,ประปา,โทร.,ค่าสอบบัญชีค้างจ่าย B -ค่าใช้จ่ายจ่ายล่วงหน้า เช่น ค่าเช่าจ่ายล่วงหน้า,ค่าเบี้ยฯจ่ายล่วงหน้าฯ B -รายได้รับล่วงหน้า เช่น ค่าเช่ารับล่วงหน้า,รายได้ค่าโฆษณารับล่วงหน้า

  35. การวิเคราะห์รายการค้าการวิเคราะห์รายการค้า • ยังไม่ได้บันทึกดอกเบี้ยเงินฝากธนาคาร 10 • ยังไม่ได้บันทึกค่าน้ำ ,ค่าไฟฟ้า,ประปา,โทรศัพท์ค้างจ่าย 180 • เงินค่าขายสินค้า 200 (ยังไม่ได้ส่งมอบสินค้า) (รับเงินมาก่อนล่วงหน้า) • จ่ายค่าเบี้ยประกันภัยเป็นเงินสด 120 (สำหรับการประกัน 1/4/51-31/3/52)

  36. +900 +340 +10 +180 +30-30 +940+490 = +640 +400+200 = +10 = +180 = +200 -200 =____ _____ ____ = +1020 +400+10 A + E = L + SE + R

  37. ขั้นตอนจัดทำบัญชี เอกสาร สมุดรายวันขั้นต้น บัญชีแยกประเภท งบทดลอง/กระดาษทำการ งบการเงิน

  38. งบกระแสเงินสด • หลักการจัดทำ • ปรับกระทบกำไร(ขาดทุน)สุทธิ ทางบัญชีตามเกณฑ์คงค้าง ให้เป็นเกณฑ์เงินสดรับ-จ่าย(จริง)

  39. งบกระแสเงินสด • หลักการจัดทำ • ปรับกระทบกำไร(ขาดทุน)สุทธิ ทางบัญชีตามเกณฑ์คงค้าง ให้เป็นเกณฑ์เงินสดรับ-จ่าย(จริง) ง/ส + ส/ทไม่ใช่ง/ส = น/ส + ทุน ง/ส = น/ส + ทุน - ส/ทไม่ใช่ง/ส ง/ส = น/ส + ทุน - ส/ทไม่ใช่ง/ส

  40. สินทรัพย์ -สินทรัพย์หมุนเวียน -เงินสด -ลูกหนี้การค้า -สินค้าคงเหลือ -สินทรัพย์หมุนเวียนอื่น -สินทรัพย์ไม่หมุนเวียน -สินทรัพย์ที่ไม่มีตัวตน -ที่ดิน อาคารและอุปกรณ์ งบกระแสเงินสด(ทางอ้อม) ต่อ

  41. หนี้สิน -หนี้สินหมุนเวียน -เงินเบิกเกินบัญชี -เจ้าหนี้การค้า -เงินกู้ยืมระยะสั้น -หนี้สินไม่หมุนเวียน -เงินกู้ยืมระยะยาว ส่วนของเจ้าของ -ทุน งบกระแสเงินสด(ทางอ้อม) ต่อ

  42. การคำนวณ(ตี)ราคาสินค้าคงเหลือการคำนวณ(ตี)ราคาสินค้าคงเหลือ

  43. การคำนวณ(ตี)ราคาสินค้าคงเหลือการคำนวณ(ตี)ราคาสินค้าคงเหลือ 1)Specific identification : คำนวณตามต้นทุนจริงแต่ละหน่วยของสินค้า มักใช่กับสินค้าซึ่งระบุความเป็นตัวตนแยกเป็นอิสระได้ และมี มูลค่าสูง เช่น เพชร , นาฬิกา Limited Edition ,ที่ดิน มูล่าสินค้าคงเหลือ =…………… 1@ 22 = 22 6@ 25 = 150 2@ 45 = 90 262

  44. การคำนวณ(ตี)ราคาสินค้าคงเหลือการคำนวณ(ตี)ราคาสินค้าคงเหลือ 2) Fist – in , Fist – out(FIFO) : เสมือนว่า สินค้าที่ซื้อมาก่อนจะถูกขายออกไปก่อน ดังนั้นสินค้าคงเหลือจึงเป็นสินค้าที่ซื้อมาครั้งหลังๆ วิธีนี้จะทำให้มูลค่าสินค้าคงเหลือใกล้เคียงกับปัจจุบันมากที่สุด มักใช้กับสินค้าประเภททั่วไปที่ไม่มีลักษณะเฉพาะ เช่น คอมพิวเตอร์ฯ มูล่าสินค้าคงเหลือ =…………… 4@ 29 = 116 3@ 35 = 105 2@ 45 = 90 311

  45. การคำนวณ(ตี)ราคาสินค้าคงเหลือการคำนวณ(ตี)ราคาสินค้าคงเหลือ 3) Last – in , Fist – out(LIFO) : เสมือนว่า สินค้าที่ซื้อมาครั้งหลังๆจะถูกขายออกไปก่อน ดังนั้นสินค้าคงเหลือจึงเป็นสินค้าที่ซื้อมาตั้งแต่ครั้งแรกๆ วิธีนี้จะทำให้มูลค่าต้นทุนสินค้าที่ขายใกล้เคียงกับปัจจุบันมากที่สุด วิธีนี้มักไม่นิยมใช้ มูล่าสินค้าคงเหลือ =…………… 9@ 22 = 198 198

  46. การคำนวณ(ตี)ราคาสินค้าคงเหลือการคำนวณ(ตี)ราคาสินค้าคงเหลือ 4) Weighted – average(WA) : เสมือนว่าสินค้าที่ซื้อมาและขายออกไปจะมีต้นทุนเฉลี่ยเท่ากันทุกๆหน่วย ดังนั้นสินค้าคงเหลือจึงเป็นราคาเฉลี่ยของสินค้าที่ซื้อมาทั้งหมด วิธีนี้จะทำให้ต้นทุนสินค้าที่ขายออกไปใกล้เคียงกันตลอด มักใช้กับสินค้าที่ไม่มีลักษณะเฉพาะและราคาสินค้าไม่ผันผวนสูง เช่น สินค้าแมสโปรดักส์ มูล่าสินค้าคงเหลือ =……………

  47. ระบบบัญชีสินค้าคงเหลือ ณ วันสิ้นงวด • แบบสิ้นงวด(Periodic) :บันทึกบัญชีสินค้า เมื่อวันสิ้นงวดครั้งเดียวจากการตรวจนับ และแสดงในงบกำไรขาดทุน ณ วันสิ้นงวดที่บันทึกเท่านั้น • แบบต่อเนื่อง(Perpetual) :บันทึกความเคลื่อนไหวของบัญชีสินค้า ทุกครั้งที่มีรายการเกี่ยวกับสินค้าเกิดขึ้น จะทำให้เห็นความเคลื่อนไหวของบัญชีสินค้าตลอดเวลา โดยจะมีการคำนวณต้นทุนสินค้าทุกครั้งที่มีการขาย

  48. ระบบบัญชีสินค้าคงเหลือ ณ วันสิ้นงวดแบบสิ้นงวด(Periodic) EX.1 ซื้อสินค้าเป็นเงินเชื่อ 120 EX.2 ขายสินค้าเป็นเงินเชื่อ 100 EX.3 ตรวจนับสินค้า ณ วันสิ้นงวด= 40 A + E = L +SE+ R Ex.1 (ซื้อ) +120 +120 Ex.2 +100 +100 Ex.3 +40 (ส/คป) -40 ต้นทุนขาย 80

  49. ระบบบัญชีสินค้าคงเหลือ ณ วันสิ้นงวดแบบต่อเนื่อง(Perpetual) EX.1 ซื้อสินค้าเป็นเงินเชื่อ 120 EX.2 ขายสินค้าเป็นเงินเชื่อ 100 EX.3 ตรวจนับสินค้า ณ วันสิ้นงวด= 40 A + E = L +SE+ R Ex.1 (ส/ค) +120 +120 Ex.2 +100 +100 (ส/ค) - 80 (ต/ทขาย) -80 Ex.3 +0 (ส/คป) 0

  50. ผลกระทบจากสินค้าคงเหลือผลกระทบจากสินค้าคงเหลือ รายได้จากการขาย-สุทธิ สินค้าคงเหลือต้นงวด บวก ซื้อ-สุทธิ หัก สินค้าคงเหลือปลาย ต้นทุนขาย หัก ค่าใช้จ่ายดำเนินงาน กำไรสุทธิ ทำให้ต้นทุนขายแสดง ทำให้กำไรสุทธิแสดง

More Related