1 / 15

“ ยุทธศาสตร์กระทรวงการคลัง ที่ผู้บริหารพึงตระหนัก”

“ ยุทธศาสตร์กระทรวงการคลัง ที่ผู้บริหารพึงตระหนัก”. ดร.อารีพงศ์ ภู่ชอุ่ม ปลัดกระทรวงการคลัง 29 ตุลาคม 2555. กระบว น ทัศน์ใหม่ของการพัฒนาประเทศ. Value Added Economy. Value Creation Economy. Innovation-Driven Creative Economy Socially Responsible Business. Economic Wealth

Télécharger la présentation

“ ยุทธศาสตร์กระทรวงการคลัง ที่ผู้บริหารพึงตระหนัก”

An Image/Link below is provided (as is) to download presentation Download Policy: Content on the Website is provided to you AS IS for your information and personal use and may not be sold / licensed / shared on other websites without getting consent from its author. Content is provided to you AS IS for your information and personal use only. Download presentation by click this link. While downloading, if for some reason you are not able to download a presentation, the publisher may have deleted the file from their server. During download, if you can't get a presentation, the file might be deleted by the publisher.

E N D

Presentation Transcript


  1. “ยุทธศาสตร์กระทรวงการคลัง“ยุทธศาสตร์กระทรวงการคลัง ที่ผู้บริหารพึงตระหนัก” ดร.อารีพงศ์ ภู่ชอุ่ม ปลัดกระทรวงการคลัง 29 ตุลาคม 2555

  2. กระบวนทัศน์ใหม่ของการพัฒนาประเทศกระบวนทัศน์ใหม่ของการพัฒนาประเทศ Value Added Economy ValueCreation Economy • Innovation-Driven • Creative Economy • Socially Responsible Business • Economic Wealth • Environmental Wellness • Social Wellbeing • Human Wisdom Imbalanced Balanced Economic Monopoly Economic Democracy • Fair Competition • People Empowerment • Wisdom at the Bottom of the Pyramid • Regional Connectivity • SMEs /Community-based Enterprise Local Economy Global Economy • Strategic Trade Rebalancing • Offshore Farming • Access to Global Supply • Domestic Market Expansion • Regionalizing Thai Enterprises

  3. ทุกภาคส่วนร่วมกันขับเคลื่อนการพัฒนาประเทศทุกภาคส่วนร่วมกันขับเคลื่อนการพัฒนาประเทศ ภาครัฐ (Public Sector) การปกครองส่วนท้องถิ่น การให้เอกชนร่วมลงทุนในกิจการของรัฐ (PPP) ความร่วมมือระหว่าง รัฐ-เอกชน-ประชาชน (Public-Private-People Collaboration) ภาคประชาชน (People Sector) ภาคเอกชน (Private Sector) องค์กรไม่แสวงผลกำไร (NGOs) การดำเนินธุรกิจด้วยความรับผิดชอบ ต่อสังคมและสิ่งแวดล้อม (CSR) ผู้ประกอบการ/กิจการเพื่อสังคม (Social Enterpreneur/Enterprise)

  4. การมีส่วนรวมในผลประโยชน์จากการเติบโตทางเศรษฐกิจการมีส่วนรวมในผลประโยชน์จากการเติบโตทางเศรษฐกิจ รัฐ ใหญ่ คนรวย ระดับสถาบัน ระดับบุคคล ลด ความเหลื่อมล้ำ Micro Enterprises ชนชั้นกลาง กลาง ส่งเสริมการมีส่วนร่วม ในการตัดสินใจ ทางเศรษฐกิจ ของประชาชน • เกษตรกร • ผู้ประกอบอาชีพอิสระ • ลูกจ้างนอกระบบประกันสังคม • ผู้ด้อยโอกาส ผู้มีรายได้น้อย เล็ก วิสาหกิจชุมชน จิ๋ว ประชาชน เอกชน เพิ่มศักยภาพ การแข่งขัน เศรษฐกิจนอกระบบ ความยั่งยืน ทางการคลัง

  5. เป้าหมายด้านการเจริญเติบโตทางเศรษฐกิจเป้าหมายด้านการเจริญเติบโตทางเศรษฐกิจ รายได้ประชาชาติต่อหัว, US$ • หาก GDP เติบโตในอัตราปัจจุบัน ไทยจะเป็นประเทศรายได้สูงในปี 2579 • หาก GDP มีอัตราการเติบโตเท่ากับช่วงก่อนวิกฤตเศรษฐกิจปี 2540 ประเทศไทยจะเป็นประเทศรายได้สูงในปี 2564 • หาก GDP เติบโตในอัตราต่ำกว่าปัจจุบัน 1% ประเทศไทยจะเป็นประเทศรายได้สูงในปี 2585 • หากต้องการเป็นประเทศรายได้สูงในปี 2568GDP ต้องเติบโตในอัตราสูงกว่าปัจจุบัน 3.3% ต่อปี คิดเป็น GDP ต้องเติบโตเพิ่มขึ้นทั้งหมด 58.2% 58.2%

  6. กรณีศึกษาที่ 2 : ความเหลื่อมล้ำ โครงสร้างการกระจายรายได้ของไทย พ.ศ. 2531-2552 ความมั่นคงทางสังคม -- ประเทศไทยมีปัญหาความเหลื่อมล้ำทางสังคม โดยสัดส่วนการกระจายได้สะท้อนกลุ่มคนรายได้สูงสุด 10% มีรายได้มากกว่ารายได้ของกลุ่มคนรายได้ต่ำสุด 10% กว่า 24เท่า ที่มา คำนวณโดย สศช.

  7. โครงสร้างวิสาหกิจไทย (2554) สัดส่วนผลผลิตใน GDP(ภาคนอกเกษตร) *** จำนวนวิสาหกิจ (ภาคนอกเกษตร) ** จำนวน 70,304 แห่ง จำนวนสมาชิก 1,199,332 ราย * (ณ 30 มิ.ย. 2555) 45.6% 6,253 ราย ใหญ่ 12.1% 11,709 ราย 24.5% 2,634,840 ราย กลาง เล็ก วิสาหกิจชุมชน จิ๋ว เศรษฐกิจนอกระบบ Micro Enterprises ที่มา: สำนักงานส่งเสริมวิสาหกิจขนาดกลางและขนาดย่อม (สสว.), กรมส่งเสริมการเกษตร หมายเหตุ : * เป็นวิสาหกิจชุมชนที่ได้รับการจดทะเบียนตาม พ.ร.บ. ส่งเสริมวิสาหกิจชุมชน พ.ศ. 2548 ** ข้อมูลจำนวนวิสาหกิจบางส่วนอาจเหลื่อมกับข้อมูลจำนวนวิสาหกิจชุมชน *** นอกจากนี้ ยังมีวิสาหกิจภาคเกษตร 13.3% และวิสาหกิจอื่น ๆ ภาคนอกเกษตร 4.5%

  8. เงินงบประมาณ พ.ศ. 2553 - 2556 ล้านบาท

  9. รายละเอียดรายจ่ายประจำ ปีงบประมาณ พ.ศ. 2553 - 2556

  10. เป้าหมาย ยุทธศาสตร์ สนับสนุนศักยภาพและเพิ่มความสามารถการแข่งขัน 1. สนับสนุนการจัดตั้งธุรกิจ การพัฒนาภาคเอกชนให้เกิดการสร้างมูลค่า (Value Creation) 1. เสริมสร้างความมั่นคงทางการคลัง รักษาความยั่งยืน ทางการคลัง ลดความเหลื่อมล้ำ ทางเศรษฐกิจและสังคม 1. เพิ่มโอกาสทางเศรษฐกิจให้แก่คนฐานราก 2. ส่งเสริมความโปร่งใสในการดำเนินงานของภาครัฐ (Anti-Corruption) 2. สร้างระบบสวัสดิการพื้นฐานให้ทั่วถึงและมีคุณภาพ (Social Safety Net) 2. เชื่อมโยงธุรกิจเพื่อก้าวสู่เศรษฐกิจระดับภูมิภาคและระดับโลก 3. เพิ่มประสิทธิภาพในการทำงานของกระทรวงการคลัง 3. กระจายรายได้และการถือครองทรัพย์สินอย่างเป็นธรรม 3. พัฒนาโครงสร้างพื้นฐานเพื่อเพิ่มศักยภาพการแข่งขัน

  11. เป้าหมาย ยุทธศาสตร์ กลยุทธ์ 1.1 พัฒนาทุนมนุษย์ 1.2 เสริมสร้างศักยภาพทางการเงิน 1.3 ส่งเสริมเศรษฐกิจฐานราก 1. เพิ่มโอกาสทางเศรษฐกิจให้แก่คนฐานราก ลดความเหลื่อมล้ำ ทางเศรษฐกิจและสังคม 2.1 ขยายความคุ้มครองสวัสดิการสังคมให้ครอบคลุมประชาชนทุกกลุ่ม 2.2 ปรับปรุงสิทธิประโยชน์และการบริหารจัดการสวัสดิการของภาครัฐ 2.3 ลดรายจ่ายของผู้มีรายได้น้อย 2. สร้างระบบสวัสดิการพื้นฐานให้ทั่วถึงและมีคุณภาพ (Social Safety Net) 3. กระจายรายได้และการถือครองทรัพย์สินอย่างเป็นธรรม 3.1 ปฏิรูปกลไกการกระจายรายได้และทรัพย์สิน

  12. เป้าหมาย ยุทธศาสตร์ กลยุทธ์ 1. สนับสนุนการจัดตั้งธุรกิจ การพัฒนาภาคเอกชนให้เกิดการสร้างมูลค่า (Value Creation) 1.1 เพิ่มขีดความสามารถธุรกิจ SMEs และ Microenterprises 1.2 ส่งเสริมการวิจัยและพัฒนา นวัตกรรมของภาคเอกชน 1.3 ส่งเสริมเศรษฐกิจสีเขียว สนับสนุนศักยภาพและเพิ่มความสามารถการแข่งขัน 2.1 สนับสนุนการพัฒนาห่วงโซ่อุปทาน 2.2 ใช้มาตรการทางการเงินการคลังเพื่อส่งเสริมการค้าการลงทุนของไทยในต่างประเทศ 2. เชื่อมโยงธุรกิจเพื่อก้าวสู่เศรษฐกิจระดับภูมิภาคและระดับโลก 3.1 ปรับปรุง/พัฒนากฎระเบียบเพื่อเพิ่มศักยภาพการแข่งขันทางธุรกิจและการลงทุนของประเทศ 3.2 ผลักดันการลงทุนในโครงสร้างพื้นฐานทางกายภาพ 3.3 เพิ่มประสิทธิภาพระบบการเงิน 3. พัฒนาโครงสร้างพื้นฐานเพื่อเพิ่มศักยภาพการแข่งขัน

  13. 1 บริหารจัดการรายได้อย่างมีประสิทธิภาพ 1.2 บริหารจัดการรายจ่ายอย่างมีประสิทธิภาพ 1.3 บริหารจัดการทรัพย์สินของรัฐและรัฐวิสาหกิจอย่างมีประสิทธิภาพ 1.4 บริหารจัดการหนี้สินและความเสี่ยงทางการคลัง เป้าหมาย ยุทธศาสตร์ กลยุทธ์ 1. เสริมสร้างความมั่นคงทางการคลัง รักษาความยั่งยืน ทางการคลัง 2. ส่งเสริมความโปร่งใสในการดำเนิน งานของภาครัฐ (Anti-Corruption) 2.1 ขจัดโอกาสทุจริต 3.1 ปรับปรุงระบบฐานข้อมูล 3.2 พัฒนาบุคลากร 3.3 พัฒนาระบบบริหารจัดการ 3. เพิ่มประสิทธิภาพในการทำงานของกระทรวงการคลัง

  14. 23 แผนงาน (Strategic Projects) เป้าหมาย ยุทธศาสตร์ การเงินเพื่อประชาชน (Financial Inclusion) (สศค,SFI) การเพิ่มศักยภาพทุนมนุษย์ ระบบสวัสดิการพื้นฐานและรองรับสังคมผู้สูงอายุ (สศค,สคร, บก) ความมีส่วนร่วมของประชาชนเพื่อลดความเหลื่อมล้ำ(สรรพากร) การปฏิรูปภาษีเพื่อลดความเหลื่อมล้ำ(สศค, ธร, สรรพากร, สรรพสามิต) ทรัพย์สินภาครัฐเพื่อเพิ่มศักยภาพคนฐานล่าง การบูรณาการแผนปฏิรูป SMEs (สศค., SFI, สรรพากร, สคร.) การเพิ่ม R&D และนวัตกรรม(สศค, สรรพากร, สคร, บก) การปฏิรูปภาษีให้มีความทันสมัย(สรรพากร, สรรพสามิต, ศุลกากร, สศค) การปฏิรูปการจัดซื้อจัดจ้างภาครัฐและรัฐวิสาหกิจ(บก) การเชื่อมโยงธุรกิจสู่สากล(สศค, ศุลกากร, สคร) การบริหารรายได้(3 กรมภาษี, สคร, ธร) การพัฒนาโครงสร้างพื้นฐาน(สบน, สคร, สศค) การบริหารรายจ่าย(บก, สคร) แผนพัฒนาตลาดทุน(สศค, สบน, สรรพากร) การบริหารทรัพย์สินภาครัฐ(ธร, สคร) แผนพัฒนาธุรกิจประกันภัย(สศค, สบน) บริหารจัดการหนี้สินและความเสี่ยงทางการคลัง แผนพัฒนาระบบสถาบันการเงิน(สศค, สคร, SFI, สรรพากร ) การส่งเสริมธรรมาภิบาล(บก) แผนแม่บท IT กระทรวงการคลัง(สป) การพัฒนาบุคลากร(สป, ทุกหน่วยงาน) การพัฒนาระบบบริหารจัดการ(ทุกหน่วยงาน)

More Related