1 / 67

การขับเคลื่อนเศรษฐกิจพอเพียง สู่สถานศึกษา

การขับเคลื่อนเศรษฐกิจพอเพียง สู่สถานศึกษา. โดย ดร.จรวยพร ธรณินทร์ ปลัดกระทรวงศึกษาธิการ 19 มกราคม2550 โรงแรม. สาระ. กระทรวงศึกษาธิการบรรจุโครงการเศรษฐกิจพอเพียงภายใต้แผนงานคุณธรรมนำความรู้ หลักการของเศรษฐกิจพอเพียง แนวบริหารจัดการเศรษฐกิจพอเพียงในสถานศึกษา แหล่งค้นหาตัวอย่างและข้อมูลดีๆ

macon
Télécharger la présentation

การขับเคลื่อนเศรษฐกิจพอเพียง สู่สถานศึกษา

An Image/Link below is provided (as is) to download presentation Download Policy: Content on the Website is provided to you AS IS for your information and personal use and may not be sold / licensed / shared on other websites without getting consent from its author. Content is provided to you AS IS for your information and personal use only. Download presentation by click this link. While downloading, if for some reason you are not able to download a presentation, the publisher may have deleted the file from their server. During download, if you can't get a presentation, the file might be deleted by the publisher.

E N D

Presentation Transcript


  1. การขับเคลื่อนเศรษฐกิจพอเพียงสู่สถานศึกษาการขับเคลื่อนเศรษฐกิจพอเพียงสู่สถานศึกษา โดย ดร.จรวยพร ธรณินทร์ ปลัดกระทรวงศึกษาธิการ 19 มกราคม2550 โรงแรม

  2. สาระ • กระทรวงศึกษาธิการบรรจุโครงการเศรษฐกิจพอเพียงภายใต้แผนงานคุณธรรมนำความรู้ • หลักการของเศรษฐกิจพอเพียง • แนวบริหารจัดการเศรษฐกิจพอเพียงในสถานศึกษา • แหล่งค้นหาตัวอย่างและข้อมูลดีๆ • เปิดศักราชใหม่กิจกรรมนักเรียน

  3. คุณธรรมนำความรู้ น้อมนำสู่เศรษฐกิจพอเพียง • ปี2550 นโยบายรัฐบาลและศธ. เน้นคุณธรรมนำความรู้ - วิถีประชาธิปไตย(สถานศึกษาบริหารอย่างประชาธิปไตย/สอดแทรกในการสอน/จัดกิจกรรมสภานักเรียน /เรียนรู้จากภูมิปัญญาท้องถิ่น /มีเครือข่ายถ่ายทอดความรู้) -สมานฉันท์(จิตสำนึกเป็นพวกเดียวกัน/ มีเอกภาพในความหลากหลาย /เป็นมิตรต่อกัน /พึ่งพาอาศัยกัน/ไว้วางใจกัน/สร้างพลังร่วมของหมู่คณะ) - สันติสุข( คารวะธรรม / ปัญญาธรรม / สามัคคีธรรม) - เศรษฐกิจพอเพียง(พอประมาณ / มีเหตุผล / มีภูมิคุ้มกันในตัว)

  4. ทิศทางใหม่การจัดการศึกษาในยุโรปเริ่มตั้งแต่ปี 2004 เน้นการสร้างวิถีประชาธิปไตยและหน้าที่พลเมือง 1. ให้เข้าถึงข้อมูลกฎหมาย ข่าวสารผ่านอินเตอร์เน็ต,นสพ.,วิทยุ.ทีวี จัดทำโดยนักเรียน 2. เน้นให้สถาบันการศึกษาส่งเสริมการร่วมพัฒนานโยบาย 3. ให้นักเรียนเข้าร่วมกิจกรรมชมรม/กิจกรรมสังคม 4.ส่งเสริมสิทธิและประชาธิปไตยในสถานศึกษา เปิดให้นักเรียน ประเมินสถานศึกษาผ่านอินเตอร์เน็ตได้ 5. ส่งเสริมให้นักเรียนรู้จักสิทธิเด็กตามกฎหมาย 52

  5. การทำงานแบบสมานฉันท์โดยสร้างเครือข่ายการทำงานแบบสมานฉันท์โดยสร้างเครือข่าย • ทำบันทึกผลประโยชน์ร่วมกันระหว่างหน่วยงาน/ผู้ร่วมงาน • ทำบัญชีรายชื่อหน่วยงานเกี่ยวข้อง / ทำบัญชีเว็บไซต์ • ไปเยี่ยมศึกษาดูงานแลกข้อมูลซึ่งกันและกัน • บทบาทผู้ให้และผู้รับทุนสนับสนุน • ขอใช้เป็นแหล่งวิชาการหรือฝึกอบรม • มีกลุ่มเครือข่ายแม่ข่ายและลูกข่าย • ทำโครงการร่วมกันตามเงื่อนไขที่ตกลงกัน 13

  6. ภายใต้แผนงานคุณธรรมนำความรู้ กิจกรรมฉลอง80พรรษาและโครงการเศรษฐกิจพอเพียง • 1. สกก. -ค่ายลูกเสือยุวกาชาดเรียนรู้เศรษฐกิจพอเพียง • 2. สคบศ.-การฝึกอบรมผู้บริหารสร้างสถานศึกษา/องค์กรเรียนรู้เศรษฐกิจพอเพียง • 3. กพร.-ใช้เศรษฐกิจพอเพียงเป็นดัชนีวัดผลงานความสำเร็จ • 4. สอ.– จัดหลักสูตรฝึกอบรมข้าราชการทุกคน/OD ต้องรู้เศรษฐกิจพอเพียง • 5. สนย.-จัดทำงานวิจัย แนวคิดการสร้างหลักเศรษฐกิจพอเพียงในระบบการศึกษาอย่างยิ่งยืน

  7. ภายใต้แผนงานคุณธรรมนำความรู้ กิจกรรมฉลอง80พรรษาในหลวงและโครงการเศรษฐกิจพอเพียง • 6. ศทก. - ประกวดผลงาน สื่อ electronics ของครู + เยาวชนในเรื่อง เศรษฐกิจพอเพียง • 7. สตผ.- ส่งผู้ตรวจราชการค้นหา Best Practices เศรษฐกิจพอเพียงในเขตตรวจราชการ 12+ กทม. • 8. กคศ.- จัดฝึกอบรมผู้บริหารการศึกษาในเรื่องคุณธรรมและเศรษฐกิจพอเพียง • 9. สช. - ส่งเสริมโรงเรียนเอกชนทุกประเภทนำหลักสูตรเศรษฐกิจพอเพียงไปสอน+จัดกิจกรรมเสริม

  8. ภายใต้แผนงานคุณธรรมนำความรู้กิจกรรมฉลอง80พรรษาในหลวงและโครงการเศรษฐกิจพอเพียงภายใต้แผนงานคุณธรรมนำความรู้กิจกรรมฉลอง80พรรษาในหลวงและโครงการเศรษฐกิจพอเพียง กศน. - จัดการเรียนรู้เพื่อพัฒนาเศรษฐกิจพอเพียง ชุมชนต้นแบบ 1 ชุมชนในทุกอำเภอ • จัดการความรู้เพื่อพัฒนาพื้นที่สูงอย่างยิ่งยืน โดยจัดร่วมกับ สถาบันวิจัยและพัฒนาพื้นที่สูง • องค์การมหาชน/มูลนิธิโครงการหลวง/มช./สป. (5 หน่วยงาน) • วิถีชีวิตของชุมชนพื้นที่สูง • การผลิตอาหารกิจกรรมหมู่บ้าน กลุ่มสหกรณ์ กลุ่มแม่บ้าน กลุ่มอาชีพ • ใช้องค์ความรู้จากโครงการหลวง ในเรื่องระบบนิเวศดิน/น้ำ/ป่า/ความรู้อาชีพ/การสร้างส่วนร่วมของชุมชน • กศน. เปิดศูนย์การเรียนรู้ชุมชนของไทยภูเขา

  9. คุณธรรมนำความรู้ น้อมนำสู่เศรษฐกิจพอเพียง ระยะเวลาของสร้างคุณธรรมในระบบการศึกษาไทย- งาน 3 ระยะ 1. ร่วมคิด - ร่วมเข้าใจตรงกัน 2. ร่วมวางแผน - แบ่งงานกันทำ 3. ร่วมทำ - รณรงค์-เห็นผล ยุทธศาสตร์กระทรวงศึกษาธิการ 1. สร้างครอบครัวอบอุ่นมาร่วมมือโรงเรียนและชุมชน บ้าน-วัด-โรงเรียน 2. สร้างวัฒนธรรมสถานศึกษา 3. สร้างเครือข่ายสังคม

  10. ยุทธศาสตร์คุณธรรมนำความรู้ ในส่วน สป. • 1. สนับสนุนระบบดูแลช่วยเหลือนักเรียนและระบบดูแลความ ปลอดภัยของสถานศึกษา ให้เป็นไปตาม พรบ. คุ้มครองเด็ก พศ. 2546 • 2. พัฒนาเครือข่ายเสมารักษ์เพื่อส่งเสริมความประพฤตินักเรียน นักศึกษาตั้งแต่รับเรื่องร้องทุกข์ –ตรวจเยี่ยมสถานการณ์เสี่ยง -ฟื้นฟู-ส่งต่อ-การป้องกัน • 3. จัดระบบประสาน-ติดตาม-รายงาน–และเฝ้าระวังเพื่อ วิเคราะห์สถานการณ์ ในภาพรวมระดับเขต/จังหวัด/ประเทศ • 4. จัดการความรู้โดยการประชาสัมพันธ์/เผยแพร่/ยกย่อง สถานศึกษา/ครู/นักเรียนที่ทำดี

  11. คุณธรรมนำความรู้ น้อมนำสู่เศรษฐกิจพอเพียง • สน. - โครงการเผยแพร่กฎหมายที่เกี่ยวกับคุณธรรม • ศทก. - โครงการอินเตอร์เน็ตสร้างสรรค์และปลอดภัยสำหรับเยาวชน • สกก. - โครงการลูกเสือ ยุวกาชาด ร่วมด้วยช่วยประชาชน - โครงการค่ายเยาวชนลูกเสือ ยุวกาชาด เศรษฐกิจพอเพียง,ลูกเสือ ยุวกาชาดทำเพ็ญประโยชน์ - โครงการงานชุมนุมลูกเสือ ยุวกาชาด • สคบศ. - โครงการส่งเสริมครูต้นแบบ - โครงการเครือข่ายวิถีพุทธ - โครงการกิจกรรมนำความรู้

  12. คุณธรรมนำความรู้ น้อมนำสู่เศรษฐกิจพอเพียง • สนย.- โครงการศึกษาวิจัยการเสริมสร้างคุณลักษณะที่พึงประสงค์ให้แก่ผู้เรียนในสถานศึกษา - โครงการนำหลักเศรษฐกิจพอเพียงไปสู่สถานศึกษา • สตผ.- โครงการนำเสนอสถานศึกษาที่เป็น Best Practices ด้านการนำคุณธรรมจริยธรรมมาใช้ในสถานศึกษา - โครงการอบรมครูใน ๓ จังหวัดชายแดนภาคใต้ โดยใช้ หลักคุณธรรมจริยธรรม • สต. - โครงการสร้างคุณธรรมด้วยหลักธรรมของท่านพุทธทาสภิกขุ

  13. คุณธรรมนำความรู้ น้อมนำสู่เศรษฐกิจพอเพียง • สอ. - ประชาสัมพันธ์เผยแพร่และจัดการความรู้ผลงาน • กพร. - โครงการปับกระบวนทัศน์วัฒนธรรมองค์กรแห่งคุณธรรมและโปร่งใส มีบรรยากาศแห่งการเรียนรู้ร่วมกัน • กศน. - โครงการส่งเสริมคุณธรรมนำความรู้ - โครงการส่งเสริมการดำเนินงานเศรษฐกิจพอเพียง - โครงการวิจัยส่งเสริมประชาธิปไตยใน กศน. • กคศ. - โครงการพัฒนาคุณธรรมจริยธรรมของข้าราชการ - โครงการอบรมการบริหารสถานศึกษา โดยใช้ระบบคุณธรรม • สช. - โครงการศาสนสัมพันธ์

  14. การสอนที่ส่งเสริมคุณธรรมนำความรู้การสอนที่ส่งเสริมคุณธรรมนำความรู้ 1.ส่งเสริมให้ผู้เรียนมีคุณธรรมขั้นพื้นฐาน : ความรับผิดชอบ + ทำงานร่วมกับผู้อื่น 2.จัดกิจกรรมครอบคลุมทั้ง การคิด+ พฤติกรรมที่ทำ+ เกิดความรู้สึก 3.ใช้วิธีส่งเสริมแบบบูรณาการให้เกิดความคิดในเชิงบวก 4. สร้างบรรยากาศสิ่งแวดล้อมที่อบอุ่น 5. สร้างโอกาสการเรียนรู้เชิงคุณธรรมให้แก่นักเรียน 43

  15. การสอนที่ส่งเสริมคุณธรรมเชิงสร้างสรรค์การสอนที่ส่งเสริมคุณธรรมเชิงสร้างสรรค์ 6.สอดแทรกคุณธรรมทุกวิชาและ ให้เกียรตินักเรียน 7.กระตุ้นให้นักเรียนเกิดแรงจูงใจใฝ่สัมฤทธิ์ 8.กระตุ้นครูทุกคนเป็นแบบอย่างที่ดีของศิษย์ 9.สร้างกิจกรรมนักเรียนในการเป็นผู้นำที่มีคุณธรรม 10.ขอความร่วมมือผู้ปกครองและชุมชน สนับสนุนการทำดีของลูก 11.การประเมินความสำเร็จของโรงเรียนให้ ประเมินจากพฤติกรรมของเด็กนักเรียน 44

  16. ณ ปัจจุบัน คนไร้ศีลธรรมทำลายสิ่งแวดล้อมไม่ชอบพึ่งตนเองรายได้ต่ำรสนิยมสูงมุ่งแต่ประโยชน์ส่วนตนไม่อดทดและอดออมซื้อทุกอย่างที่ขวางหน้ามักง่ายไม่มีความพอรอพึ่งคนอื่นปล่อยตัวปล่อยใจตามแรงกระตุ้นของวัตถุนิยมฯลฯ เกิดมาจากความโลภ ขาดวินัยฯทั้งสิ้น แต่เรายังมีหนทางแก้ไข ถ้าเราใช้แนวคิดเศรษฐกิจพอเพียงตามแนวพระราชดำริ

  17. โครงการการขับเคลื่อนปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง สู่สถานศึกษา เศรษฐกิจพอเพียง กระทรวงศึกษาธิการ สถานศึกษา

  18. เศรษฐกิจพอเพียง กรอบความคิดเศรษฐกิจพอเพียง “เศรษฐกิจพอเพียงเป็นเสมือนรากฐานของชีวิต รากฐานความมั่นคงของแผ่นดิน เปรียบเสมือนเสาเข็มที่ถูกตอกรองรับบ้านเรือนตัวอาคารไว้นั่นเอง สิ่งก่อสร้างจะมั่นคงได้ก็อยู่ที่เสาเข็ม แต่คนส่วนมากมองไม่เห็นเสาเข็มและลืมเสาเข็มเสียด้วยซ้ำ”พระราชดำรัสพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว (วารสารชัยพัฒนา)

  19. หลักคิดเศรษฐกิจพอเพียงตามแนวพระราชดำริหลักคิดเศรษฐกิจพอเพียงตามแนวพระราชดำริ ปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง ทางสายกลาง พอประมาณ มีเหตุผล มีภูมิคุ้มกันในตัว เงื่อนไขความรู้(รอบคอบ รอบรู้ ระมัดระวัง) เงื่อนไขคุณธรรม(ซื่อสัตย์ สุจริต ขยัน อดทน แบ่งปัน) ชีวิตเศรษฐกิจ สังคม สิ่งแวดล้อม สมดุล มั่นคง และยั่งยืน

  20. หลักปฏิบัติตามแนวเศรษฐกิจพอเพียงหลักปฏิบัติตามแนวเศรษฐกิจพอเพียง โดยพื้นฐาน คือการพึ่งตนเองเป็นหลัก พิจารณาถึงความพอดี พอเหมาะ พอควร สมเหตุสมผล การสร้างความสามัคคีให้เกิดขึ้นบนพื้นฐานของความสมดุล ครอบคลุมทั้งทางด้านจิตใจ สังคม เทคโนโลยี ทรัพยากรธรรมชาติ และสิ่งแวดล้อม เศรษฐกิจ

  21. หลักของความพอประมาณ (พอดี)5ประการ ข้อสรุปของสภาพัฒน์ฯ เข็มแข็ง มีจิตสำนึกที่ดี เอื้ออาทร ประนีประนอม นึกถึงประโยชน์ส่วนรวม พอดีด้านจิตใจ พอดีด้านสังคม ช่วยเหลือเกื้อกูล รู้รักสามัคคี สร้างความเข้มแข็งให้ครอบครัวและชุมชน พอดีด้านทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม รู้จักใช้และจัดการอย่างฉลาดและรอบคอบ และเกิดความยั่งยืนสูงสุด รู้จักใช้เทคโนโลยีที่เหมาะสมและสอดคล้องต่อความต้องการเป็นประโยชน์ต่อสภาพแวดล้อมและเกิดประโยชน์ต่อส่วนรวมและพัฒนาจากภูมิปัญญาชาวบ้านก่อน พอดีด้านเทคโนโลยี พอดีด้านเศรษฐกิจ เพิ่มรายได้ ลดรายจ่าย ดำรงชีวิตอย่างพอควร พออยู่ พอกิน สมควรตามอัตตาภาพและฐานะของตน

  22. หลักของความมีเหตุผล ยึดความประหยัด ตัดทอนค่าใช้จ่ายในทุกด้าน ลดความฟุ่มเฟือยในการดำรงชีพ ยึดถือการประกอบอาชีพด้วยความถูกต้อง สุจริต แม้จะตกอยู่ในภาวะขาดแคลนในการดำรงชีพ ละเลิกการแก่งแย่งผลประโยชน์และแข่งขันในทางการค้าขายประกอบอาชีพ แบบต่อสู้กันอย่างรุนแรง ไม่หยุดนิ่งที่หาทางในชีวิตหลุดพ้นจากความทุกข์ยาก ปฏิบัติตนในแนวทางที่ดี ลด เลิก สิ่งยั่วกิเลสให้หมดสิ้นไป ไม่ก่อความชั่วให้เป็นเครื่องทำลายตัวเอง ทำลายผู้อื่น พยายามเพิ่มพูนรักษาความดี ที่มีอยู่ให้งอกงามสมบูรณ์ยิ่งขึ้น

  23. หลักของความมีภูมิคุ้มกันหลักของความมีภูมิคุ้มกัน มีความรู้ รอบคอบ และระมัดระวัง มีคุณธรรม ซื่อสัตย์ สุจริต ขยันอดทนและแบ่งปัน

  24. สหประชาชาติยกย่องปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง การพัฒนาคนของโครงการพัฒนาแห่งสหประชาชาติกับเศรษฐกิจพอเพียงสอดคล้องกัน สหประชาชาติจึงยอมรับ-เป้าหมายอยู่ที่การพัฒนาคน-บนฐานความเชื่อว่าการพัฒนาคือการช่วยให้คนมีโอกาสปรับปรุงตนเอง และให้มีชีวิตที่มีคุณภาพ สร้างสรรค์ มีเสรีภาพและมีศักดิ์ศรี -เชื่อว่าการพัฒนาต้องมีความยั่งยืน เสมอภาค เคารพธรรมชาติและใช้ทรัพยากรธรรมชาติด้วยความระมัดระวัง

  25. แต่เศรษฐกิจพอเพียงมีความแตกต่างจากแนวทางการพัฒนาคนอยู่ 2 ประการสำคัญ • 1. เศรษฐกิจพอเพียงเสนอกระบวนการ ตามหลักการ 3 ข้อ(พอประมาณ พอดี มีภูมิคุ้มกันความเสี่ยง) ที่นำไปใช้วิเคราะห์สถานการณ์ กำหนดวัตถุประสงค์ วางแผน และตัดสินใจเพื่อนำไปสู่ความยั่งยืน สุขอนามัยที่ดี ชีวิตที่ยืนยาว การมีความรู้ การมีสิทธิอำนาจ และการอยู่ดีมีสุขของคน • 2.ให้ความสำคัญต่อการพัฒนาพื้นฐานจิตใจและคุณธรรม โดยถือว่าการพัฒนาพื้นฐานจิตใจของคนเป็นส่วนหนึ่งของการพัฒนาในทุกๆ ด้านที่แยกออกจากกันไม่ได้

  26. 6 ข้อเสนอในการขับเคลื่อนเศรษฐกิจพอเพียงระดับชาติ • 1.เศรษฐกิจพอเพียงเป็นปรัชญาสำคัญยิ่งในการขจัดความยากจนและการลดความยากจน และการลดความเสี่ยงทางเศรษฐกิจของคนจน - ใช้เศรษฐกิจพอเพียงนำทางสำหรับนโยบายขจัดความยากจนของรัฐบาล โดยให้มีโครงการที่เน้นการพัฒนาขีดความสามารถของคนจนในการพึ่งตนเอง การผลิต การสร้างวินัยในการใช้จ่าย และการป้องกันความเสี่ยง • จัดสรรที่ดินให้แก่คนจนที่ไม่มีที่ทำกินหรือที่ทำกินไม่มีคุณภาพ โดยเวนคืนจากที่ดินในครอบครองของหน่วยงานที่ไม่มีการใช้ประโยชน์ ซึ่งมีอยู่เป็นจำนวนมาก • สนับสนุนให้ชุมชนมีสิทธิในการจัดการทรัพยากรธรรมชาติ โดยออกกฎหมายป่าชุมชนและกฎระเบียบสนับสนุนอื่นๆ - สร้างหลักประกันว่าการจัดสรรงบประมาณ โดยให้ความสำคัญกับพื้นที่ที่จำเป็นจริง และใช้งบประมาณอย่างสร้างสรรค์ -สร้างพลังอำนาจชุมชน

  27. 2.ปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงเป็นพื้นฐานสร้างพลังอำนาจและศักยภาพชุมชนให้เป็นฐานรากของการพัฒนาประเทศ2.ปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงเป็นพื้นฐานสร้างพลังอำนาจและศักยภาพชุมชนให้เป็นฐานรากของการพัฒนาประเทศ - ปรับเป้าหมายการพัฒนาชุมชนทั้งในชนบทและในเมือง โดยเน้นให้ชุมชนพึ่งตนเองได้ และการพัฒนาเศรษฐกิจชุมชนเป็นเป้าหมายหลัก - เสริมสร้างความเข้มแข็งของชุมชนในการจัดการเงินทุนและยกระดับกองทุน ของชุมชนให้เป็นธนาคารท้องถิ่น เพื่อส่งเสริมการออมทรัพย์และกู้ยืมภายในชุมชน - สร้างหลักประกันว่าองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นเปิดโอกาสให้ชุมชนได้มีส่วนร่วมในการวางแผนการพัฒนาท้องถิ่น - ส่งเสริมให้มีการแลกเปลี่ยนความรู้และกรณีตัวอย่างจากชุมชนและเครือข่ายที่ประสบผลสำเร็จ - ยกเลิกโครงการประเภทให้เปล่าและสนับสนุนโครงการที่ให้ชุมชนได้ใช้ศักยภาพของตนเองในการวางแผนและพัฒนาตรงความต้องการ - สนับสนุนให้ภาคธุรกิจเอกชนร่วมมือกันรับผิดชอบต่อสังคมด้วยการส่งเสริมโครงการพัฒนาชุมชนตามหลักการเศรษฐกิจพอเพียง -บูรณาการความคิด

  28. 3.เศรษฐกิจพอเพียงช่วยยกระดับความรับผิดชอบต่อสังคมของบริษัทที่เน้นผลกำไรระยะยาวในบริบทที่มีการแข่งขัน3.เศรษฐกิจพอเพียงช่วยยกระดับความรับผิดชอบต่อสังคมของบริษัทที่เน้นผลกำไรระยะยาวในบริบทที่มีการแข่งขัน - นำหลักการของปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงบรรจุไว้ในหลักสูตรการอบรมผู้บริหารบริษัทต่างๆ และในข้อพึงปฏิบัติของบรรษัทภิบาล -ณรงค์ให้สมาคมทางธุรกิจความรู้สมาชิกของตน ให้คณะบริหารธุรกิจของ มหาวิทยาลัยต่างๆ นำเอาเศรษฐกิจพอเพียงบรรจุในหลักสูตร - พัฒนาศักยภาพของธุรกิจชุมชนและธุรกิจขนาดเล็ก(SMEs) โดยใช้ประโยชน์จากองค์ความรู้และเทคโนโลยีท้องถิ่นที่มีประสิทธิภาพในการสร้างความสามารถในการแข่งขัน • สนับสนุนให้ธุรกิจต่างๆ แบ่งปันช่วยเหลือกันในเรื่องวัตถุดิบ อุปกรณ์ และการพัฒนาองค์ความรู้และเทคโนโลยีต่างๆ เพื่อพัฒนาตลาด • -ยกระดับธรรมาภิบาล

  29. 4.หลักการเศรษฐกิจพอเพียงสำคัญยิ่งต่อการปรับปรุงมาตรฐานของธรรมาภิบาลในการบริหารงานภาครัฐ4.หลักการเศรษฐกิจพอเพียงสำคัญยิ่งต่อการปรับปรุงมาตรฐานของธรรมาภิบาลในการบริหารงานภาครัฐ - หาทางเสริมภูมิคุ้มกันให้แก่องค์กรที่ทำหน้าที่ตรวจสอบการโกงและประพฤติมิชอบในระบบราชการ - บูรณาการหลักการเศรษฐกิจพอเพียงเข้าในแผนบริหารราชการแผ่นดินและพัฒนาตัวชี้วัดในการประเมินผลการปฏิบัติงาน ทั้งในระดับองค์กรและตัวบุคคล - พัฒนากรอบแนวทางที่ใช้ติดตามกระบวนการตัดสินใจอนุมัติและดำเนินงานโครงการของภาครัฐให้เป็นไปตามหลักการของเศรษฐกิจพอเพียง - ปรับปรุงกฎหมายว่าด้วยเสรีภาพด้านข่าวสารข้อมูล เพื่อสร้างหลักประกันให้ประชาชนสามารถเข้าถึงข้อมูลข่าวสารได้โดยไม่ถูกปิดกั้น -สร้างภูมิคุ้มกัน-สร้างชาติ

  30. 5.ปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงเป็นแนวทางกำหนดนโยบายชาติ เพื่อสร้างภูมิคุ้มกันต่อสถานการณ์ที่กระทบฉับพลันและส่งเสริมการเติบโตที่เสมอภาคและยั่งยืน - ปรับนโยบายเกี่ยวกับพลังงานต่างๆ ให้มีความสอดคล้องต้องกันให้มากขึ้น เน้นการพึ่งตนเองให้มากขึ้น ด้วยการเร่งวิจัยเกี่ยวกับพลังงานทดแทนและการใช้พลังงานให้คุ้มค่าสูงสุด - คงนโยบาย หลักประกันสุขภาพ แต่ปรับปรุงการดำเนินงานให้เป็นไปตามหลักเศรษฐกิจพอเพียงเพื่อให้เกิดประสิทธิภาพและความยั่งยืน • ปลูกจิตสำนึก-ปรับค่านิยม

  31. 6.ปลูกฝังจิตสำนึกพอเพียง ต้องปรับเปลี่ยนค่านิยม และความคิดของคนเพื่อให้เอื้อต่อการพัฒนาคน • พัฒนาคนให้มีความรู้ ที่ถูกต้องโดยสร้างแรงจูงใจการจัดการศึกษาให้ตนปฏิบัติตนและหน้าที่ตามแนวทางเศรษฐกิจพอเพียง • ปรับปรุงคุณภาพของการศึกษาทั้งด้านเนื้อหาและวิธีการเรียนการสอน เน้นคุณธรรม นำความรู้ • - ขยายรูปแบบการบริหารและจัดการสถานศึกษาโดยใช้หลักเศรษฐกิจพอเพียงให้กว้างขวาง • - สนับสนุนการศึกษานอกโรงเรียนให้ตอบสนองความต้องการในการเรียนรู้ตลอดชีวิตของชุมชน และส่งเสริมการบูรณาการเรียนรู้ในชุมชน • ส่งเสริมการเรียนรู้เรื่องเศรษฐกิจพอเพียงผ่านสื่อมวลชน รวมถึงการเพิ่มเวลาให้กับรายการที่มีเนื้อหาเกี่ยวกับการพัฒนาคน การพัฒนาสังคม - ยกย่องตัวอย่างความสำเร็จแบบเศรษฐกิจพอเพียง

  32. วัตถุประสงค์ ขับเคลื่อนปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงด้านการศึกษาทุกระดับทั้งในและนอกระบบ และสามารถนำไปประยุกต์ใช้ในการบริหารองค์กร บริหารการศึกษาและพัฒนาผู้เรียนได้อย่างเหมาะสมของแต่ละพื้นที่ สู่การดำรงชีวิต เฉลิมฉลองพระเกียรติพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวเนื่องในโอกาสทรงครองสิริราชสมบัติครบ 60 ปี ให้สถานศึกษาเป็นศูนย์กลางแหล่งเรียนรู้ในชุมชน สร้างเครือข่ายการแลกเปลี่ยนเรียนรู้วิถีชีวิตที่พอเพียง

  33. วิธีการจัดการให้เกิดเศรษฐกิจพอเพียงในสถานศึกษาวิธีการจัดการให้เกิดเศรษฐกิจพอเพียงในสถานศึกษา • 1. วางระบบบริหารจัดการของโรงเรียนให้เป็นไปตามหลักเศรษฐกิจพอเพียง • 2. จัดกิจกรรมการเรียนการสอนที่เน้นเศรษฐกิจพอเพียงบูรณาการเพื่อสร้างค่านิยม • 3. จัดกิจกรรมเสริมหลักสูตรตามแนวทางเศรษฐกิจพอเพียง

  34. เป้าหมาย สร้างกระบวนการเรียนรู้เรื่องเศรษฐกิจพอเพียงแก่บุคลากรทางการศึกษาทุกระดับ ระยะแรก2550-2551 สร้างความรู้ความเข้าใจและกระแสสนับสนุนเกี่ยวกับปรัชญาฯ สร้างผู้นำ สถานศึกษาต้นแบบ เกิดการพัฒนาและสร้างคนที่มีความรู้ความเข้าใจในหลักเศรษฐกิจพอเพียงอย่างถ่องแท้

  35. ขยายผลสู่สถานศึกษาระดับองค์กรหลักขยายผลสู่สถานศึกษาระดับองค์กรหลัก องค์กรหลักนำแนวคิดเศรษฐกิจพอเพียงสู่การปฏิบัติในทุกมิติ และขับเคลื่อนสู่หน่วยงาน และสถานศึกษาในสังกัด อย่างจริงจังและต่อเนื่อง เชิญชวนโรงเรียนเข้าร่วมโครงการโดยความสมัครใจ ระยะสอง2551 เป็นต้นไป ส่งเสริมสนับสนุน และพัฒนาการดำเนินงานให้บรรลุวัตถุประสงค์ ติดตามประเมินผลและรายงานผล นำทูลเกล้าร่วมเฉลิมฉลองในพิธีมหามงคลเฉลิมพระชนมพรรษา 80 พรรษา กำหนดเป็นนโยบายต่อเนื่องสู่การปฏิบัติและยั่งยืน

  36. ขั้นตอนการดำเนินงานตามโครงการขั้นตอนการดำเนินงานตามโครงการ 1. การขับเคลื่อนในระดับกระทรวง แต่งตั้งคณะกรรมการ / คณะทำงาน สร้างพลังเครือข่ายแนวคิดเศรษฐกิจพอเพียง เผยแพร่และประชาสัมพันธ์ด้วยสื่อรูปแบบต่างๆ

  37. 2. การขยายผลสู่สถานศึกษาระดับองค์กรหลัก องค์กรหลักนำแนวคิดเศรษฐกิจพอเพียงสู่การปฏิบัติในทุกมิติ และขับเคลื่อนสู่หน่วยงาน และสถานศึกษาในสังกัด อย่างจริงจังและต่อเนื่อง เชิญชวนโรงเรียนเข้าร่วมโครงการโดยความสมัครใจ ส่งเสริมสนับสนุน และพัฒนาการดำเนินงานให้บรรลุวัตถุประสงค์และระดับความสำเร็จที่กำหนด

  38. 3. การติดตามประเมินผลและรายงานผล 4. นำทูลเกล้าร่วมเฉลิมฉลองในพิธีมหามงคลเฉลิม พระชนมพรรษา 80 พรรษา 5. กำหนดเป็นนโยบายต่อเนื่องสู่การปฏิบัติและ ยั่งยืน

  39. แนวทางการจัดกิจกรรมในสถานศึกษาแนวทางการจัดกิจกรรมในสถานศึกษา

  40. แนวทางการจัดกิจกรรมในสถานศึกษาแนวทางการจัดกิจกรรมในสถานศึกษา

  41. แนวทางการจัดกิจกรรมในสถานศึกษาแนวทางการจัดกิจกรรมในสถานศึกษา

  42. แนวทางการจัดกิจกรรมในสถานศึกษาแนวทางการจัดกิจกรรมในสถานศึกษา

  43. แนวทางการจัดกิจกรรมในสถานศึกษาแนวทางการจัดกิจกรรมในสถานศึกษา

  44. หลักสูตรเศรษฐกิจพอเพียงหลักสูตรเศรษฐกิจพอเพียง ป.1 ปฏิบัติตนดี มีความพอเพียง - รับผิดชอบตนเอง- ใช้เงินประหยัด- รู้จักออม- รู้จักแบ่งปัน ป.2 ชีวิตสดใส พอใจเศรษฐกิจพอเพียง - รับผิดชอบต่อครอบครัว- มีวินัยการจ่าย- ชื่นชมปฏิบัติตนพอเพียง ป.3 ภูมิใจในตน ชุมชนของเรา - รับผิดชอบต่อชุมชุม - ประหยัด - วิเคราะห์รายรับรายจ่ายตนเอง - มีส่วนร่วมภูมิใจชีวิตครอบครัว

  45. คุณธรรมนำความรู้ น้อมนำสู่เศรษฐกิจพอเพียง ป4. ชีวิตมีคุณค่า พึงพอเศรษฐกิจพอเพียง - เข้าใจรายรับ -รายจ่าย - สำรวจภูมิปัญญาชาวบ้าน -วิเคราะห์พระราชดำริเรื่องวินัย + หิริโอตตัปปะปะ ป.5ชีวิตพอเพียงไม่เสี่ยงความยากจน - นำหลักเศรษฐกิจมาใช้ ในครอบครัว - วิเคราะห์ชุมชน - ร่วมอนุรักษ์/ช่วยเหลือชุมชน- วิเคราะห์พระราชดำริเรื่องขยัน/ซื่อสัตย์ ป.6- วิถีชีวิตไทยภูมิใจเศรษฐกิจพอเพียง • เข้าใจชุมชน/สำรวจชุมชน - นำภูมิปัญญาท้องถิ่นมาเปรียบเทียบกับครอบครัว - วิเคราะห์พระราชดำริเรื่อง สามัคคี และพึ่งตนเอง

  46. คุณธรรมนำความรู้ น้อมนำสู่เศรษฐกิจพอเพียง ม.1 ตามรอยพ่อต่ออายุทรัพยากร - เข้าใจปรัชญา - นำแนวคิดมาใช้กับตนเอง ม.2 รอบรั้วบ้านเรา - สำรวจปัญหาของชุมชน -เสนอข้อแก้ไขปัญหาชุมชน ม.3 ชุมชนพัฒนา - เข้าใจเศรษฐกิจไปสัมพันธ์สิ่งแวดล้อม+วัฒนธรรม - มีส่วนร่วมแก้ไขปัญหาชุมชน

  47. คุณธรรมนำความรู้ น้อมนำสู่เศรษฐกิจพอเพียง ม.4 เศรษฐกิจพอเพียงกับชุมชน - เข้าใจการบริหารองค์กรวิสาหกิจชุมชน - นำแนวทางวิสาหกิจชุมชนมาใช้ในชีวิต ม.5 เศรษฐกิจพอเพียงในการพัฒนาประเทศ - เข้าใจนำไปพัฒนาประเทศ - นำปรัชญาระดับชาติมาใช้ในชีวิตตนเอง ม.6 เศรษฐกิจพอเพียงกับโลกาภิวัตน์ - เข้าใจโลกาภิวัตน์ตามหลักเศรษฐกิจพอเพียง • เข้าใจการพัฒนาประเทศให้สมดุล - ใช้หลักเศรษฐกิจพอเพียงอย่างยั่งยืน

  48. ระยะเวลาดำเนินการ ระยะแรก ปีงบประมาณ 2550 - 2551 ระยะสอง ปีงบประมาณ 2551 เป็นต้นไป

  49. หน่วยงานดำเนินการ หน่วยงานที่มีสถานศึกษาในสังกัด(สพฐ. , สช. , กศน. , สอศ. , สกอ. ) สถานศึกษารูปแบบพิเศษต่างๆ สำนักงานปลัดกระทรวงศึกษาธิการ

  50. งบประมาณ สำนักงานปลัดกระทรวงศึกษาธิการ องค์กรหลัก และทุกภาคส่วนราชการ ภาคเอกชนและเครือข่าย

More Related