1 / 27

กองทุนพัฒนาบทบาทสตรีแห่งชาติ

กองทุนพัฒนาบทบาทสตรีแห่งชาติ. รัชนี สุดจิตร์ รองผู้อำนวยการสำนักงานกิจการสตรีและสถาบันครอบครัว. ปัญหาของสตรีในปัจจุบัน. ความไม่เสมอภาคทางเพศ และขาดการยอมรับทางสังคม. กองทุนพัฒนาบทบาทสตรีฯ. ขาดโอกาสในการพัฒนาศักยภาพ/การงาน/อาชีพ. กองทุนพัฒนาบทบาทสตรีฯ.

macy-holden
Télécharger la présentation

กองทุนพัฒนาบทบาทสตรีแห่งชาติ

An Image/Link below is provided (as is) to download presentation Download Policy: Content on the Website is provided to you AS IS for your information and personal use and may not be sold / licensed / shared on other websites without getting consent from its author. Content is provided to you AS IS for your information and personal use only. Download presentation by click this link. While downloading, if for some reason you are not able to download a presentation, the publisher may have deleted the file from their server. During download, if you can't get a presentation, the file might be deleted by the publisher.

E N D

Presentation Transcript


  1. กองทุนพัฒนาบทบาทสตรีแห่งชาติกองทุนพัฒนาบทบาทสตรีแห่งชาติ รัชนี สุดจิตร์ รองผู้อำนวยการสำนักงานกิจการสตรีและสถาบันครอบครัว

  2. ปัญหาของสตรีในปัจจุบันปัญหาของสตรีในปัจจุบัน ความไม่เสมอภาคทางเพศ และขาดการยอมรับทางสังคม กองทุนพัฒนาบทบาทสตรีฯ ขาดโอกาสในการพัฒนาศักยภาพ/การงาน/อาชีพ กองทุนพัฒนาบทบาทสตรีฯ ขาดโอกาสทางสังคม การเข้าถึงสวัสดิการ/การศึกษา กองทุนพัฒนาบทบาทสตรีฯ ปัญหาความรุนแรงต่อเด็กและสตรี กระทรวงการพัฒนาสังคมฯ ปัญหาการค้าหญิงและเด็ก กระทรวงการพัฒนาสังคมฯ ปัญหาความปลอดภัย กระทรวงคมนาคม ปัญหาสุขภาพผู้หญิง กระทรวงสาธารณสุข

  3. แผนพัฒนาสตรีฯ 1. เสริมสร้างเจตคติและการยอมรับด้านความเสมอภาคระหว่างหญิงและชาย 2. การพัฒนาศักยภาพและเพิ่มโอกาส ทางเศรษฐกิจและสังคมของสตรีไทย คนในสังคมมีเจตคติดี ตระหนักยอมรับบทบาทสตรี สังคม 3. การพัฒนาสุขภาวะคุณภาพชีวิต และเสริมสร้างความมั่นคงในชีวิต 4. การพัฒนาศักยภาพสตรีเพื่อเพิ่มโอกาส ในการเข้าร่วมทางการเมือง การบริหาร และ การตัดสินใจในระดับต่างๆ เสมอภาค 5. การเสริมสร้างและพัฒนาศักยภาพกลไก ขององค์กรสตรีทุกระดับ สังคม องค์กร กลไกสตรี เป็นธรรม สตรีมีโอกาส เข้าถึง ได้รับ การศึกษาและพัฒนาศักยภาพ ยุติธรรม เข้มแข็งเป็นแกนหลัก ในการขับเคลื่อนการพัฒนาสตรี วิสัยทัศน์ สตรีมี สตรีมั่นใจ สร้างสังคม เสมอภาค เป็นธรรม และ ยุติธรรม ที่สตรีไทย อยู่อย่างมีศักดืศรี มั่นคงปลอดภับ และมีคุณภาพชีวิตดี คุณภาพ ชีวิตดี มีศักยภาพ เข้าร่วมทางการเมือง การบริหารและการตัดสินใจ สุขภาพ สุขภาวะดี มีความมั่นคงในชีวิต ยุทธศาสตร์การพัฒนาสตรี พ.ศ. 2555 -2559

  4. ยุทธศาสตร์ ที่ 1 การสร้างโอกาสในการเข้าถึงแหล่งทุน พัฒนาสตรีดอกเบี้ยต่ำหรือปลอดดอกเบี้ย ยุทศาสตร์ ที่ 2 การพัฒนาโอกาสในการงานและอาชีพ การพัฒนาศักยภาพ การเพิ่มบทบาท และการสร้างภาวะผู้นำ นโยบายและยุทธศาสตร์การพัฒนาสตรี

  5. การเฝ้าระวังและดูแลปัญหาของสตรี ช่วยเหลือเยียวยาสตรี ยุทธศาสตร์ ที่ 3 การรณรงค์ให้สังคมเข้าใจปัญหาสตรี ในทุกมิติ ยุทธศาสตร์ ที่ 4 นโยบายและยุทธศาสตร์การพัฒนาสตรี

  6. วิสัยทัศน์ กองทุนพัฒนาบทบาทสตรีแห่งชาติ “สร้างสรรค์พลังสตรี ให้เป็นพลังสำคัญในการพัฒนาประเทศ”

  7. เป็นแหล่งทุนสำหรับส่งเสริม สนับสนุนการจัดกิจกรรม เพื่อพัฒนาบทบาทและแก้ไขปัญหาสตรีขององค์กรต่างๆ 3 1 2 เป็นแหล่งเงินทุนหมุนเวียนสำหรับการลงทุน เพื่อพัฒนาอาชีพ สร้างงาน สร้างรายได้ หรือการส่งเสริมและพัฒนาไปสู่การสร้างสวัสดิภาพ สวัสดิการ ให้แก่สตรีโดยผ่านกลุ่มสตรี เป็นแหล่งทุนเพื่อการพัฒนาศักยภาพสตรี และเครือข่ายสตรี วัตถุประสงค์

  8. คุณสมบัติของผู้มีสิทธิลงทะเบียนเป็นสมาชิกคุณสมบัติของผู้มีสิทธิลงทะเบียนเป็นสมาชิก 1. เป็นคนไทย (สัญชาติไทย) 2. เพศหญิง อายุ 15 ปีบริบูรณ์ขึ้นไป 3. มีชื่ออยู่ในทะเบียนบ้านในพื้นที่ที่จะลงทะเบียน เป็นสมาชิกแล้วได้อะไร ? 1. มีสิทธิ์ในการเข้าร่วมเวทีชาวบ้านเพื่อคัดเลือกผู้แทนประจำหมู่บ้านหรือชุมชน เพื่อเข้าไปเป็นคณะกรรมการกองทุนพัฒนาบทบาทสตรีในระดับตำบล 2. มีสิทธิ์ได้รับคัดเลือกให้เป็นผู้แทนหมู่บ้านหรือชุมชน ในการเข้าไปเป็น คณะกรรมการกองทุนพัฒนาบทบาทสตรีในระดับตำบล 3. สามารถใช้สิทธิ์ในการกู้ยืมเงินกองทุนพัฒนาบทบาทสตรี www.themegallery.com

  9. เปรียบเทียบประเด็นยุทธศาสตร์ กองทุนพัฒนาบทบาทสตรี แผนพัฒนาสตรีฯ 1. พัฒนาศักยภาพสตรี 2. พัฒนาอาชีพสตรี สร้างงาน สร้างรายได้ ตามหลักปรัชญา ของเศรษฐกิจพอเพียง 3. พัฒนาคุณภาพชีวิตของสตรี และผู้ด้อยโอกาส 4. พัฒนาศักยภาพกองทุน พัฒนาบทบาทสตรี 1.เสริมสร้างเจตคติและการยอมรับ ด้านความเสมอภาคระหว่างหญิงชาย 2.พัฒนาศักยภาพและเพิ่มโอกาสทาง เศรษฐกิจ และสังคมของสตรีไทย 3.พัฒนาสุขภาวะ คุณภาพชีวิต และ เสริมสร้างความมั่นคงในชีวิต 4.พัฒนาศักยภาพสตรี เพื่อเพิ่มโอกาส ในการเข้าร่วมทางการเมือง การบริหาร และการตัดสินใจในระดับต่าง ๆ 5.เสริมสร้างและพัฒนาศักยภาพกลไก และองค์กรสตรีทุกระดับ (การบริหาร จัดการ ทักษะในการออกแบบกิจกรรม การพัฒนา และการทำงานเป็นเครือข่าย)

  10. ประเด็นยุทธศาสตร์ที่ 1 พัฒนาศักยภาพสตรี เป้าประสงค์ยุทธศาสตร์ : สตรีทุกวัยมีทักษะชีวิต ค่านิยมสร้างสรรค์ ศักยภาพภาวะผู้นำ และบทบาทในการพัฒนา ภายใต้เจตคติที่ดี และความเสมอภาค ผู้รับผิดชอบหลัก : ผู้มีส่วนร่วม : ผู้ปฏิบัติ : สตรีทุกวัยมีศักยภาพ พัฒนาศักยภาพ ผู้นำสตรี และสร้างภาวะผู้นำ ส่งเสริมการพัฒนาครอบครัว ส่งเสริมบทบาทสตรีและองค์กรสตรีในระดับประเทศ ประชาคมอาเซียน และประชาคมโลก สร้างเสริมทักษะชีวิตและค่านิยมสร้างสรรค์ของเยาวสตรีไทย กลยุทธ์ ส่งเสริมบทบาทสตรี ในการพัฒนาชุมชนท้องถิ่น และการเมือง ทุกระดับ 1) ส่งเสริมและ พัฒนาทักษะชีวิต แก่เยาวสตรี 2) เสริมสร้างเจตคติและค่านิยมสร้างสรรค์ของเยาวสตรีไทย 3) สร้างเครือข่าย เยาวสตรีไทย 1) ส่งเสริมการพัฒนา ผู้นำสตรี 2) แสวงหาผู้นำสตรีระดับ ชุมชน จังหวัด ประเทศ 1) ส่งเสริมบทบาทหญิงชาย ในการพัฒนาครอบครัว 2) ส่งเสริมการรณรงค์ยุติความรุนแรงในครอบครัวอบอุ่น 3) จัดตั้งและพัฒนาองค์กร บูรณาการการทำงาน ของเด็กและเยาวชน และ การให้คำปรึกษาในการพัฒนาเด็ก เยาวชน และ ครอบครัว 4) สร้างระบบเฝ้าระวัง และคุ้มครองเด็ก เยาวชน และครอบครัว 1) เสริมสร้างความรู้ ความเข้าใจเรื่องการปกครอง ในระบอบประชาธิปไตย 2) ส่งเสริมกระบวนการเรียนรู้ปลูกฝังค่านิยม จริยธรรมจรรยาบรรณ และอุดมการณ์ด้านจิตอาสา และจิตสาธารณะ ในการเข้าสู่การเป็นผู้นำ 3) แสวงหาแนวร่วมในการสนับสนุนสตรีที่มีศักยภาพให้เข้าสู่เวทีการเมือง 4) จัดกิจกรรมเพื่อการพัฒนาชุมชน และท้องถิ่น 1) ส่งเสริมการจัดเวทีสตรีระดับชาติ อาเซียน และนานาชาติ 2) เสริมสร้างภาพลักษณ์สตรีไทยสู่สากล 3) สนับสนุนทุนการศึกษา เพื่อรองรับประชาคมอาเซียน แผนงาน/โครงการ

  11. ประเด็นยุทธศาสตร์ที่ 2 พัฒนาอาชีพสตรี สร้างงาน สร้างรายได้ ตามหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง เป้าประสงค์ยุทธศาสตร์ : สตรีในวัยแรงงานมีอาชีพ และรายได้ ตามแนวทางปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง ผู้รับผิดชอบหลัก : ผู้มีส่วนร่วม : ผู้ปฏิบัติ : สตรีมีอาชีพ มีรายได้ มีความสุข กลยุทธ์ พัฒนาทักษะฝีมือและยกระดับฝีมือ แรงงานสตรี สนับสนุนการเข้าถึงองค์ความรู้ แหล่งทุน และบริการต่างๆ ส่งเสริมสตรีให้เป็นผู้ประกอบการ และส่งเสริมผู้ประกอบการสตรี 1) ให้ความรู้ เพิ่มพูนทักษะอาชีพ 2) ให้ความรู้ด้านกฎหมายคุ้มครองแรงงาน ทั้งในประเทศ และประเทศกลุ่มอาเซียน 3) จัดกิจกรรมสวัสดิการแก่แรงงานสตรี 4) จัดกิจกรรมแบ่งเบาภาระครอบครัว (ศูนย์พัฒนา เด็กเล็กในโรงงาน , การดูแลผู้สูงอายุ) 5) จัดกิจกรรมรองรับ การถูกเลิกจ้างงาน 1) ให้ทุนการประกอบอาชีพ 2) จัดส่งเสริมการตลาด 3) ให้ความรู้ด้านการเพิ่มมูลค่าผลิตภัณฑ์ 4) จัดทำโครงการ 1 จังหวัด 1 ตำบลต้นแบบ 5) ประกวด และจัดงานแสดงกิจกรรมผลิตภัณฑ์อาชีพสตรี 6) เครือข่ายภาคเอกชนสร้างกลุ่มอาชีพสตรี 7) ส่งเสริมการรวมกลุ่มผู้ประกอบการ / เครือข่ายผู้ประกอบการ 8) จัดเวทีแลกเปลี่ยนความรู้ 9) ส่งเสริมภาคเอกชน หรือผู้ประกอบการ จัดทำCSR ร่วมกับกลุ่มสตรี 10) จัดตั้งธนาคารแรงงานฝีมือสตรี 11) จัดกิจกรรมและเปลี่ยนเรียนรู้ ในการเป็นผู้ประกอบการ 1) สร้างโอกาสในการหา ความรู้เพิ่มเติมเกี่ยวกับ การประกอบอาชีพ และ การบริหารจัดการเงินทุน 2) ให้กู้ยืมเงินเพื่อการ ประกอบอาชีพ (กรณีเป็นสตรี มุสลิม ให้เป็นไปตามหลัก ศาสนาอิสลาม) 3) ประสานแหล่งทุนเพื่อ สนับสนุนการพัฒนาอาชีพ 4) ส่งเสริม / จัดหาเครื่องมือ การผลิต และทรัพย์สินร่วม ของกลุ่ม แผนงาน/โครงการ

  12. ประเด็นยุทธศาสตร์ที่ 3 พัฒนาคุณภาพชีวิตของสตรีและผู้ด้อยโอกาส เป้าประสงค์ยุทธศาสตร์ : สตรีมีสุขภาวะ มีความมั่นคงในชีวิต และสังคมมีเจตคติที่ดีต่อสตรี ผู้รับผิดชอบหลัก : ผู้มีส่วนร่วม : ผู้ปฏิบัติ : สตรีมี คุณภาพชีวิต ที่ดี สนับสนุนการจัดชุมชนสวัสดิการ กลยุทธ์ ส่งเสริมให้เกิดระบบในการคุ้มครอง และพิทักษ์สิทธิของสตรี ส่งเสริมสุขภาวะและสิทธิอนามัยเจริญพันธุ์ของสตรี เสริมสร้างระบบในการช่วยเหลือ ดูแล สตรี และผู้ด้อยโอกาส 1) ให้ความรู้ด้านการจัดสวัสดิการชุมชน 2) ส่งเสริมการออมของกลุ่มสตรี 3) สนับสนุนให้เกิดกองทุนสวัสดิการสตรีในชุมชน 1) จัดตั้งศูนย์ประสานงานกองทุนพัฒนาบทบาทสตรี เพื่อช่วยเหลือสตรี และผู้ด้อยโอกาส (ระดับชาติ / จังหวัด / ตำบล) 2) เสริมสร้างเครือข่ายความร่วมมือในการช่วยเหลือสตรี และผู้ด้อยโอกาส 3) เสริมสร้างองค์ความรู้ด้านคุณภาพชีวิต การพัฒนาศักยภาพ และเสริมพลังแก่สตรี และผู้ด้อยโอกาส 4) วางระบบการดูแล และช่วยเหลือสตรี และผู้ด้อยโอกาส 5) จัดทำฐานข้อมูลเครือข่าย และข้อมูลสตรี / ผู้ด้อยโอกาส 1) ให้ความรู้ด้านเจตคติ ทักษะชีวิต สิทธิ และกฎหมายแก่สตรีผู้ปฏิบัติงาน และผู้นำชุมชน 2) รณรงค์ให้ชุมชนมีส่วนร่วม ในการเฝ้าระวัง และคุ้มครองสตรี และผู้ด้อยโอกาส 3) สนับสนุนการวางระบบในการเฝ้าระวัง ป้องกัน และดูแลปัญหาของสตรีในชุมชน 4) สนับสนุนให้สตรีมีบทบาท ในการให้คำปรึกษา และช่วยเหลือสตรีผู้ประสบปัญหา 5) สร้างความตระหนักแก่สื่อสารมวลชน ให้นำเสนอ สื่อสร้างสรรค์ 1) ให้ความรู้ด้านสุขภาวะ และสิทธิอนามัยเจริญพันธุ์แก่สตรีและผู้เกี่ยวข้อง 2) รณรงค์ให้ชุมชนตระหนักถึงความสำคัญของสิทธิอนามัยเจริญพันธุ์ของสตรี โรคติดต่อ และปัญหาการตั้งครรภ์ ไม่พึงประสงค์ 3) สนับสนุนการจัดกิจกรรมส่งเสริมสุขภาวะ และสิทธิอนามัยเจริญพันธุ์ของสตรี 4) พัฒนาหลักสูตรการศึกษา ในด้านสุขภาวะ สิทธิอนามัยเจริญพันธุ์ และเพศศึกษา อย่างมีมุมมองมิติหญิงชาย แผนงาน/โครงการ

  13. ประเด็นยุทธศาสตร์ที่ 4 พัฒนาศักยภาพกองทุนพัฒนาบทบาทสตรี เป้าประสงค์ยุทธศาสตร์ : กองทุนพัฒนาบทบาทสตรีมีระบบและการบริหารที่มีศักยภาพ ผู้รับผิดชอบหลัก : ผู้มีส่วนร่วม : ผู้ปฏิบัติ : การบริหาร กองทุนมีศักยภาพ กลยุทธ์ พัฒนาระบบสนับสนุน กองทุนพัฒนาบทบาทสตรี ส่งเสริมการบริหารจัดการกองทุนพัฒนาบทบาทสตรี สร้างเครือข่าย กองทุนพัฒนาบทบาทสตรีทุกระดับ 1) จัดตั้งสำนักงานฯ ทุกระดับ 2) จัดทำนโยบายและยุทธศาสตร์กองทุนฯ 3) บริหารระบบข้อมูลสารสนเทศ 4) เผยแพร่ และประชาสัมพันธ์ 5) พัฒนาช่องทางการรับแจ้งข้อมูล และข้อเสนอแนะ 6) จัดทำบัตรประจำตัวสมาชิกกองทุน 7) ปรับปรุงกฎหมายที่เกี่ยวข้องกับระเบียบ และข้อกำหนดต่าง ๆ 8) ยกร่างกฎหมายที่ใช้ในการบริหารกองทุน ตามรูปแบบที่ คกส. กำหนด 9) ประเมินผลการดำเนินการ 1) สร้าง และพัฒนาเครือข่ายสตรีภายในประเทศ ทุกภาคส่วน 2) สร้าง และพัฒนาเครือข่ายสตรีต่างประเทศ 3) บูรณาการกับกองทุนอื่น ๆ 1) ให้ความรู้ด้านการบริหารจัดการแก่กองทุนฯ 2) พัฒนาศักยภาพคณะกรรมการ คณะอนุกรรมการ และคณะทำงาน ทุกระดับ 3) เสริมสร้างการเรียนรู้ ในมุมมองมิติหญิงชาย 4) ศึกษารูปแบบวิธีการบริหารจัดการกองทุน และการจัดการความรู้ แผนงาน/โครงการ

  14. การจัดงบประมาณ เป็นแหล่งเงินทุนหมุนเวียนเพื่อการกู้ยืมดอกเบี้ยต่ำ และเป็นพื้นฐานในการพัฒนาไปสู่การเป็นสถาบันการเงินชุมชน กองทุนพัฒนา บทบาทสตรี แห่งชาติ 50% กองทุนพัฒนา บทบาทสตรี แห่งชาติ สำหรับจัดกิจกรรมพัฒนาศักยภาพสตรีและเครือข่ายสตรี 25% สำหรับส่งเสริม สนับสนุนการจัดกิจกรรม เพื่อพัฒนาบทบาทสตรีและแก้ไขปัญหาของ สตรีที่ประสบปัญหาผ่านองค์กรต่างๆ กองทุนพัฒนา บทบาทสตรี แห่งชาติ 25%

  15. ที่มาของกองทุน • ระยะที่ 1 งบประมาณรายจ่ายประจำปี 2555 • ระยะที่ 2 เงินทุนประเดิมที่รัฐบาลจัดสรรให้ และงบประมาณจากแหล่งอื่นๆ

  16. สลากกินแบ่งรัฐบาล กองทุนพัฒนา บทบาท สตรีแห่งชาติ เงินหรือทรัพย์สินที่ได้จากการบริจาค เงินภาษีจากบริษัท ห้างร้านที่เกี่ยวกับความ สวยงามเครื่องสำอางเหล้า /บุหรี่ งบประมาณจากแหล่งอื่นๆ ดอกผลหรือรายได้ จากเงินหรือทรัพย์สิน ของกองทุนฯ เงินหรือทรัพย์สิน ที่ได้จากการจำหน่าย สินทรัพย์ของกองทุนฯ concept LOGO

  17. การบริหารงานกองทุน - คณะกรรมการกองทุนพัฒนาบทบาทสตรีแห่งชาติโดยนายกรัฐมนตรี - มีการจัดตั้งสำนักงานคณะกรรมการกองทุนพัฒนาบทบาทสตรี กองทุนพัฒนา บทบาทสตรี แห่งชาติ - คณะกรรมการกองทุนพัฒนาบทบาทสตรีกรุงเทพมหานคร - คณะกรรมการกองทุนพัฒนาบทบาทสตรีระดับจังหวัด/ตำบล

  18. ระดับตำบล ระดับจังหวัด ระดับชาติ • คณะกรรมการกองทุนฯระดับหมู่บ้าน 10 คน • ผู้ทรงคุณวุฒิที่คณะกรรมการกองทุนฯระดับจังหวัดแต่งตั้ง • ที่ปรึกษา • คณะกรรมการกองทุนฯ ระดับตำบล 10 คน • ผู้ทรงคุณวุฒิที่คณะกรรมการกองทุนฯระดับชาติแต่งตั้ง • ที่ปรึกษา • คณะกรรมการกองทุนฯระดับชาติและผู้ทรงคุณวุฒิที่นายกรัฐมนตรีแต่งตั้ง โครงสร้างคณะกรรมการกองทุนพัฒนาบทบาทสตรีแห่งชาติ คณะกรรมการติดตามและสนับสนุนการดำเนินงานกองทุนพัฒนาบทบาทสตรีระดับจังหวัด

  19. กลไกการบริหารกองทุนฯ Click to add Title Click to add Title * บริหารงบประมาณแผ่นดินประจำปี เพื่อใช้ในการขับเคลื่อน และพัฒนางาน โดยผ่าน สนง. กองทุนพัฒนาบทบาทสตรีแห่งชาติ * กำหนดนโยบายและกรอบยุทธศาสตร์ เพื่อกำกับการทำงาน และติดตาม/ตรวจสอบ การใช้เงิน * พิจารณาอนุมัติโครงการที่อยู่นอกเหนือ กรอบการพิจารณาของจังหวัด/ตำบล คณะกรรมการ กองทุนฯ ชาติ Click to add Title Click to add Title

  20. กลไกการบริหารกองทุนฯ * พิจารณาอนุมัติโครงการที่เกี่ยวข้องกับกิจกรรม การพัฒนาศักยภาพสตรี และเครือข่ายสตรี * พิจารณาอนุมัติโครงการที่เกี่ยวข้องกับกิจกรรมพัฒนา บทบาทสตรี และแก้ไขปัญหาสตรีที่ประสบปัญหา (ตามกรอบยุทธศาสตร์ฯ ชาติ กำหนด) Click to add Title Click to add Title คณะกรรมการ กองทุนฯ จังหวัด * พิจารณาอนุมัติโครงการที่เกี่ยวกับเงินทุนหมุนเวียน เพื่อการพัฒนาอาชีพสร้างงาน สร้างรายได้ โดยมี เป้าหมายมุ่งสู่การเป็นสถาบันการเงินชุมชน เพื่อดูแล สวัสดิภาพ และสวัสดิการของชุมชน Click to add Title Click to add Title คณะกรรมการ กองทุนฯ ตำบล

  21. กลไกการบริหารงบประมาณกองทุนฯ Click to add Title Click to add Title * พิจารณาอนุมัติโครงการที่เกี่ยวกับเงินทุนหมุนเวียน เพื่อการพัฒนา อาชีพ สร้างงาน สร้างรายได้ โดยมี เป้าหมายมุ่งสู่การเป็นสถาบันการเงินชุมชน เพื่อดูแล สวัสดิภาพ และสวัสดิการชุมชน * พิจารณาอนุมัติโครงการที่เกี่ยวข้องกับกิจกรรมการ พัฒนาศักยภาพสตรี และเครือข่ายสตรี * พิจารณาอนุมัติโครงการที่เกี่ยวข้องกับกิจกรรมการ พัฒนาบทบาทสตรี และแก้ไขปัญหาสตรีที่ประสบปัญหา (ตามกรอบยุทธศาสตร์ฯ ชาติ กำหนด) คณะกรรมการ กองทุนฯ กทม. Click to add Title Click to add Title

  22. การจัดตั้งสำนักงานคณะกรรมการกองทุนพัฒนาบทบาทสตรีการจัดตั้งสำนักงานคณะกรรมการกองทุนพัฒนาบทบาทสตรี ให้สำนักงานฯ เป็นส่วนราชการภายในสังกัดสำนักเลขาธิการนายกรัฐมนตรี (สกพส.) อำนาจหน้าที่ ทำหน้าที่เป็นสำนักงานเลขานุการของคณะกรรมการกองทุนฯ ปฏิบัติงานธุรการ ศึกษา รวบรวมและวิเคราะห์ข้อมูลที่เกี่ยวกับการดำเนินงานกองทุน เป็นศูนย์กลางเผยแพร่และประชาสัมพันธ์ให้ประชาชนได้ทราบถึงการจัดตั้งกองทุน นโยบาย และแนวทางการดำเนินงานกองทุน ดำเนินการประสานกับส่วนราชการ หน่วยงานของรัฐ องค์กรต่างๆ ที่เกี่ยวข้องเพื่อเตรียมความพร้อมในการจัดตั้งกองทุนและบริหารกองทุน จัดให้มีหรือสนับสนุนให้มีการประชุมชี้แจงและฝึกอบรมบุคลากรที่เกี่ยวข้องกับการดำเนินงานกองทุน รวบรวมและจัดทำทะเบียนกลางเกี่ยวกับสมาชิกและโครงการที่ได้รับสนับสนุนจากกองทุนในทุกจังหวัด เพื่อรายงานต่อคณะกรรมการหรือคณะรัฐมนตรี www.themegallery.com

  23. การขอรับงบประมาณสนับสนุนการขอรับงบประมาณสนับสนุน ผู้ขอรับการ สนับสนุน เงินสนับสนุน กิจกรรม เงินทุนหมุนเวียน ต้องเป็นสมาชิกกองทุน พัฒนาบทบาทสตรีแห่งชาติ ต้องเป็นสมาชิกกองทุนฯ รวมกลุ่มไม่ต่ำกว่า ๕ คน ต้องเป็นกลุ่มหรือองค์กรที่ได้ จดแจ้งเป็นสมาชิกกองทุน

  24. การจัดสรรเงินกองทุนพัฒนาบทบาทสตรีแห่งชาติการจัดสรรเงินกองทุนพัฒนาบทบาทสตรีแห่งชาติ กองทุนพัฒนาบทบาทสตรีแห่งชาติ จัดสรร ให้กับทุกจังหวัด โดยใช้หลักเกณฑ์การจัดสรร ตามช่วงชั้นประชากรของจังหวัด ขนาดเล็ก = 70 ล้านบาท ขนาดกลาง = 100 ล้านบาท ขนาดใหญ่ = 130 ล้านบาท รวม 77 จังหวัด เป็นเงิน 7,250 ล้านบาท

  25. เกณฑ์การจัดสรรเงินกองทุนพัฒนาบทบาทสตรีแห่งชาติเกณฑ์การจัดสรรเงินกองทุนพัฒนาบทบาทสตรีแห่งชาติ หมายเหตุ : คงเหลือเงินกองทุนฯ จำนวน 120,000,000 บาท (ให้อยู่ในการพิจารณาของคณะกรรมการกองทุนฯ เพื่อดำเนินการในกรณีนอกเหนือจากที่กำหนดไว้ในวัตถุประสงค์)

  26. การบูรณาการดังกล่าว... องค์กร ถ้าเราช่วยกัน...ภาพนี้จะเป็นจริงได้ คนในสังคมมีเจตคติดี ตระหนักยอมรับบทบาทสตรี สังคม เสมอภาค สังคม ชีวิตดี เป็นธรรม สตรีมีโอกาส เข้าถึง ได้รับการศึกษา และพัฒนาศักยภาพ กลไกสตรี เข้มแข็งเป็นแกนหลัก ในการขับเคลื่อนการพัฒนาสตรี ยุติธรรม สตรีมี สตรีมั่นใจ คุณภาพ มีศักยภาพ เข้าร่วมทางการเมือง การบริหารและการตัดสินใจ สุขภาพ สุขภาวะดี มีความมั่นคงในชีวิต

  27. ขอบคุณค่ะ

More Related