1 / 38

นโยบายของรัฐเกี่ยวกับการจัดการ ปัญหาสถานะและสิทธิของบุคคล นายอำนวย ทองอนันต์

นโยบายของรัฐเกี่ยวกับการจัดการ ปัญหาสถานะและสิทธิของบุคคล นายอำนวย ทองอนันต์ นักวิเคราะห์นโยบายและแผน ชำนาญการ สำนักงานสภาความมั่นคงแห่งชาติ. ๑. ประเด็นการบรรยาย. ที่มา / สาเหตุ กลุ่มคนที่มีปัญหาสถานะและสิทธิในประเทศไทย ปัญหา / ผลกระทบ ยุทธศาสตร์การจัดการปัญหาสถานะและ

Télécharger la présentation

นโยบายของรัฐเกี่ยวกับการจัดการ ปัญหาสถานะและสิทธิของบุคคล นายอำนวย ทองอนันต์

An Image/Link below is provided (as is) to download presentation Download Policy: Content on the Website is provided to you AS IS for your information and personal use and may not be sold / licensed / shared on other websites without getting consent from its author. Content is provided to you AS IS for your information and personal use only. Download presentation by click this link. While downloading, if for some reason you are not able to download a presentation, the publisher may have deleted the file from their server. During download, if you can't get a presentation, the file might be deleted by the publisher.

E N D

Presentation Transcript


  1. นโยบายของรัฐเกี่ยวกับการจัดการนโยบายของรัฐเกี่ยวกับการจัดการ ปัญหาสถานะและสิทธิของบุคคล นายอำนวย ทองอนันต์ นักวิเคราะห์นโยบายและแผน ชำนาญการ สำนักงานสภาความมั่นคงแห่งชาติ ๑

  2. ประเด็นการบรรยาย • ที่มา / สาเหตุ • กลุ่มคนที่มีปัญหาสถานะและสิทธิในประเทศไทย • ปัญหา / ผลกระทบ • ยุทธศาสตร์การจัดการปัญหาสถานะและ สิทธิของบุคคล (๑๘ ม.ค. ๒๕๔๘) ๒

  3. ที่ตั้งทางภูมิศาสตร์

  4. อาณาเขตทางบก 5,656 กม. พม่า 2,401 กม. ลาว 1,810 กม. กัมพูชา 798 กม. อาณาเขตทางทะเล 2,630 กม. อินโดนีเซีย อินเดีย อาณาเขตโดยรวม มาเลเซีย 647 กม.

  5. กลุ่มที่อพยพมาจากนอกประเทศกลุ่มที่อพยพมาจากนอกประเทศ เป็นฝ่ายตรงกันข้ามกับ รัฐบาลของประเทศเพื่อนบ้าน ประเทศต้นทางไม่รับรอง สถานะผลักดันออก กดขี่ การหนีภัยสงคราม การแสวงหาโอกาสชีวิตที่ ดีกว่าเนื่องจากความต่าง ทางเศรษฐกิจ ความขัดแย้ง ทางการเมือง สาเหตุการอพยพ ประชาชนบริเวณนั้นเป็นเครือญาติ และเชื้อชาติเดียวกัน จึงอพยพไป มาหาสู่กัน ๕

  6. ผลที่ตามมา จำนวนกลุ่มคนที่มีปัญหาสถานะและสิทธิมีจำนวนมากขึ้น เกิดผลกระทบต่อความมั่นคง การบริหารจัดการไม่มีการบูรณาการ ๖

  7. ชนกลุ่มน้อย /ผู้หลบหนีเข้าเมือง ที่ลักลอบเข้าเมืองและอพยพมาจากประเทศอื่น ๒.๕ ล้านคน •  กลุ่มที่ได้รับการผ่อนผัน • ให้อยู่ชั่วคราวรอกระบวนการ • แก้ปัญหา • ๕ แสนคนเศษ • สำรวจ/ทำทะเบียน ระหว่างปี ๒๕๑๙-๒๕๔๒ ๓ แสนคน • สำรวจ/ทำทะเบียนในห้วงปี ๒๕๔๙-๒๕๕๑ ๑.๙ แสนคน  กลุ่มที่มีปัญหาความมั่นคง และทางราชการมีนโยบายดูแลเป็นการเฉพาะ ๑.๕ ล้านคน  กลุ่มที่ ครม.มีมติรับรอง สถานะให้อาศัยอยู่ถาวร  สัญชาติไทย  สถานะบุคคลต่างด้าว เข้าเมืองโดยชอบด้วยกฎหมาย ๑๔ กลุ่ม ๒ แสนคน ได้สถานะแล้ว ๑.๒ แสนคน  กลุ่มหลบหนีเข้าเมืองอื่น ๆ กรณีทั่วไป จับกุม ส่งกลับ เฉลี่ยปีละ ๒ - ๔แสนคน แรงงานต่างด้าวหลบหนีเข้าเมือง สัญชาติพม่า ลาว และกัมพูชา •  ผู้หนีภัยการสู้รบจากพม่า • ม้งลาวอพยพ จ.เพชรบูรณ์ • เกาหลีเหนือ • โรฮิงยา ยุทธศาสตร์การจัดการ ปัญหาสถานะและสิทธิของบุคคล (สมช.) ยุทธศาสตร์บริหารแรงงาน ต่างด้าวทั้งระบบ (รง.) นโยบายและมาตรการ เฉพาะจาก สมช./สภา มช. พ.ร.บ.คนเข้าเมือง พ.ศ. ๒๕๒๒ ๗

  8. ปัญหาและผลกระทบต่อความมั่นคงของชาติปัญหาและผลกระทบต่อความมั่นคงของชาติ การเรียกร้องขอมีสถานะ และสิทธิต่าง ๆ โรคติดต่อร้ายแรง ภาระค่าใช้จ่ายด้าน สธ. ความสงบเรียบร้อย ความหวาดระแวง ของประเทศเพื่อนบ้าน กรณีปัญหากลุ่มต่อต้าน ผลกระทบด้านความมั่นคง ความขัดแย้งกับคนไทย ปัญหาการล่วงละเมิด ภาพพจน์ทางลบต่อ ประชาคมโลก การตั้งรกราก สายลับ/การจารกรรม ๘

  9. ด้านเศรษฐกิจ ภาระค่าใช้จ่ายของภาครัฐ การศึกษา สาธารณสุข สาธารณูปโภค ระบบเศรษฐกิจ ประเภทกิจการที่คนไทยไม่ทำ ๙

  10. ด้านสังคม ปัญหาความไม่สงบเรียบร้อย ถูกจำกัดโอกาสและสิทธิ การรวมกันเป็นชุมชน ปัญหาเกี่ยวกับบุตรหลานที่เกิดภายหลัง ปัญหาสังคมระยะยาว ปัญหาความขัดแย้งกับคนไทย เชื้อชาติ ทัศนคติ การแย่งชิงทรัพยากร ๑๐

  11. ด้านการเมือง การเรียกร้องสถานะและสิทธิ องค์กรพัฒนาเอกชนและองค์กรระหว่างประเทศด้านสิทธิมนุษยชน สนับสนุน/ผลักดัน ภาพลักษณ์ของไทยในทางลบต่อประชาคมโลก จากขบวนการหรือกลุ่มแสวงประโยชน์ ประเด็นการจำกัดสิทธิ การกดขี่ ถูกนำไปโจมตีในเวทีโลก ๑๑

  12. ปัญหาความสัมพันธ์กับประเทศเพื่อนบ้าน/ปัญหาการเมืองระหว่างประเทศปัญหาความสัมพันธ์กับประเทศเพื่อนบ้าน/ปัญหาการเมืองระหว่างประเทศ ความหวาดระแวงของประเทศเพื่อนบ้าน การกระทบกระทั่งบริเวณชายแดน ๑๒

  13. ปัญหาและผลกระทบอื่น ๆ ปัญหาโรคติดต่อร้ายแรง * โรคซิฟิลิส * โรคพยาธิเท้าช้าง * วัณโรค * โรคเรื้อน ๑๓

  14. แนวคิด นโยบาย ยุทธศาสตร์ การแก้ไขปัญหาในอดีต ลักษณะเชิงรับ กลุ่มอยู่นาน รับรองสถานะให้อยู่อาศัยอย่างถูกต้อง/ถาวร ทำประโยชน์/ผสมกลมกลืน กลุ่มผ่อนผัน ให้อยู่ชั่วคราว รอการส่งกลับ เนื่องจากเหตุผลด้านมนุษยธรรม กลุ่มอื่น ๆ ผลักดันส่งกลับตามกฎหมาย สกัดกั้นป้องกันการเข้ามาใหม่ ๑๔

  15. ปัญหาอุปสรรคของการดำเนินงานที่ผ่านมาปัญหาอุปสรรคของการดำเนินงานที่ผ่านมา นโยบายและมาตรการมีลักษณะแยกส่วน มีจุดอ่อน ระบบฐานข้อมูลขาดความเชื่อมโยง การสกัดกั้นบริเวณชายแดนทำได้อย่างจำกัด ปัญหาเกี่ยวกับการผลักดันและส่งกลับ ๑๕

  16. ปัญหาข้อจำกัดจากประเทศต้นทางปัญหาข้อจำกัดจากประเทศต้นทาง ปัญหาเกี่ยวกับขบวนการนำพา/การทุกจริต นโยบายและยุทธศาสตร์ขาดความสมดุล องค์กรพัฒนาเอกชนและองค์กรด้านสิทธิมนุษยชน มีข้อโต้แย้ง ๑๖

  17. นโยบาย ยุทธศาสตร์ แนวทางการแก้ไขปัญหาในปัจจุบัน ได้รับการรับรองกลุ่มที่อาศัยอยู่ถาวร ๑๔ กลุ่ม • ยุทธศาสตร์การจัดการปัญหาสถานะและสิทธิของบุคคล(มติ ครม. ๑๘ ม.ค.๒๕๔๘) กลุ่มที่ได้รับการผ่อนผันให้อยู่ชั่วคราว กลุ่มคนไร้สถานะอื่นๆ ที่ไม่สามารถกลับประเทศต้นทาง(รวมทั้งแรงงานต่างด้าวฯที่กลับไม่ได้) • ยุทธศาสตร์บริหารแรงงานต่างด้าวทั้งระบบ (มติสภามช. ๑๐ พ.ย.๒๕๔๖และมติ ครม.๒มี.ค.๒๕๔๗) แรงงานต่างด้าวหลบหนีเข้าเมือง ๓ สัญชาติ (พม่าลาวและกัมพูชา) ๑๗

  18. นโยบาย ยุทธศาสตร์ แนวทางการแก้ไขปัญหาในปัจจุบัน • นโยบายและมาตรการเฉพาะสมช. / สภา มช. ผู้หนีภัยการสู้รบจากพม่า ชาวม้งลาวอพยพที่ จ.เพชรบูรณ์ ผู้หลบหนีเข้าเมืองชาวเกาหลีเหนือ ผู้หลบหนีเข้าเมืองชาวโรฮิงยา กลุ่มหลบหนีเข้าเมืองที่อพยพเข้ามาใหม่ • การดำเนินการปราบปราม จับกุมส่งกลับ ตาม พ.ร.บ. คนเข้าเมือง พ.ศ. ๒๕๕๒ วีซ่าหมดอายุ ๑๘

  19. ยุทธศาสตร์การจัดการปัญหาสถานะและสิทธิของบุคคล(มติ ครม. ๑๘ ม.ค. ๒๕๔๘)(มติ ครม.๒๐ ก.พ.๒๕๕๐)(มติ ครม.๓ พ.ย.๒๕๕๒) ๑๙

  20. กรอบความคิด พระราช ดำรัสของพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวต่อ ครม.๑๘ ก.พ.๒๕๔๔ “ประชาชนที่อยู่ในประเทศเขามีมานานแล้ว แต่ก็ไม่เป็นคนไทย คือ เขาไม่ถือว่าเป็นคนไทยแท้จริง เขาอยู่และเกิดในเมืองไทย แต่ก็ไม่ได้รับประโยชน์ ของความเป็นไทย สิ่งนี้เป็นสิ่งที่จะต้องปฏิบัติเหมือนกัน เพราะว่าถ้าหากว่ามีคน ที่อยู่ในเมืองไทยและก็มีความน้อยใจมาก ไม่มีใครเอาใจใส่ ก็จะทำให้ความมั่นคง ของประเทศด้อยไป” ๒๐

  21. การอยู่ร่วมกันอย่างสันติ ความเท่าเทียม ความหลากหลาย เคารพสิทธิขั้นพื้นฐาน การยอมรับว่าไม่สามารถกลับประเทศต้นทางได้ ความสอดคล้องกับพันธกรณี/กฎหมายระหว่างประเทศ มีฐานข้อมูลและเอกสารแสดงตน การมีส่วนร่วมของทุกภาคส่วนของสังคม ๒๑

  22. วัตถุประสงค์ เร่งรัดกำหนดสถานะที่เหมาะสม เข้าถึงสิทธิที่พึงได้รับ คุ้มครองดูแลด้านสิทธิมนุษยชน มีความสมดุล มีแนวทางจัดการปัญหาอย่างเป็นระบบ ปรับทัศนคติ จนท.รัฐ สร้างหลักประกันให้แก่ จนท.รัฐ ป้องกันการอพยพเข้ามาใหม่ ๒๒

  23. ยุทธศาสตร์รองรับ ยุทธศาสตร์การกำหนดสถานะ ยุทธศาสตร์การให้สิทธิขั้นพื้นฐาน ยุทธศาสตร์การดำเนินการเชิงรุกอย่างสร้างสรรค์ เพื่อป้องกันการอพยพเข้ามาใหม่ ยุทธศาสตร์การบริหารจัดการ ๒๓

  24. ยุทธศาสตร์การกำหนดสถานะ(มท.เจ้าภาพหลัก)ยุทธศาสตร์การกำหนดสถานะ(มท.เจ้าภาพหลัก) สำรวจจัดทำทะเบียนประวัติและเอกสารแสดงตน แก้ไขหลักเกณฑ์/เงื่อนไขการพิจารณา/ลดขั้นตอน กำหนดกรอบการพิจารณา กลุ่มเป้าหมาย 6 กลุ่ม ใช้แนวทาง “ให้ก่อน ถอนทีหลัง” กระจายอำนาจการอนุมัติในระดับที่เหมาะสม ให้ภาควิชาการ / NGO มีส่วนร่วมการพิจารณาคำร้อง ในรูปคณะกรรมการ ๒๔

  25. กลุ่มเป้าหมายที่จะได้รับการพิจารณากำหนดสถานะ 6 กลุ่ม ลูกได้สัญชาติไทย แปลงสัญชาติ มีเชื้อสายไทย กลุ่ม 1: ผู้ที่อพยพเข้ามาในประเทศกลับประเทศต้นทางไม่ได้/มีชื่อในระบบทะเบียน อาศัยอยู่๑๐ปี นับถึงวันที่ ครม.อนุมัติยุทธศาสตร์ (อพยพเข้ามาก่อน ๑๘ม.ค.๒๕๓๘) บุคคลต่างด้าวเข้าเมืองโดยชอบด้วยกฎหมาย ไม่มีเชื้อสายไทย ลูกได้สัญชาติไทย เกิดและอาศัยในไทยจบการศึกษาสถาบันอุดมศึกษาของไทย ระดับอุดมศึกษา สัญชาติไทย กลุ่ม 2: เด็ก/บุคคลที่เรียนอยู่ในสถานศึกษา ระดับต่ำกว่าอุดมศึกษา ใช้หลักเกณฑ์กลุ่มที่ 1 สัญชาติไทย ขาดบุพการี/ ชื่อในทะเบียน/ อยู่นานอย่างน้อย 10 ปี นับถึงวันที่ ครม.อนุมัติยุทธศาสตร์ กลุ่ม 3: บุคคลไร้รากเหง้า (ไม่ทราบจำนวน) สัญชาติไทย ขาดบุพการี/ เป็นบุตรบุญธรรมของบุคคลสัญชาติไทย ๒๕

  26. กลุ่ม 4: ผู้ทำคุณประโยชน์ (ไม่ทราบจำนวน) สัญชาติไทย เป็นรายกรณี ให้อยู่ชั่วคราวและกำหนดสถานะโดยใช้กระบวนการพิจารณากลุ่ม 1 - 4 กลุ่ม 5 : แรงงานต่างด้าวที่จดทะเบียน/ประเทศต้นทางไม่รับกลับ กำหนดสถานะไม่ได้ คณะอนุกรรมการพิจารณา ให้อยู่ชั่วคราว กลุ่ม 6 : คนต่างด้าวอื่น ๆ ที่ไม่เข้าหลักเกณฑ์ / กลับประเทศต้นทางไม่ได้ ส่งคณะอนุกรรมการพิจารณา ๒๖

  27. ยุทธศาสตร์การให้สิทธิขั้นพื้นฐานยุทธศาสตร์การให้สิทธิขั้นพื้นฐาน (มท. สธ. ศธ. รง. ,พม. ยธ.) กรณีไม่มีสถานะถูกต้อง มีชื่อในระบบทะเบียน อยู่ระหว่างการพิจารณา ให้สิทธิขั้นพื้นฐาน (ใบรับรองการเกิด/การศึกษา/สาธารณสุข/ การทำงาน) กรณีไม่มีชื่อในระบบทะเบียน สำรวจจัดทำทะเบียนประวัติควบคุม ให้สิทธิพื้นฐาน ตรวจสอบภูมิลำเนา ส่งกลับ - กลับไม่ได้ เข้าสู่กระบวนการกำหนดสถานะ ๒๗

  28. ยุทธศาสตร์การดำเนินการเชิงรุกและเชิงสร้างสรรค์ยุทธศาสตร์การดำเนินการเชิงรุกและเชิงสร้างสรรค์ เพื่อป้องกันการอพยพเข้ามาใหม่ (กห. กต. สตช. มท.) ประสานความร่วมมือกับประเทศเพื่อบ้าน (พัฒนาคน/ชุมชนชายแดน) ใช้ประโยชน์องค์กรระหว่างประเทศให้ความช่วยเหลือ (คุณภาพชีวิต/สภาวะแวดล้อม) เข้มงวด กวดขัน ป้องกัน สกัดกั้น เข้มข้นในการปฏิบัติและควบคุมทางทะเบียน ๒๘

  29. ยุทธศาสตร์การบริหารจัดการยุทธศาสตร์การบริหารจัดการ กำหนดมาตรการรองรับ แผนงาน โครงการ ระบบติดตามและประเมินผล สมช. เป็นหน่วยงานหลักในการอำนวยการ ประสานงาน และติดตามผล หน่วยงานที่เกี่ยวข้องหลัก มท. รง. กต. สตช. กห. ศธ. สธ. ยธ. และ พม. มีคณะทำงานเฉพาะกิจเร่งรัดแก้ปัญหาสถานะ ๒๙

  30. สร้างระบบเชื่อมโยงข้อมูลสร้างระบบเชื่อมโยงข้อมูล ปรับทัศนคติทุกฝ่าย โปร่งใส ตรวจสอบได้ ให้ประเทศเพื่อนบ้านและองค์กรระหว่างประเทศร่วมมือ บังคับใช้กฎหมายอย่างจริงจัง จัดลำดับความสำคัญเร่งด่วน ๓๐

  31. องค์กรบริหารยุทธศาสตร์ฯองค์กรบริหารยุทธศาสตร์ฯ คณะกรรมการนโยบายและอำนวยการจัดการปัญหาสถานะและสิทธิของบุคคล (นอส.) - รอง นรม. ที่ได้รับมอบหมาย:ประธาน (นายสุเทพ เทือกสุบรรณ) –รมว.มท.รองประธาน - เลขาธิการสภาความมั่นคงแห่งชาติ:เลขานุการ - หน้าที่:เสนอแนะนโยบายและยุทธศาสตร์ อำนวยการ ประสานงาน กำกับ ดูแล รวมถึงการกลั่นกรอง แผนงาน/ โครงการ คณะอนุกรรมการอำนวยการ ประสานงาน กำกับดูแล และติดตามประเมินผลการดำเนินงานตามยุทธศาสตร์ฯ - เลขาธิการสภาความมั่นคงแห่งชาติ ประธาน - ผอ.สำนักความมั่นคงกิจการภายในประเทศ สมช.::เลขานุการ - หน้าที่: • อำนวยการ ประสานงาน กำกับดูแล • พิจารณาข้อเสนอแนะแก่ส่วนราชการ • ศึกษาเสนอแนะแนวทางดำเนินการต่อกลุ่มคนที่ไม่มีคุณสมบัติ ตามยุทธศาสตร์ฯ • เสนอแนะแก้ปัญหาข้อจำกัดของยุทธศาสตร์ • คณะอนุกรรมการกำกับดูแลการสำรวจเพื่อจัด ทำเอกสาร แสดงตนและเร่งรัดให้สถานะตามยุทธศาสตร์ • - อ.กรมการปกครอง ประธาน • ผอ.สำนักความมั่นคงภายในกรมการปกครอง: • เลขานุการ • หน้าที่ • อำนวยการ ประสานการสำรวจ/จัดทำ เอกสารแสดงตน • • เร่งรัดให้สถานะ • • แก้ปัญหาข้อจำกัดการปฏิบัติงาน ๓๑

  32. ผลการแก้ปัญหาสถานะและสิทธิผลการแก้ปัญหาสถานะและสิทธิ ๓๒ • สำรวจจัดทำทะเบียนประวัติและเอกสารแสดงตนให้แก่กลุ่มเป้าหมาย ที่มีปัญหาสถานะ • ปรับปรุงฐานข้อมูลกลุ่มที่จดทะเบียนไว้เดิมเป้าหมาย ๓๙๖,๗๒๔ คน (มาแสดงตัว ๑๙๖,๖๐๖ คน) เพื่อเร่งรัดกำหนดสถานะ • สำรวจกลุ่มที่ตกสำรวจในอดีต - กลุ่มอยู่มานาน ๑๒๗,๓๐๐ คน - กลุ่มเด็กนักเรียน ๖๔,๘๙๓ คน - กลุ่มคนไร้รากเหง้า ๒,๙๗๗ คน - กลุ่มคนทำประโยชน์ ๒๓ คน รวม ๑.๙ แสนคน อยู่ระหว่างการเร่งรัดกำหนดสถานะตามนโยบายและยุทธศาสตร์

  33. ผลการแก้ปัญหาสถานะและสิทธิผลการแก้ปัญหาสถานะและสิทธิ ๓๓ • การให้สิทธิ • การศึกษา (มติ ครม. ๕ ก.ค. ๒๕๔๘) - ทุกคนที่อยู่ในประเทศไทยมีสิทธิเข้ารับการศึกษา - ยกเว้นผู้หนีภัยการสู้รบจากพม่าให้เรียนอยู่ในที่พักพิงชั่วคราว • การทำงาน พ.ร.บ. การทำงานของคนต่างด้าว พ.ศ. ๒๕๕๑ เปิดโอกาสให้ทำงานได้ • สาธารณสุข ดูแลตามหลักมนุษยธรรม ยกเว้นกลุ่มที่จดทะเบียนแล้ว อยู่ระหว่างการจัดระบบให้ชัดเจนเป็นการเฉพาะ

  34. ปัญหาอุปสรรคการดำเนินการตามยุทธศาสตร์ฯปัญหาอุปสรรคการดำเนินการตามยุทธศาสตร์ฯ • กลุ่มเป้าหมายตกสำรวจ • กลุ่มที่มิใช่เป้าหมายมาขอรับการสำรวจจัดทำทะเบียนประวัติ • และบัตร เพื่อเข้ามาแสวงประโยชน์ในประเทศไทย • กลุ่มเป้าหมายให้ข้อมูลเป็นเท็จเกิดข้อจำกัดในการพิสูจน์ทราบ • ตัวบุคคล ส่งผลต่อการสำรวจและพิจารณากำหนดสถานะ • ปัญหาการทุจริตของเจ้าหน้าที่ • กลุ่มเป้าหมายไม่มาเข้ารับการสำรวจ และยื่นคำร้องเพื่อขอรับสถานะ • จนท. ขาดความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับแนวทางปฏิบัติ / ไม่กล้าตัดสินใจ • รับรองสถานะ • - ผู้มีอำนาจไม่อนุมัติการให้สถานะ ๓๔

  35. การขยายเวลาการดำเนินการตามยุทธศาสตร์ฯการขยายเวลาการดำเนินการตามยุทธศาสตร์ฯ • ยุทธศาสตร์กำหนดกรอบการดำเนินการไว้ ๒ ปี • ปัญหาอุปสรรค / ข้อจำกัด ทำให้มีการขยายเวลาการดำเนินการ • ตามยุทธศาสตร์ฯ •  ครั้งแรก มติ ครม. ๒๐ ก.พ. ๒๕๕๐ •  ครั้งล่าสุด มติ ครม. ๓ พ.ย. ๒๕๕๒ ขยาย ๒ ปี นับตั้งแต่วันที่ ครม. เห็นชอบเพื่อดำเนินการกิจกรรม ๔ เรื่อง คือ • ๑) การสำรวจกลุ่มเป้าหมายที่ตกสำรวจ • ๒) การเร่งรัดกำหนดสถานะบุคคล • ๓) พิจารณาให้สิทธิแก่กลุ่มที่อยู่ระหว่างกระบวนการแก้ปัญหา • ๔) สกัดกั้นป้องการเข้ามาใหม่ ๓๕

  36. นโยบายต่อบุตรของแรงงานต่างด้าวหลบหนีเข้าเมืองนโยบายต่อบุตรของแรงงานต่างด้าวหลบหนีเข้าเมือง ๓ สัญชาติ (พม่า ลาว และกัมพูชา) มติ ครม. ๓ พ.ย. ๒๕๕๒ - ให้กรมการปกครองรับรายงานตัวเพื่อจัดทำทะเบียนประวัติ ให้แก่บุตร(อายุไม่เกิน ๑๕ ปี) แรงงานต่างด้าวฯ ที่จดทะเบียนในระบบ ผ่อนผันตามมติ ครม. เมื่อ ๒๖ พ.ค. ๒๕๕๒ และ ๒๘ ก.ค. ๒๕๕๒ - ผ่อนผันให้บุตรดังกล่าวอยู่ชั่วคราวเท่าที่บิดาและมารดาได้รับ อนุญาตให้ทำงานและผ่อนผันให้อยู่ชั่วคราว ๓๖

  37. แนวทางดำเนินการในระยะต่อไปแนวทางดำเนินการในระยะต่อไป • มติสภา มช. เมื่อ ๒๗ ธ.ค. ๒๕๕๐ เห็นควรให้มีการทบทวน เพื่อนำไปสู่การจัดทำยุทธศาสตร์แก้ปัญหาผู้หลบหนีเข้าเมืองทั้งระบบ • มติ สภามช. เมื่อ ๑๗ ส.ค. ๒๕๕๒ เห็นชอบหลักการกรอบความคิดการจัดทำยุทธศาสตร์แก้ปัญหาผู้หลบหนีเข้าเมืองทั้งระบบ - ความสมดุล - บูรณาการ / เอกภาพ - เชิงรุก - ป้องกันการเข้ามาใหม่ - เชื่อมโยงข้อมูล • สมช.อยู่ระหว่างดำเนินการ ๓๗

  38. จบการบรรยาย ๔๑

More Related