1 / 44

สถานการณ์การตลาดพืชหลักๆ ของโลก

สถานการณ์การตลาดพืชหลักๆ ของโลก. โดย สาโรช อังสุมาลิน คณบดี คณะเศรษฐศาสตร์มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ 15 กรกฎาคม 2553. การนำเสนอนี้เป็นส่วนหนึ่งของ การสัมมนาวิชาการ เรื่อง สถานการณ์เศรษฐกิจการเกษตร ครึ่งแรกของปี 2553. ร่วมกับ สำนักงานเศรษฐกิจการเกษตร กระทรวงเกษตรและสหกรณ์.

mason-weber
Télécharger la présentation

สถานการณ์การตลาดพืชหลักๆ ของโลก

An Image/Link below is provided (as is) to download presentation Download Policy: Content on the Website is provided to you AS IS for your information and personal use and may not be sold / licensed / shared on other websites without getting consent from its author. Content is provided to you AS IS for your information and personal use only. Download presentation by click this link. While downloading, if for some reason you are not able to download a presentation, the publisher may have deleted the file from their server. During download, if you can't get a presentation, the file might be deleted by the publisher.

E N D

Presentation Transcript


  1. สถานการณ์การตลาดพืชหลักๆ ของโลก โดยสาโรช อังสุมาลิน คณบดี คณะเศรษฐศาสตร์มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์15 กรกฎาคม 2553

  2. การนำเสนอนี้เป็นส่วนหนึ่งของ การสัมมนาวิชาการ เรื่อง สถานการณ์เศรษฐกิจการเกษตร ครึ่งแรกของปี 2553 ร่วมกับ สำนักงานเศรษฐกิจการเกษตร กระทรวงเกษตรและสหกรณ์

  3. พืชหลักๆประกอบด้วย ข้าว น้ำตาล/ อ้อย ข้าวโพด ยางพารา ปาล์มน้ำมัน

  4. หัวข้อหลักๆ ที่จะกล่าวถึงของพืชแต่ละชนิด การผลิต (อุปทาน) การใช้ประโยชน์ (อุปสงค์) ราคา เป็นการคาดการณ์ไปในอนาคต

  5. แหล่งข้อมูล กระทรวงเกษตรสหรัฐอเมริกา สำนักงานอาหารและเกษตรแห่งสหประชาชาติ อื่นๆ

  6. สถานการณ์การตลาดข้าวของโลกสถานการณ์การตลาดข้าวของโลก การผลิต - FAO: ผลผลิตข้าวของโลก คาดว่าจะได้ 682 ล้านตันข้าวเปลือก หรือ 456 ล้านตันข้าวสาร - สูงกว่าที่เคยคาดไว้ครั้งหลังสุด ที่คาดว่าจะได้ 675 ล้านตันข้าวเปลือก 451 ล้านตันข้าวสาร

  7. การผลิตข้าว ประเทศที่ผลิตได้ผลดี คือ - อินเดีย อินโดนีเซีย และปากีสถาน ประเทศที่ผลิตได้ลดลง - อิหร่าน ญี่ปุ่น พม่า ฟิลิปปินส์ เซียราเลโอน เวเนซูเอลา และไทย

  8. Rice Production and TOTAL Consumption(Milled basis)

  9. การค้าข้าว คาดว่าปริมาณการค้าข้าวของโลกจะสูงขึ้น - มีการแข่งขันกันสูงในระหว่างประเทศผู้ส่งออก - ระดับราคาข้าวอ่อนตัวลง - หลายประเทศมีมาตรการกระจายข้าว ให้กับ ประชาชนกลุ่มที่มีความอ่อนแอทางเศรษฐกิจ

  10. ปริมาณการค้าข้าว - ที่คาดว่าจะเพิ่มขึ้น จะเป็นการส่งออกจากจีน อียิปต์ พม่า อเมริกา และปากีสถาน - การส่งออกของไทย และเวียดนามจะลดลง - ไทย จะส่งออก 8.8 ล้านตัน เป้าหมาย 9 ล้านตัน - เวียดนาม จะส่งออก 5.8 ล้านตัน ปีที่แล้ว 6 ล้านตัน

  11. ราคาข้าว - ลดลงอย่างต่อเนื่องตลอดปี 2552 - ดีขึ้นเล็กน้อยในเดือนพฤศจิกายน และธันวาคม ฟิลิปปินส์ซื้อข้าว 2 ล้านตัน - ราคาเริ่มตกลงอีก หลังจากเดือนมกราคม 2553 - ไม่มีการสั่งซื้อจากประเทศผู้นำเข้าหลักๆ - อุปทานมีมาก

  12. ราคาข้าวของประเทศไทย - ราคาซื้อขายกันเพียง 475 ดอลลาร์ต่อตัน พฤษภาคม 2553 - ต่ำกว่าในเดือนมกราคม ร้อยละ 21 - ต่ำที่สุด ตั้งแต่เดือน กุมภาพันธ์ 2551 เป็นต้นมา

  13. สถานการณ์การตลาดน้ำตาลของโลกสถานการณ์การตลาดน้ำตาลของโลก - คาดว่าจะมีผลการผลิต 152.3 ล้านตัน ในปี 2552/53 - เพิ่มขึ้นร้อยละ 3.5 แต่ต่ำกว่าที่คาดการณ์ไว้ครั้งหลังสุด - การผลิตของบราซิล เม็กซิโก และไทย จะลดลง -บราซิล : ฝนตกหนักในฤดูเก็บเกี่ยว ทำให้ผลผลิตต่อไปลดลง ต้องยืดระยะเวลาเก็บเกี่ยว ออกไป - ไทย : เกิดภาวะแห้งแล้ง

  14. การผลิตน้ำตาล - ประเทศที่ผลิตได้มากขึ้น คือ ออสเตรเลีย อินเดีย รัสเซีย แต่การเพิ่มขึ้น น้อยกว่า การลดลงที่กล่าวถึงข้างต้น - อินเดีย: วัฏจักร ผลผลิตสูง 3-4 ปี ตามด้วย ผลผลิตลดลง 2-3 ปี

  15. การผลิตอ้อยของไทย - ปี 2552/53 ผลผลิตน้ำตาล ลดลงร้อยละ 3 เกิดภาวะแห้งแล้งในพื้นที่ปลูกอ้อยหลักๆ ของประเทศ - ปี 2553/54 คาดว่า จะมีการขยายพื้นที่ปลูก - ราคาที่ฟาร์มสูงมาก ในฤดูที่ผ่านมา - สูงกว่าราคาประกัน ร้อยละ 26

  16. การค้าน้ำตาลของโลก - คาดว่าจะเพิ่มขึ้นร้อยละ 12 - อุปสงค์การนำเข้าของอินเดียสูงมาก - คาดว่าปริมาณการบริโภคจะมากกว่าปริมาณ การผลิต 7 ล้านตัน

  17. ราคาน้ำตาลของโลก - การคาดประมาณเบื้องต้น ของปี 2553/54 - คาดว่าจะมีปริมาณการผลิตส่วนเกินเหลืออยู่เล็กน้อย - แรงกดดันให้ราคาอ่อนตัวลง

  18. ราคาน้ำตาล - มกราคม 2553 เท่ากับ 26.46 ดอลลาร์/ปอนด์ - พฤษภาคม 2553 เท่ากับ 15.10 ดอลลาร์/ปอนด์ ลดลง ร้อยละ 43 - การเก็งกำไร ในการนำเข้าของอินเดีย - ราคาจะกลับมาสูงใหม่ได้ หากเกิดภาวะดินฟ้าอากาศ เปลี่ยนแปลงมากๆในประเทศผู้ส่งออกรายใหญ่

  19. สถานการณ์ตลาดข้าวโพดของโลกสถานการณ์ตลาดข้าวโพดของโลก - การผลิตน่าจะดี - อุปสงค์ยังไม่ดีนัก

  20. อุปทานของข้าวโพด - ผลผลิตของโลกคาดว่าจะเพิ่มขึ้น ร้อยละ 1 - คาดว่าการผลิตของอเมริกา ซึ่งผลิตและส่งออกมาก ที่สุดของโลก จะให้ผลดี

  21. อุปสงค์ของข้าวโพด - การฟื้นตัวของเศรษฐกิจในประเทศต่างๆ เป็นไปอย่าง ช้าๆ อุปสงค์จึงยังไม่ดีมากนัก - การใช้เพื่อเป็นอาหารสัตว์ คาดว่าจะไม่เปลี่ยนแปลง - เศรษฐกิจถดถอย ทำให้อุปสงค์ของผลิตภัณฑ์จาก สัตว์ลดลง อุปสงค์ของพืชอาหารสัตว์จึงลดลง - ผลิตภัณฑ์อื่นๆ ที่ใช้ทดแทนข้าวโพดในการเลี้ยงสัตว์ มีอุปทานเป็นจำนวนมาก

  22. อุปสงค์ของข้าวโพด - การใช้เพื่อเป็นอาหารจะเพิ่มขึ้น ร้อยละ 2 เอธิโอเปีย ไนจีเรีย อินเดีย - การใช้ในอุตสาหกรรมจะเพิ่มขึ้น ร้อยละ 4 นำไปทำ เอทานอล

  23. Corn Production and Total Consumption

  24. Consumption for food and others and Feed Consumption

  25. Corn Total Export

  26. ราคาของข้าวโพด - ราคาในตลาดโลกเริ่มอ่อนตัวลง ตั้งแต่ปี 2552 - การซื้อของจีน จะทำให้ราคาฟื้นตัวขึ้นบ้าง แต่แรงกดดันที่ ทำให้ราคาคงอ่อนตัวยังมีมาก - เงินดอลลาร์แข็งตัวขึ้น - มีการคาดการณ์ว่าการผลิตจะให้ผลดี - การขยายตัวของการผลิตเอทานอลลดลง - อุปทานของพืชอาหารสัตว์อื่นๆ ที่ใช้ทดแทนกันได้มีมาก

  27. สถานการณ์การตลาดปาล์มน้ำมันสถานการณ์การตลาดปาล์มน้ำมัน การผลิต - การเติบโตของผลผลิต จะต่ำกว่าร้อยละ 3 ซึ่งเป็นอัตราเฉลี่ยในอดีต - ผลผลิตต่อไร่ตกต่ำติดต่อกันเป็นเวลา 2 ปีต่อเนื่อง - เป็นผลมาจากภาวการณ์ El Nino - มาเลเซีย อยู่ในช่วงที่ต้นปาล์มให้ผลผลิตลดลง และกำลังมีการปลูก ทดแทน พร้อมทั้งขาดแคลนแรงงาน - อินโดนีเซีย พื้นที่ปลูกที่เริ่มให้ผลผลิตมีมากขึ้น

  28. Palm Production and TOTAL Consumption

  29. อุปสงค์ของปาล์มน้ำมันอุปสงค์ของปาล์มน้ำมัน คาดว่าอุปสงค์ในช่วงปี 2552/53 จะขยายตัวอย่างต่อเนื่อง - การนำไปทำอาหารเพิ่มขึ้น จีน อินเดีย - อุตสาหกรรมทำน้ำมันดีเซลชีวภาพ จะขยายตัวมากขึ้น ส่วนเหลื่อมกำไรเมื่อใช้น้ำมันพืชเป็นวัตถุดิบสูงกว่า แต่จะ เสียเปรียบ ถั่วเหลือง และ rapeseed เล็กน้อย - อุปสงค์จะกระจุกตัวใน จีน เอเชียใต้ เอเชียตะวันออกเฉียงใต้ อเมริกา EU อาร์เจนตินา และบราซิล

  30. Palm Consumption for Industry, Food, Feed

  31. Palm Total Export

  32. ราคาปาล์มน้ำมัน - ราคายังจะคงอยู่ในระดับสูงต่อไป เมื่อเทียบกับอดีต - เกษตรกรจะยังปลูกปาล์มน้ำมันเพิ่มขึ้น - การส่งออกของอินโดนีเซีย แซงมาเลเซียแล้ว

  33. สรุปสถานการณ์การตลาดยางพาราของโลกสรุปสถานการณ์การตลาดยางพาราของโลก การผลิต - ปี 2552 ผลิตได้ 8.6 ล้านตัน น้อยกว่าปี 2551 ร้อยละ 5.1 - พื้นที่เก็บเกี่ยวยางที่ให้ผลผลิตแล้วสูงขึ้น - แต่ผลผลิตต่อไร่ลดลง เพราะดิน ฟ้า อากาศ ไม่อำนวย - การผลิต ไทย ลดลงร้อยละ 6.1 อินโดนีเซียร้อยละ 5.7 มาเลเซียร้อยละ 22.4 และอินเดียร้อยละ 7.3 - ใน ไทย มาเลเซีย ศรีลังกา มีฝนตกมากเกินไป อินโดนีเซียเกิดภาวะฝน แล้ง

  34. การผลิตยางพารา - ประเทศที่มีผลผลิตยางเพิ่มขึ้น คือ จีน เพิ่มขึ้นร้อยละ 17.8 เวียตนามร้อยละ 9.7 กัมพูชาร้อยละ 81.1 และศรีลังกา ร้อยละ 4.7 - มีการคาดการณ์ว่าในเดือนตุลาคม-ธันวาคมปี 2553จะมี ฝนตกมากทางภาคใต้ของไทย คาดว่าผลผลิตจะลดลงร้อยละ 10 โดยจะให้ผลผลิต 2.9 ล้านตัน ต่ำกว่าที่คาดไว้คือ 3 ล้านตัน

  35. การผลิตในอนาคต - เวียตนามในอีก 5 ปีข้างหน้าจะขยายพื้นที่ปลูกอีก 220,000 เฮคแตร์ (6.25 ไร่) และจะมีพื้นที่ปลูกทั้งหมด 800,000 เฮคแตร์ - มาเลเซีย จะเพิ่มผลผลิตต่อไร่ จาก 1,400 กก. ต่อเฮคแตร์ เป็น 1,800 ในอีก 5 ปีข้างหน้า - ไทยในช่วงปี 2547-52 ขยายพื้นที่ปลูกมาแล้ว 1 ล้านไร่และ แผนจะขยายพื้นที่ปลูกอีก 1 ล้านไร่

  36. ราคายางพารา - การสูงขึ้นของราคายางในเร็วๆ นี้เป็นผลมาจาก ปัจจัยด้าน อุปทาน - การเปลี่ยนแปลงของดินฟ้าอากาศ - ราคาน้ำมันดิบของโลกสูงขึ้น - คาดว่าราคาจะกลับมาบูมอีกครั้งในอนาคต - ราคาน้ำมันดิบมีแนวโน้มสูงขึ้นเรื่อยๆ - การบริโภคในอเมริกาเริ่มฟื้นตัว

  37. จบการนำเสนอ

More Related