1 / 31

การจัดวางระบบ การควบคุมภายใน

การจัดวางระบบ การควบคุมภายใน. สำนักบริหารพื้นที่อนุรักษ์ที่ 16 28 เมษายน 2554. วัตถุประสงค์ของการประชุม. เพื่อให้ผู้รับผิดชอบการจัดวางระบบควบคุมภายใน มีความรู้ ความเข้าใจในแนวทางการดำเนินการ การวางระบบควบคุมภายใน เพื่อเพิ่มทักษะในการจัดทำรายงานการควบคุมภายใน.

Télécharger la présentation

การจัดวางระบบ การควบคุมภายใน

An Image/Link below is provided (as is) to download presentation Download Policy: Content on the Website is provided to you AS IS for your information and personal use and may not be sold / licensed / shared on other websites without getting consent from its author. Content is provided to you AS IS for your information and personal use only. Download presentation by click this link. While downloading, if for some reason you are not able to download a presentation, the publisher may have deleted the file from their server. During download, if you can't get a presentation, the file might be deleted by the publisher.

E N D

Presentation Transcript


  1. การจัดวางระบบการควบคุมภายในการจัดวางระบบการควบคุมภายใน สำนักบริหารพื้นที่อนุรักษ์ที่ 16 28 เมษายน 2554

  2. วัตถุประสงค์ของการประชุมวัตถุประสงค์ของการประชุม • เพื่อให้ผู้รับผิดชอบการจัดวางระบบควบคุมภายใน มีความรู้ ความเข้าใจในแนวทางการดำเนินการ การวางระบบควบคุมภายใน • เพื่อเพิ่มทักษะในการจัดทำรายงานการควบคุมภายใน

  3. Murphy’s Lawความผิดพลาดย่อมเกิดขึ้นได้เสมอ(If anything can go wrong,it will) • Anderson’s Law • ถ้าท่านมีวิธีการควบคุมด้านต่างๆที่ได้ผล ความผิดพลาดจะไม่เกิดขึ้น • (If you have effective controls, it will not)

  4. ความหมาย ตาม คตง. “การควบคุมภายใน หมายความว่า กระบวนการปฏิบัติงานที่ผู้กำกับดูแล ฝ่ายบริหารและบุคลากรของหน่วยรับตรวจจัดให้มีขึ้นเพื่อสร้างความมั่นใจอย่างสมเหตุสมผลว่า การดำเนินงานของหน่วยรับตรวจจะบรรลุวัตถุประสงค์ของการควบคุมภายใน ดังต่อไปนี้

  5. 1.การดำเนินงาน(Operation:O) หมายถึงการบริหารจัดการ การใช้ทรัพยากรให้เป็นไปอย่างมีประสิทธิภาพ รวมถึงการดูแลทรัพย์สิน การป้องกันหรือลดความผิดพลาด ความเสียหาย การรั่วไหล การสิ้นเปลือง หรือการทุจริตของหน่วยรับตรวจ 2. การรายงานทางการเงิน ( Financial : F) หมายถึงการรายงานทางการเงินที่จัดทำขึ้นเพื่อใช้ภายในและภายนอกหน่วยรับตรวจ เป็นไปอย่างถูกต้อง เชื่อถือได้ และทันเวลา

  6. 3. การปฏิบัติตามกฎหมาย ระเบียบ ข้อบังคับ หรือมติคณะรัฐมนตรีที่เกี่ยวข้อง กับการดำเนินงานของหน่วยรับตรวจ รวมทั้งการปฏิบัติตามนโยบาย และวิธีการปฏิบัติงาน ที่องค์กรได้กำหนดขึ้น

  7. Input Process Output การควบคุมภายใน ประสิทธิภาพ / ประสิทธิผล / คุ้มค่า การประเมินผลการควบคุมภายใน

  8. การควบคุมภายใน • การควบคุมปัจจัยการทำงาน หรือทรัพยากรต่างๆ(Input Control) ได้แก่ บุคลากร งบประมาณ เครื่องมือ เครื่องจักร เทคโนโลยี วัสดุอุปกรณ์ ข้อมูลข่าวสาร • การควบคุมกระบวนการทำงาน( Process Control) ได้แก่ ขั้นตอนและกฎเกณฑ์ เวลา ค่าใช้จ่าย พฤติกรรมในการทำงานเพื่อสร้างผลงาน • การควบคุมผลงาน(Output Control) หรือผลผลิตของงาน อันเป็นผลงานสุดท้ายที่ได้ดำเนินการแล้วเสร็จ ทั้งในเชิงปริมาณและคุณภาพ(ประสิทธิภาพ ประสิทธิผล ความคุ้มค่า)

  9. ความรับผิดชอบของผู้บริหารต่อการควบคุมภายในความรับผิดชอบของผู้บริหารต่อการควบคุมภายใน

  10. มาตรฐานการควบคุมภายใน มี 5 องค์ประกอบ

  11. สภาพแวดล้อมของการควบคุมสภาพแวดล้อมของการควบคุม • หมายถึงปัจจัยต่างๆซึ่งส่งเสริมให้องค์ประกอบการควบคุมภายในอื่นๆมีประสิทธิผล หรือทำให้การควบคุมที่มีอยู่มีประสิทธิภาพ หรือทำให้บุคลากรให้ความสำคัญกับการควบคุมมากขึ้น • เป็นเรื่องที่เกี่ยวกับการสร้างความตระหนัก และบรรยากาศของการควบคุมในหน่วยงานให้บุคลากรในหน่วยงานเกิดจิตสำนึกที่ดีในการปฏิบัติงานตามความรับผิดชอบ

  12. สภาพแวดล้อมของการควบคุมสภาพแวดล้อมของการควบคุม • สภาพแวดล้อมที่ทำให้บุคลากรในหน่วยรับตรวจ ยึดถือและปฏิบัติตามข้อกำหนดทางจริยธรรมมีความรับผิดชอบ เข้าใจในขอบเขตอำนาจหน้าที่ของตนเองมีความรู้ ความสามารถ และทักษะที่จำเป็นในการปฏิบัติงานตามที่ได้รับมอบหมายอย่างเพียงพอยอมรับ และปฏิบัติตามนโยบายและแนวทางการปฏิบัติงาน • ความซื่อสัตย์และจริยธรรม การพัฒนาความรู้ความสามารถของบุคลากรปรัชญาและรูปแบบการบริหารของผู้บริหาร โครงสร้างองค์กร การมอบอำนาจหน้าที่และความรับผิดชอบ นโยบายและวิธีการบริหารบุคคล

  13. การประเมินความเสี่ยง • ความเสี่ยง หมายถึง เหตุการณ์หรือสถานการณ์ ที่มีความไม่แน่นอน ซึ่งอาจเกิดขึ้น และมีผลทำให้หน่วยรับตรวจเกิดความผิดพลาด ความเสียหาย การรั่วไหล ความสูญเปล่า ไม่สามารถดำเนินการให้บรรลุผลสำเร็จตามวัตถุประสงค์หรือเป้าหมายที่ตั้งไว้ได้

  14. ปัญหา คือ สิ่งที่เกิดขึ้น และมักส่งจะส่งผลในทางลบ เป็นอุปสรรคต่อเป้าหมาย ต่อการดำเนินการ จำเป็นต้องมีการแก้ไข เพราะมิฉะนั้นแล้ว ปัญหาดังกล่าว อาจก่อให้เกิดความเสียหายตามมา ความไม่แน่นอน คือ ผล เหตุการณ์ และสิ่งต่างๆ ที่มีโอกาสเกิดขึ้นได้ทั้งที่เป็นไปตามความคาดหมาย หรือนอกเหนือความคาดหมาย

  15. ขั้นตอนในการประเมินความเสี่ยงขั้นตอนในการประเมินความเสี่ยง • ระบุปัจจัยเสี่ยง( Event Identification) • วิเคราะห์ความเสี่ยง(Risk Analysis) • การจัดการความเสี่ยง(Risk Response)

  16. การระบุปัจจัยเสี่ยง • ตอบคำถาม ว่ามีเหตุการณ์ใด หรือกิจกรรมใดของกระบวนการปฏิบัติงาน ที่อาจเกิดความผิดพลาด ความเสียหาย และการไม่บรรลุวัตถุประสงค์ที่กำหนด รวมทั้งมีทรัพย์สิน ที่จำเป็นต้องได้รับการดูแลรักษา เช่น ความเสี่ยงจากการจดซื้อจัดจ้างในราคาแพง ความเสี่ยงจากการจัดซื้อพัสดุที่มีคุณภาพต่ำกว่าข้อกำหนด

  17. การวิเคราะห์ความเสี่ยงการวิเคราะห์ความเสี่ยง โอกาสที่จะเกิดความเสี่ยง ผลกระทบของความเสี่ยง

  18. การจัดระดับความเสี่ยงการจัดระดับความเสี่ยง

  19. การจัดการความเสี่ยง ปัจจัยภายนอก ปัจจัยภายใน • การหลีกเลี่ยง • การแบ่งปัน • การลด • กายอมรับ • การจัดให้มีกิจกรรมการควบคุมอย่างเพียงพอและเหมาะสม

  20. กิจกรรมการควบคุม • หมายถึง นโยบายระเบียบ วิธีปฏิบัติ หรือ มาตรการต่างๆ ที่ฝ่ายบริหารกำหนดขึ้น เพื่อให้บุคลากรนำไปปฏิบัติ เพื่อ ลด หรือ ควบคุม ความเสี่ยง และได้รับการสนองตอบ โดยมีการปฏิบัติตาม • เช่น กิจกรรมการสอบทาน การดูแลป้องกันทรัพย์สิน การแบ่งแยกหน้าที่

  21. ประเภทของการควบคุม การควบคุมแบบป้องกัน(Preventive Control) เป็นการควบคุมเพื่อป้องกัน หรือลดความเสี่ยงจากความผิดพลาดหรือความเสี่ยหาย เช่น การแบ่งแยก หน้าที่การงาน การควบคุมการเข้าถึงทรัพย์สิน การควบคุมแบบค้นพบ( Detective Control) เป็นการควบคุมเพื่อค้นพบ ความเสียหาย หรือความผิดพลาดที่เกิดขึ้นแล้ว เช่น การสอบทานงาน การสอบยันยอด การตรวจนับพัสดุ

  22. ประเภทของการควบคุม การควบคุมแบบแก้ไข(Corrective Control) เป็นวิธีการควบคุมที่กำหนดขึ้น เพื่อแก้ไขข้อผิดพลาดที่เกิดขึ้นให้ถูกต้อง หรือเพื่อหาวิธีแก้ไขไม่ให้เกิด ข้อผิดพลาดซ้ำขึ้นอีกในอนาคต การควบคุมแบบส่งเสริม(Directive Control) เป็นวิธีการควบคุมที่ส่งเสริม หรือกระตุ้นให้เกิดความสำเร็จตามวัตถุประสงค์ที่ต้องการ เช่น การให้รางวัล แก่ผู้มีผลงานดี เป็นต้น

  23. ตัวอย่างกิจกรรมการควบคุมตัวอย่างกิจกรรมการควบคุม • การกำหนดนโยบายและระเบียบวิธีการปฏิบัติ • การสอบทานรายงานและข้อมูลข่าวสาร • การควบคุมการประมวลผลข้อมูล • การอนุมัติ • การดูแลป้องกันทรัพย์สิน • การแบ่งแยกหน้าที่ • การจัดทำเอกสารหลักฐาน

  24. สารสนเทศและการสื่อสารสารสนเทศและการสื่อสาร สารสนเทศ หมายถึง ข้อมูลที่ได้ผ่านการประมวลผล และถูกจัดให้อยู่ในรูปที่ มีความหมายและเป็นประโยชน์ต่อการใช้งาน การสื่อสาร หมายถึง การแลกเปลี่ยนข้อมูลข่าวสาร ระหว่างบุคลากร ทั้งภายในและภายนอกองค์กร เพื่อให้บรรลุวัตถุประสงค์ที่ต้องการ

  25. การติดตามและประเมินผลการติดตามและประเมินผล • หมายถึง กระบวนการประเมินคุณภาพการปฏิบัติงาน และประเมินประสิทธิผลของการควบคุมภายในที่กำหนดไว้อย่างต่อเนื่องและสม่ำเสมอ เพื่อให้เกิดความมั่นใจว่า ระบบการควบคุมภายในที่กำหนดไว้มีความเพียงพอ เหมาะสม มีการปฏิบัติตามระบบการควบคุมภายในจริง ข้อบกพร่องที่พบ ได้รับการแก้ไขอย่างเหมาะสมและทันเวลา

  26. การติดตามประเมินผล • การติดตามผลในระหว่างการปฏิบัติงาน • การประเมินผลเป็นรายครั้ง ( การประเมินการควบคุมด้วยตนเอง การประเมินการควบคุมอย่างเป็นอิสระ )

  27. การประเมินรายครั้ง (Control Self Assessment : CSA) การประเมินความเสี่ยงที่ ยังมีอยู่ที่เกี่ยวข้องกับ การบรรลุวัตถุประสงค์ของ กิจกรรมต่าง ๆ 3 การประเมินตามแบบประเมิน องค์ประกอบของมาตรฐาน การควบคุมภายใน 1 การประเมินการ ควบคุมภายใน ที่มีอยู่ของกิจกรรมต่าง ๆ 2 วิเคราะห์ความมีอยู่ ความเพียงพอ ประสิทธิผลของการควบคุม และเสนอแผนการปรับปรุง รายงานของ ส่วนงานย่อย (ปย.1,ปย.2)

  28. การจัดทำรายงานการควบคุมภายในการจัดทำรายงานการควบคุมภายใน ขั้นตอนการจัดทำรายงานระดับส่วนงานย่อย แบบประเมินองค์ประกอบ การควบคุมภายใน ภาคผนวก ก ปย.1 1 2 จุดอ่อนของ การควบคุมภายใน ปย.2 ภาคผนวก ข แบบประเมินเฉพาะด้าน- ด้านการบริหาร - ด้านการเงิน– ด้านการผลิต– ด้านอื่น ๆ

  29. แบบ ปย.2 ชื่อส่วนงานย่อย............................................ รายงานการประเมินผลและการปรับปรุงการควบคุมภายใน สำหรับปีสิ้นสุดวันที่ ............ เดือน ................ พ.ศ. ........ ชื่อผู้รายงาน........................................... (หัวหน้าส่วนงานย่อย) ตำแหน่ง.................................................. วันที่ ......... เดือน ..............พ.ศ............

  30. จบแล้วครับ

More Related