1 / 32

การเขียนคู่มือ ปฏิบัติงาน

การเขียนคู่มือ ปฏิบัติงาน. ผศ.เรือโท ดร.ทวีศักดิ์ รูปสิงห์ ดร.วันชัย ปานจันทร์. คู่มือปฏิบัติงาน. เป็นเอกสารที่ประกอบด้วยหลักปฏิบัติและวิธีปฏิบัติงานต่าง ๆ รวมทั้งระเบียบ ข้อบังคับ โดยระบุลักษณะของงาน วิธีทำงานเป็นขั้นตอนตามลำดับ เขียนเป็นข้อ ๆ เพื่อให้ดูง่าย

Télécharger la présentation

การเขียนคู่มือ ปฏิบัติงาน

An Image/Link below is provided (as is) to download presentation Download Policy: Content on the Website is provided to you AS IS for your information and personal use and may not be sold / licensed / shared on other websites without getting consent from its author. Content is provided to you AS IS for your information and personal use only. Download presentation by click this link. While downloading, if for some reason you are not able to download a presentation, the publisher may have deleted the file from their server. During download, if you can't get a presentation, the file might be deleted by the publisher.

E N D

Presentation Transcript


  1. การเขียนคู่มือปฏิบัติงานการเขียนคู่มือปฏิบัติงาน ผศ.เรือโท ดร.ทวีศักดิ์ รูปสิงห์ ดร.วันชัย ปานจันทร์

  2. คู่มือปฏิบัติงาน เป็นเอกสารที่ประกอบด้วยหลักปฏิบัติและวิธีปฏิบัติงานต่าง ๆ รวมทั้งระเบียบ ข้อบังคับ โดยระบุลักษณะของงาน วิธีทำงานเป็นขั้นตอนตามลำดับ เขียนเป็นข้อ ๆ เพื่อให้ดูง่าย เอกสารในเชิงคุณภาพซึ่งรวบรวมกฎหมาย ระเบียบ ข้อบังคับ หลักปฏิบัติในหน้าที่ความรับผิดชอบ พร้อมทั้งแนวทางในการดำเนินงาน รวมทั้งแนวทางการแก้ไขปัญหา ข้อเสนอแนะ หรือคู่มือปฏิบัติงานในห้องปฏิบัติการต่าง ๆ

  3. รูปแบบคู่มือปฏิบัติงานรูปแบบคู่มือปฏิบัติงาน 1.หัวเรื่อง 2.ประวัติความเป็นมา 3.วัตถุประสงค์ 4.ภาระหน้าที่ ความรับผิดชอบ 5.พ.ร.บ. กฎหมาย ระเบียบ ข้อบังคับ หนังสือเวียน มติต่าง ๆ และเอกสารที่เกี่ยวข้อง หรือทฤษฎีต่าง ๆ ที่เกี่ยวข้องกับทักษะการปฏิบัติงาน 6.เทคนิคหรือแนวทางการปฏิบัติงาน 7.ปัญหา อุปสรรคและแนวทางแก้ไข 8.ข้อเสนอแนะ

  4. แนวทางการเขียนคู่มือปฏิบัติงานแนวทางการเขียนคู่มือปฏิบัติงาน ขั้นที่ 1 วิเคราะห์งานที่ปฏิบัติ ขั้นที่ 2 วิเคราะห์ปัญหาและสาเหตุ ขั้นที่ 3 วิเคราะห์แนวทางแก้ไข ขั้นที่ 4 ขั้นวางแผนกำหนดโครงร่าง(Outline)

  5. ขั้นที่ 1 วิเคราะห์งาน 1.1 งานอะไรบ้างที่ทำ 1.2 ขั้นตอน (Flow Chart) 1.3 ปัจจัยที่ใช้ (Input) 1.4 หลักเกณฑ์ 1.5 วิธีการ 1.6 เงื่อนไข

  6. ขั้นที่ 2 วิเคราะห์ปัญหา/สาเหตุ 2.1 ปัญหาในการปฏิบัติ มีอะไรบ้าง 2.2 แยกปัญหา ข้อ 1.2,1.3,1.4,1.5,1.6 2.3 แยกปัญหา 2.2 คน/กฎระเบียบ คน –ผู้ปฏิบัติ /ผู้รับบริการ/ผู้บริหาร/องค์คณะ กฎ ระเบียบ หนังสือเวียน มติ (หน่วยงานภายใน -ภายนอกที่ควบคุมไม่ได้)

  7. ขั้นที่ 3 วิเคราะห์แนวแก้ไข แนวทางแก้ไข ตาม 1.2 1.3 1.4 1.5 1.6 เสนอทางแก้ ตาม 2.3 คือ คน /กฎระเบียบ

  8. ขั้นที่ 4 ขั้นวางแผนกำหนดโครงร่าง 4.1 จัดทำสารบัญ 4.2 สอดแทรกเนื้อหาตามเกณฑ์การประเมิน 7 ประการ

  9. หลักแนวคิดในการเขียนคู่มือปฏิบัติงานหลักแนวคิดในการเขียนคู่มือปฏิบัติงาน 1. เลือกเรื่องที่จะเขียน 7. สมดุลทางวิชาการ 2. การบริการเวลา 8. ภาษาเนื้อหาสาระ 3. เพิ่มประสบการณ์ 9. ความเชื่อมั่นในตนเอง 4. วางแผนในการเขียน 10. คุณธรรม จรรยาบรรณ 5. เอกสารอ้างอิงสนับสนุน 11. เรียบเรียงต้นฉบับ 6. เทคนิคการเขียน 12. พิมพ์ต้นฉบับ

  10. การเลือกเรื่องที่จะเขียนการเลือกเรื่องที่จะเขียน • ความรู้ ความเข้าใจ ความสนใจ • แนวลึก - การโอน/การเลื่อนระดับสูงขึ้นของสายสนับสนุนวิชาการ • แนวกว้าง- หลักการบริหารงานทั่วไป/ ความรู้เบื้องต้น • หลีกเลี่ยง ซ้ำกับผู้อื่น (มีคุณภาพ/ทันสมัย)

  11. การบริหารเวลา • ใช้หมดหรือไม่ได้ใช้ หาทดแทนไม่ได้ • แบ่งเวลาในการเขียน • ตั้งมั่นต้องเขียนทุกวันอย่างน้อยที่สุด 1 หน้า

  12. การเพิ่มประสบการณ์ • ศึกษาผลงานของคนอื่น • เข้ารับการฝึกอบรม/สัมมนา • พยายามอย่างต่อเนื่อง

  13. การวางแผนในการเขียน • ทำโครงร่าง (outline) สารบัญ • แบ่งเป็นบท/ตอน • หัวข้อหลัก/หัวข้อรอง

  14. การหาเอกสารสนับสนุนและอ้างอิงการหาเอกสารสนับสนุนและอ้างอิง • อ่านจดบันทึก ถ่ายสำเนา • หนังสืออะไร ใครเขียน เมื่อไร ปีใด (บรรณนุกรม/เชิงอรรถ) • เกิดการเชื่อถือ

  15. เทคนิคการเขียน • อย่างวิตกกังวลเรื่องภาษา ความสละสลวย ความเชื่อมโยง • เขียนไปก่อน ไม่จำเป็นต้องเรียงตามลำดับบทที่ 1 ให้แล้วเสร็จก่อน • มีกำลังใจในความก้าวหน้า

  16. ความสมดุลทางวิชาการ • มีน้ำหนักพอ ๆ กันทุกบท ทุกตอน ทุกหัวข้อ • ผสมผสานสิ่งที่ค้นคว้ากับประสบการณ์ • หนึ่งย่อหน้าควรมีเรื่องเดียว ไม่เกิน 20 บรรทัด • ย่อหน้าใหม่ ประโยคแรกและประโยคสุดท้าย จะเป็นใจความหลัก

  17. ภาษาและเนื้อหาสาระ • คำนึงถึงคนอ่าน • ใช้ภาษาง่าย • ไม่ใช้การเขียนภาษาไทยสำนวนฝรั่ง(แปล) • ศัพท์เฉพาะ ต้อคงเส้นคงวา • เนื้อหาสาระ ทันสมัย ถูกหลักวิชา ครอบคลุมทุกประเด็น

  18. มีความเชื่อมั่นในตนเองมีความเชื่อมั่นในตนเอง • ตั้งมั่นว่าเขียนได้ • ปรึกษาผู้มีประสบการณ์ สงสัยถาม • ทำอย่างต่อเนื่อง สม่ำเสมอ มากน้อยไม่สำคัญ • หยุดเขียน ต้องจดแนวคิดที่จะนำเสนอย่อ ๆ ไว้

  19. คุณธรรม/จรรยาบรรณ • อย่าลอกผลงานผู้อื่น โดยไม่อ้างอิง • อย่าอำพราง แบบอ้างว่าเป็นแหล่งข้อมูลแรก

  20. เรียบเรียงต้นฉบับ • ได้ต้นฉบับ ต้องทดลองใช้ปฏิบัติ • เพิ่ม ลด แก้ไข ทดลองใช้ซ้ำ • ปรับแก้ อ่านทบทวน • ผสมผสานเชื่อมโยงให้เกิดความกลมกลืน • ปรับแก้ความซ้ำซ้อน • เพิ่มสิ่งที่ขาดให้สมบูรณ์

  21. ข้อควรระวังในการเขียนงานทางวิชาการข้อควรระวังในการเขียนงานทางวิชาการ • อย่าเตรียมตัวหรือศึกษาค้นคว้าในเรื่องที่จะเขียนอย่างผิวเผิน • (ขาดความใหม่ ซ้ำซ้อนกับของผู้อื่น กว้างเกินไป) • อย่ารีบเขียนให้เสร็จภายในเวลาอันสั้นโดยไม่คำนึงถึงคุณภาพ • (ประโยชน์ไม่ชัดเจน มีน้อย ไม่สามารถนำไปประยุกต์ใช้ได้ ไม่เกี่ยวกับตำแหน่งหน้าที่)

  22. 3. อย่า ลอกเลียนข้อความหรือแนวคิดผู้อื่นโดยไม่อ้างอิง • อย่า เพียงแต่เอาข้อมูลของผู้อื่นมาต่อเติม ตัดแปะ เป็นของตนเอง จะต้องแสดงส่วนที่เป็นความคิดของตนเองด้วย • อย่า ข้ามส่วนที่ไม่รู้ ไม่มั่นใจ โดยไม่ศึกษาโดยละเอียด • อย่า ให้ข้อมูลพาไป รู้มากเขียนมาก ไม่รู้เขียนน้อย • อย่า เน้นปริมาณ มากกว่าคุณภาพ • อย่า ขาดจิตสำนึกและจรรยาบรรณทางวิชาการและวิชาชีพ

  23. 9. อย่า อ้างอิงที่ไม่ถูกต้องตามแบบมาตรฐานสากล เก่า ล้าสมัย เชิงออรถ • ภายในเนื้อหา ท้ายบท ท้ายเล่ม 10. อย่า ใช้ภาษาไม่คงเส้นคงวา ตลอดทั้งเล่ม 11. อย่า ให้ผิดพลาด ตกหล่น สลับหน้า กลับหัวหลับหาง 12 อย่า ให้ขาดส่วนประกอบการเขียน เลขประจำหนังสือสากล • คำนำ สารบัญ ภาพประกอบ บรรณนุกรม

  24. การวางโครงเรื่องหรือแนวเรื่องการวางโครงเรื่องหรือแนวเรื่อง • แยกเนื้อเรื่องที่รวบรวมได้ให้เป็นหมวดหมู แยกเป็นจุดที่สำคัญ ๆ • สร้างคำที่เหมาะสมขึ้นใหม่ตามจุดที่สำคัญ ๆ • จัดลำดับขั้นตอนเรื่องให้ตามความคลี่คลายของเรื่อง • สร้างคำที่เหมาะสมสำหรับข้อย่อย • เรียงหัวข้อใหญ่ หัวข้อย่อย ให้เป็นระบบระเบียบ

  25. โครงร่างคู่มือการปฏิบัติงานโครงร่างคู่มือการปฏิบัติงาน สารบัญ บทที่ 1 บทนำ - ความเป็นมา ความจำเป็น (ภูมิหลัง) - ความมุ่งหมาย/วัตถุประสงค์ของคู่มือ - ความสำคัญ/ประโยชน์ของคู่มือ - ขอบเขตของคู่มือ

  26. บทที่ 2 บทบาทหน้าที่ความรับผิดชอบ - ลักษณะงานที่ปฏิบัติ - หน้าที่ความรับผิดชอบ/บทบาทของตำแหน่ง - โครงสร้างการบริหารจัดการ

  27. บทที่ 3 เอกสารที่เกี่ยวข้องกับคู่มือ - หลักเกณฑ์/วิธีการดำเนินงาน - สิ่งที่ควรคำนึงในการปฏิบัติงาน/ข้อควรระวัง/ข้อสังเกต - กฎ ระเบียบ ข้อบังคับ หนังสือเวียน มติ ที่เกี่ยวข้อง - งานวิจัยและแนวคิดที่เกี่ยวข้อง

  28. บทที่ 4 เทคนิคในการปฏิบัติงาน - แผนกลยุทธ์ในการปฏิบัติงาน - ขั้นตอนการปฏิบัติงาน (Flow Chart) - วิธีการให้บริการกับผู้รับบริการมีความพึงพอใจ - การติดตามและประเมินผลการปฏิบัติงาน - จรรยาบรรณ/จิตสำนึกในการปฏิบัติงาน

  29. บทที่ 5 ปัญหาอุปสรรคและแนวทางแก้ไข - ปัญหาอุปสรรคในการปฏิบัติงาน - แนวทางแก้ไขในการปฏิบัติงาน - ข้อเสนอแนะ บรรณานุกรม ภาคผนวก

  30. ตัวอย่างการจัดทำคู่มือปฏิบัติงานตัวอย่างการจัดทำคู่มือปฏิบัติงาน ตัวอย่างที่ 1 ตัวอย่างที่ 6 ตัวอย่างที่ 2 ตัวอย่างที่ 6 ตัวอย่างที่ 3 ตัวอย่างที่ 4 ตัวอย่างที่ 5

  31. ฝึกปฏิบัติการเขียนคู่มือปฏิบัติงานฝึกปฏิบัติการเขียนคู่มือปฏิบัติงาน

  32. คู่มือปฏิบัติงานด้านการบริหารทรัพยากรบุคคลคู่มือปฏิบัติงานด้านการบริหารทรัพยากรบุคคล วันเผยแพร่ วันพุธ, 06 พฤศจิกายน 2556 07:51 | ฮิต: 1472 ดาวน์โหลดคู่มือการปฏิบัติงานด้านการบริหารงานทรัพยากรบุคคล • คู่มือการเลื่อนขั้นเงินเดือน • คู่มือการขออนุมัติเดินทางไปราชการ ณ ต่างประเทศ • คู่มือทะเบียนหนังสือรับ - ส่ง • คู่มือการจัดทำและดำเนินการโครงการฝึกอบรมและสัมมนาเพื่อพัฒนาทรัพยากรบุคคล

More Related