1 / 20

ags.kku.ac.th/abag/wuttigrai/

http://ags.kku.ac.th/abag/wuttigrai/. หลักการคัดเลือกพันธุ์สัตว์ Principle of Selection. ผู้ชายคนไหนที่คุณชอบ ?. ผู้ชายคนไหนที่คุณอยากได้เป็นแฟน ?. การคัดเลือก คือ การที่สัตว์บางตัวมีโอกาสมีชีวิตรอดเพื่อสืบพันธุ์และถ่ายทอดพันธุกรรมไปยังรุ่นต่อๆไป ในขณะที่สัตว์บางตัวจะถูกคัดทิ้ง ( culling).

menora
Télécharger la présentation

ags.kku.ac.th/abag/wuttigrai/

An Image/Link below is provided (as is) to download presentation Download Policy: Content on the Website is provided to you AS IS for your information and personal use and may not be sold / licensed / shared on other websites without getting consent from its author. Content is provided to you AS IS for your information and personal use only. Download presentation by click this link. While downloading, if for some reason you are not able to download a presentation, the publisher may have deleted the file from their server. During download, if you can't get a presentation, the file might be deleted by the publisher.

E N D

Presentation Transcript


  1. http://ags.kku.ac.th/abag/wuttigrai/

  2. หลักการคัดเลือกพันธุ์สัตว์Principle of Selection ผู้ชายคนไหนที่คุณชอบ ? ผู้ชายคนไหนที่คุณอยากได้เป็นแฟน ?

  3. การคัดเลือก คือ การที่สัตว์บางตัวมีโอกาสมีชีวิตรอดเพื่อสืบพันธุ์และถ่ายทอดพันธุกรรมไปยังรุ่นต่อๆไป ในขณะที่สัตว์บางตัวจะถูกคัดทิ้ง (culling)

  4. การคัดเลือกแบ่งเป็น 2 รูปแบบ ปรับตัวให้เข้ากับธรรมชาติ ปรับตัวเข้ากับธรรมชาติไม่ได้ ก็ไม่สามารถมีชีวิตรอดได้ 1) Natural Selection Charles Robert Darwin

  5. ตัวอย่างสัตว์ที่ปรับตัวในสภาพธรรมชาติได้ยากตัวอย่างสัตว์ที่ปรับตัวในสภาพธรรมชาติได้ยาก

  6. Natural selection ยังรวมถึงทฤษฏี used and disused Use and disuse Jean-Baptiste Lamarck

  7. 2.Artificial selection

  8. หลักพื้นฐานของการคัดเลือกพันธุ์สัตว์หลักพื้นฐานของการคัดเลือกพันธุ์สัตว์ Selection Artificial selection (เรียนในวิชานี้) Natural selection Et + Ep P = G + E A + D + I EBV (estimated breeding value) Selectionresponse

  9. แผนการคัดเลือกสามารถแบ่งได้เป็น 3 วิธี 1. Tandem method (การคัดเลือกทีละลักษณะ) Egg production, AFE, ADG, FCR NBA,LSY, %PWM ADG, FCR Milk yield, Conception rate, Type trait

  10. แผนการคัดเลือก สามารถแบ่งได้ดังนี้ Tandem Method เป็นวิธีการคัดเลือกที่ต้องการปรับปรุงฝูงสัตว์โดยเน้นครั้งละลักษณะ หลังจากทำการคัดเลือกจนได้ลักษณะตามที่ต้องการแล้วจึงเปลี่ยนไปคัดเลือก ลักษณะอื่น อาจพบปัญหาหากลักษณะที่นำมาคัดเลือกมีค่าสหสัมพันธ์ทางพันธุกรรมใน การลบ (negative genetic correlation) ส่งผลให้การคัดเลือกลักษณะต่อมาไปทำให้ลักษณะก่อนกลับแย่ลง

  11. แผนการคัดเลือก Tandem Method เปอร์เซ็นไขมันน้ำนม ปริมาณน้ำนม (ระหว่างลักษณะมีความสัมพันธ์ในเชิงลบ)

  12. แผนการคัดเลือก 2) Independent Culling Level ผมเองครับที่จะถูกคัดเลือก… Note: ADG = Average Daily Gain BF = Back Fat NBA = Number Born Alive

  13. แผนการคัดเลือก สามารถแบ่งได้ดังนี้ 2) Independent Culling Level เป็นวิธีการคัดเลือกที่ต้องการปรับปรุงฝูงสัตว์โดยเน้นพร้อมกันหลายลักษณะ ต้องกำหนดเกณฑ์หรือสัดส่วนที่จะทำการคัดเลือกของแต่ละลักษณะก่อน ล่วงหน้า ได้เปรียบกว่าวิธี Tandemเนื่องจากแต่ละลักษณะไม่มีความสัมพันธ์กัน ฝูงสัตว์จะถูกปรับปรุงพันธุ์ถึงมาตรฐานที่กำหนดได้เร็วกว่าปรับปรุงทีละ ลักษณะช่วยให้สามารถคัดเลือกได้อย่างสอดคล้องไปกับสภาพของฝูงสัตว์ (biological stage) เช่น เริ่มคัดสัตว์จากลักษณะ BW  WW  reproductive traits selection

  14. แผนการคัดเลือก 3) Selection Index Note: ADG = Average Daily Gain BF = Back Fat NBA = Number Born Alive

  15. แผนการคัดเลือก สามารถแบ่งได้ดังนี้ 3) Selection index • เป็นวิธีการคัดเลือกที่ต้องการปรับปรุงฝูงสัตว์โดยเน้นพร้อมกันหลายลักษณะ • เรียกว่าเป็นสมการ Multiple regression • สร้างเป็นสมการที่ประกอบด้วยข้อมูลของลักษณะต่างๆ (Yi)ที่ต้องการ คัดเลือกจากนั้นจึงนำสัตว์มาเรียงลำดับเพื่อตัดสินใจอีกทีหนึ่ง

  16. ดัชนีการคัดเลือก รูปแบบสมการในปัจจุบัน =ค่าทางเศรษฐกิจ economic value =ค่าการผสมพันธุ์

  17. ข้อดีของดัชนีการคัดเลือกข้อดีของดัชนีการคัดเลือก • มีความแม่นยำของการประเมินสูงสุด เนื่องจากมีการคิดค่าความสัมพันธ์ระหว่างดัชนีที่ประเมินกับพันธุกรรมหรืออิทธิพลของยีนแบบบวกสะสม • Errorต่ำสุด เนื่องจากค่าสัมประสิทธิ์ที่ใช้ ประเมินโดยวิธีความ คลาดเคลื่อนกำลังสองน้อยที่สุด (least square analysis)

  18. ข้อจำกัดของดัชนีการคัดเลือกข้อจำกัดของดัชนีการคัดเลือก ต้องอาศัยข้อมูลครบทุกลักษณะเสียก่อนจึงจะประเมินค่าดัชนีของสัตว์นั้นๆได้ ไม่สามารถเปรียบเทียบพันธุกรรมของสัตว์ข้ามฝูงหรือข้ามกลุ่มการจัดการได้ ไม่มีการปรับปัจจัยอื่นๆที่อาจมีผลต่อความผันแปรของลักษณะ เช่น อายุแม่ ระยะการให้นม เพศ เป็นต้น

  19. ยกตัวอย่างการคัดเลือกโดยใช้ดัชนีการคัดเลือกยกตัวอย่างการคัดเลือกโดยใช้ดัชนีการคัดเลือก กำหนดให้ค่าทางเศรษฐกิจ (v)ดังนี้ BF = -20, Days = -5, ADG = 10 วิธีการคำนวณ I = v1EBV1+v2EBV2+ v3EBV3 ลองคำนวณดูซิว่าสัตว์ตัวไหนที่น่าจะถูกคัดเก็บไว้จ๊ะ….

  20. ยกตัวอย่างการคัดเลือกโดยใช้ดัชนีการคัดเลือกยกตัวอย่างการคัดเลือกโดยใช้ดัชนีการคัดเลือก สัตว์เบอร์ 1 สัตว์เบอร์ 2 ผมเองครับ สัตว์เบอร์ 3

More Related