1 / 122

นายแพทย์สุเทพ วัชรปิ ยานันทน์ สาธารณสุข นิเทศ กระทรวงสาธารณสุข

ยินดี ต้อนรับคณะตรวจราชการกระทรวงสาธารณสุข. เขตพื้นที่เครือข่าย บริการที่ 3. นายแพทย์ทรงยศ ชัยชนะ ผู้ตรวจ ราชการกระทรวงสาธารณสุข. นายแพทย์ประดิษฐ์ รุ่งพิบูลโสภิษฐ์ ที่ปรึกษาคณะตรวจ ราชการฯ. นายแพทย์สุเทพ วัชรปิ ยานันทน์ สาธารณสุข นิเทศ กระทรวงสาธารณสุข. วันที่ 10–12 กรกฎาคม 2556.

Télécharger la présentation

นายแพทย์สุเทพ วัชรปิ ยานันทน์ สาธารณสุข นิเทศ กระทรวงสาธารณสุข

An Image/Link below is provided (as is) to download presentation Download Policy: Content on the Website is provided to you AS IS for your information and personal use and may not be sold / licensed / shared on other websites without getting consent from its author. Content is provided to you AS IS for your information and personal use only. Download presentation by click this link. While downloading, if for some reason you are not able to download a presentation, the publisher may have deleted the file from their server. During download, if you can't get a presentation, the file might be deleted by the publisher.

E N D

Presentation Transcript


  1. ยินดีต้อนรับคณะตรวจราชการกระทรวงสาธารณสุขยินดีต้อนรับคณะตรวจราชการกระทรวงสาธารณสุข • เขตพื้นที่เครือข่ายบริการที่ 3 นายแพทย์ทรงยศ ชัยชนะ ผู้ตรวจราชการกระทรวงสาธารณสุข นายแพทย์ประดิษฐ์ รุ่งพิบูลโสภิษฐ์ ที่ปรึกษาคณะตรวจราชการฯ นายแพทย์สุเทพ วัชรปิยานันทน์ สาธารณสุขนิเทศ กระทรวงสาธารณสุข • วันที่ 10–12 กรกฎาคม 2556

  2. วิสัยทัศน์จังหวัดกำแพงเพชรวิสัยทัศน์จังหวัดกำแพงเพชร “ผู้นำการผลิตเกษตรปลอดภัยและการท่องเที่ยวถิ่นมรดกโลก” Position การพัฒนา เมืองเกษตรและอุตสาหกรรมแปรรูป ท่องเที่ยวมรดกโลก และธรรมชาติ

  3. ดัชนีความก้าวหน้าของคนระดับจังหวัดดัชนีความก้าวหน้าของคนระดับจังหวัด (Human Achievement Index : HAI) ที่มา : รายงานการพัฒนาคนของประเทศไทย ปี 2552 โดยสำนักงานโครงการพัฒนาแห่งประชาชาติ (UNDP)

  4. การแบ่งเขตปกครอง • 11 อำเภอ • 78 ตำบล • 956 หมู่บ้าน/ 27 ชุมชนเมือง • 24 เทศบาล(3ทม./21 ทต.) • 65 อบต. / 1 อบจ. GPP อันดับ 2 ของเหนือ(ปี 53) ภาคเกษตร 16% อุตสาหกรรม 30% เหมืองแร่ 20% การท่องเที่ยว 11.7% พื้นที่ 8,600 ตร.กม.5.3 ล้านไร่(1.7% ของประเทศ) เกษตร 60 % ป่าไม้ 22 % ที่อยู่อาศัย 18 % ประชากร 714,779 คน( 1% ของ POP ประเทศ )บ้าน 242,029 หลังคาเรือน เฉลี่ยต่อหลัง 3 คน ประชากรสูงอายุ 17.46%

  5. โครงสร้างประชากร ปี 2544 ปี 2555 หญิง ชาย หญิง ชาย ประชากร หญิง 365,103 คน | ชาย 360,906 คน หญิง 361,972 คน | ชาย 352,807 คน สัดส่วน วัยเด็ก 18.04 % วัยแรงงาน 64.5% วัยเด็ก 19.73% วัยแรงงาน 68.46% สูงอายุ 17.46 % วัยพึ่งพิง 55.04% สูงอายุ 11.81% วัยพึ่งพิง 46.07%

  6. สถานะสุขภาพของประชาชนสถานะสุขภาพของประชาชน อายุคาดเฉลี่ย (Life expectancy) E0 80 ปี HALE = 72 ปี

  7. ทรัพยากรด้านสาธารณสุขทรัพยากรด้านสาธารณสุข โรงพยาบาลทั่วไป (410 เตียง) 1แห่ง สถานบริการสาธารณสุขนอกสังกัด/เอกชน *กำลังก่อสร้างตึกใหม่ 8 ชั้น 156 เตียง รพ.สต.สังกัด อปท. 4 แห่ง ศูนย์บริการฯ เทศบาล 4 แห่ง โรงพยาบาลเอกชน 2 แห่ง คลินิกแพทย์ 64 แห่ง คลินิกทันตแพทย์17 แห่ง สถานพยาบาล 128 แห่ง ร้านขายยาปัจจุบัน 130 แห่ง ร้านขายยาแผนโบราณ 52 แห่ง โรงพยาบาล 60 เตียง 4 แห่ง โรงพยาบาล 30 เตียง 5 แห่ง โรงพยาบาล 10 เตียง 1 แห่ง รอเปิดดำเนินการ(10เตียง) 1 แห่ง (รพ.โกสัมพีนคร เปิด 12 ส.ค.56) รพ.สต. เดี่ยว 17แห่ง รพ.สต. เครือข่าย 44 เครือข่าย PCU ใน รพช. 11 แห่ง ศสม.2 แห่ง รพ.สต.ในสังกัด 122 แห่ง

  8. แพทย์ บุคลากรสาธารณสุขต่อประชากร • ประเทศ 1 : 4,921 • เขต 31 : 4,464 • กำแพงเพชร 1 : 6,680 ทันตแพทย์ เภสัชกร • ประเทศ 1 : 11,249 • เขต 3 1 : 9,819 • กำแพงเพชร 1 : 10,359 • ประเทศ 1 : 15,842 • เขต 3 1 : 13,974 • กำแพงเพชร 1 : 15,884 พยาบาลวิชาชีพ • ประเทศ 1 : 1,012 • เขต 3 1 : 811 • กำแพงเพชร 1 : 748 บุคลากรแพทย์แผนไทย 97 คน - โรงพยาบาลทั่วไป 10 คน - โรงพยาบาลชุมชน 21 คน - รพ.สต. 66 คน อสม.ได้รับค่าป่วยการ 11,557 คน

  9. สิทธิการรักษาพยาบาล ประชากร 709,73 คน (ณ 31 พ.ค.56) บัตรทอง 79.43% รวมทุกสิทธิ 99.66%ว่างสิทธิ 2,430 คน

  10. ระดับสถานบริการจังหวัดกำแพงเพชรระดับสถานบริการจังหวัดกำแพงเพชร Sกำแพงเพชร รพท. 1 รพช.แม่ข่าย M2 ขาณุวรลักษบุรี (Node) 1 รพช.ใหญ่ 1 รพช.แม่ข่าย F1 คลองขลุง พรานกระต่าย, คลองลาน ลานกระบือ,ไทรงาม,บึงสามัคคี ทรายทองวัฒนา, ปางศิลาทอง 7 รพช. กลาง F2 1 รพช. เล็ก • F3 ทุ่งโพธิ์ทะเล • 2 ศูนย์สุขภาพชุมชนเมือง • 17 รพ.สต.เดี่ยว ,44 เครือข่าย • 11 PCU ในโรงพยาบาล เครือข่ายปฐมภูมิ นสค. 1 : 1,202ปชก. (1: 4 อสม.) / อสม. 11,557 คน (1 : 20 หลังคาเรือน)

  11. เครือข่ายบริการจังหวัดกำแพงเพชรเครือข่ายบริการจังหวัดกำแพงเพชร HA รพ.พรานกระต่าย F2 รพ.โกสัมพีนคร รพ.ลานกระบือ 60 เตียง F2 Ext OPD HA 30 เตียง รพ.ทุ่งโพธิ์ทะเล F3 S HA F2 รพ.ไทรงาม รพ.กำแพงเพชร 10 เตียง 30 เตียง 410+156 เตียง รพ.ทรายทองวัฒนา F2 30 เตียง HA รพ.คลองลาน รพ.บึงสามัคคี F1 F2 รพ.คลองขลุง F2 60+30 เตียง 60 เตียง 30 เตียง HA รพ.ปางศิลาทอง M2 รพ.ขาณุวรลักษบุรี F2 60+30 เตียง 30 เตียง

  12. เป้าหมายและภารกิจ E0 80 ปี HALE 72 ปี

  13. ปัญหาสุขภาพและพฤติกรรมเสี่ยงปัญหาสุขภาพและพฤติกรรมเสี่ยง โรคไม่ติดต่อ อัตราต่อแสนประชากร พฤติกรรมเสี่ยง กินหวาน มัน เค็ม , ผักน้อยสารปนเปื้อนในอาหาร ออกกำลังกายน้อย, อ้วน เครียด, สุรา บุหรี่ สิ่งแวดล้อม/มลภาวะเป็นพิษ ลดการตายก่อนวัยอันควร 25% ในปี 2568

  14. อัตราป่วยของผู้ป่วยนอกตามรหัส ICD10 อัตราต่อพันประชากร

  15. อัตราป่วยของผู้ป่วยในตามรหัส ICD10 อัตราต่อแสนประชากร

  16. 10 อันดับโรคที่ต้องเฝ้าระวังทางระบาดวิทยา (มค.-มิ.ย.56) อัตราต่อแสนประชากร ตาแดง อาหารเป็นพิษ สุกใส ไข้หวัดใหญ่ อุบัติเหตุจราจร ไข้เลือดออก มือเท้าปาก อุจจาระร่วง ปอดบวม สถานการณ์การเกิดโรครายเดือน สถานการณ์การเกิดโรครายเดือน สถานการณ์การเกิดโรครายเดือน สถานการณ์การเกิดโรครายเดือน สถานการณ์การเกิดโรครายเดือน สถานการณ์การเกิดโรครายเดือน สถานการณ์การเกิดโรครายเดือน สถานการณ์การเกิดโรครายเดือน สถานการณ์การเกิดโรครายเดือน กลุ่มอายุ กลุ่มอายุ กลุ่มอายุ กลุ่มอายุ กลุ่มอายุ กลุ่มอายุ กลุ่มอายุ กลุ่มอายุ กลุ่มอายุ เพศ เพศ เพศ เพศ เพศ เพศ เพศ เพศ เพศ ชาย ชาย ชาย ชาย ชาย ชาย ชาย ชาย ชาย หญิง หญิง หญิง หญิง หญิง หญิง หญิง หญิง หญิง

  17. การจัดสรรเงินเหมาจ่ายรายหัวให้ CUP (IP,OP,PP) ปี 2551-2556 กลุ่มป่วย ล้านบาท ผู้ป่วยนอก ส่งเสริม ผู้ป่วยใน การส่งเสริมและป้องกันโรค การดูแลผู้ป่วยเรื้อรัง กลุ่มเสี่ยง

  18. ผู้รับบริการผู้ป่วยนอก(OP) ภาพรวมจังหวัด NCD 20-25% ล้านครั้ง

  19. ผู้รับบริการผู้ป่วยใน (IP) ภาพรวมจังหวัด ครั้ง NCD 20-25% • 50% Admit ที่ รพ.กำแพงเพชร • 1/3 Refer จากโรงพยาบาลชุมชน • Acute Appendicitis • Labour Pain • UGIH

  20. สถานการณ์ด้านสุขภาพ ภายใต้วิสัยทัศน์ “ประชาชนกำแพงเพชรมีสุขภาพดี โดยการมีส่วนร่วม ของทุกภาคส่วน ภายใต้การพัฒนาระบบสุขภาพอย่างมีมาตรฐาน”

  21. ยุทธศาสตร์การพัฒนาสาธารณสุขยุทธศาสตร์การพัฒนาสาธารณสุข • ประชาชนกำแพงเพชรมีสุขภาพดีโดยการมีส่วนร่วมของทุกภาคส่วน ภายใต้การพัฒนาระบบสุขภาพอย่างมีมาตรฐาน • 1.การพัฒนาระบบบริหารจัดการที่มีคุณภาพและประสิทธิภาพตามหลักธรรมาภิบาล • 3. การสร้างเสริมสุขภาพ การป้องกัน ควบคุมโรคและคุ้มครองผู้บริโภค โดยการมีส่วนร่วมของภาคีเครือข่าย • 2. การพัฒนาระบบบริการสุขภาพให้มีคุณภาพมาตรฐาน และระบบส่งต่อที่ไร้รอยต่อ

  22. แผนสุขภาพจังหวัด ปี 2556-60 IP+OP+PP • โรคระบบไหลเวียนเลือด • โรคมะเร็ง • โรคความดันโลหิตสูง • อุบัติเหตุ • โรคหลอดเลือดและสมอง • โรคปอดอักเสบ • 7โรคติดเชื้อในกระแสโลหิต • 8. โรคไตเรื้อรัง • 9. โรคเบาหวาน • 10. ฆ่าตัวตาย • 11. โรคปอดเรื้อรัง • 12. โรคเอดส์ • 13. แม่ตาย และลูกตาย • 14. ฟันผุในเด็กเล็ก 62% • 15. โรคอุบัติใหม่-อุบัติซ้ำ หัวใจและหลอดเลือด มะเร็ง เบาหวาน,ความดัน โรคปอดเรื้อรัง ตา ไต อุบัติเหตุ จิตเวช ทารกแรกเกิด ทันตกรรม 5 สาขา ปฐมภูมิ+ทุติยภูมิ+ตติยภูมิ+องค์รวม ใช้ทรัพยากรร่วมกัน การเงิน,กำลังคน การลงทุน ครุภัณฑ์ สิ่งก่อสร้าง แนวทางเชิงรุก/รับ พัฒนาบุคลากร พัฒนาระบบข้อมูล พัฒนาการจัดการ พัฒนาระบบส่งต่อ

  23. งบที่ใช้งานส่งเสริมสุขภาพป้องกันโรค ปี 2556 46 รวมงบ 144,741,413 บาท

  24. ระบบบริหารการเงินการคลังภาครัฐแบบอิเล็กทรอนิกส์ (GFMIS) ณ วันที่ 27 มิถุนายน 2556 ร้อยละก่อหนี้และเบิกจ่ายแล้ว

  25. แนวทางสู่เป้าหมาย งบดำเนินงาน ยอดเงินคงเหลือ 18.68 ล้านบาท คาดว่าจะสามารถเบิกจ่ายได้ตามเป้าหมาย

  26. ผลการดำเนินงานรอบ 8 เดือน

  27. สรุปผลการดำเนินงานตามตัวชี้วัดรอบ 8 เดือน (ต.ค.55-พ.ค. 56)

  28. สรุปผลการดำเนินงานตามตัวชี้วัดรอบ 8 เดือน (ต.ค.55-พ.ค. 56) เฉพาะที่ไม่ผ่านเกณฑ์

  29. สรุปผลการดำเนินงานตามตัวชี้วัดรอบ 8 เดือน (ต.ค.55-พ.ค. 56) เฉพาะที่ไม่ผ่านเกณฑ์

  30. สรุปผลการดำเนินงานตามตัวชี้วัดรอบ 8 เดือน (ต.ค.55-พ.ค. 56) เฉพาะที่ไม่ผ่านเกณฑ์

  31. แนวทางการดำเนินการ 1. จัดระบบให้คำปรึกษา2. จัดระบบยาและเวชภัณฑ์3. พัฒนาระบบห้องปฏิบัติการ4. ลดความแออัดผู้ป่วย5. พัฒนาระบบส่งต่อ6. จัดทำระบบข้อมูล รพ.แม่ข่าย 1. การส่งเสริมสุขภาพ ป้องกันโรค 2. ด้านการดูแลรักษา 3. ด้านการฟื้นฟู4. ด้านการส่งต่อ 5. ด้านคุณภาพบริการ 1. วางแผนดำเนินงาน2. บริหารจัดการทรัพยากร3. ติดตาม กำกับ นิเทศงาน สสอ. 1. จัดทำระบบข้อมูลสุขภาพ2. จัดบริการด้านส่งเสริมสุขภาพ รักษา ฟื้นฟู 3. จัดระบบการส่งต่อการ4. เสริมสร้างศักยภาพของชุมชน รพ.สต.

  32. ผลการดำเนินการ • ทุกอำเภอผ่านขั้นที่ 2 -> สู่ขั้นที่ 3 • PMQA PCA HAพบส. • ODOP 3.9 ล้าน 24 โครงการ • 1.Long term care, 2.Modified –CKD Clinic • 3.Teenage age Preg. • 4.CA Liver : Liver fluke ,5. ศพด.ปลอดโรค • 6.สารไอโอดีนในหญิงตั้งครรภ์ DHS คปสอ. • Service Plan • DHS • 1. ลดความแออัด • 2. เพิ่มการเข้าถึงบริการ • โดยพัฒนาศสม. • 3. พัฒนาระบบรับ-ส่งต่อ • ผู้ป่วย /ข้อมูล • ผ่านการรับรอง HA 5 แห่ง 45.45 % • ระหว่างประเมิน HA : รพ.ทรายทองวัฒนา • ขอรับการประเมิน รพ.คลองลาน (กย.56) • ระหว่างดำเนินการแผนพัฒนาขีดความสามารถ ของ รพช.ทำหัตถการเบื้องต้นไม่ซับซ้อน เช่น ผ่าตัดไส้ติ่ง,ไส้เลื่อน, ทำหมัน • LABผ่านการประเมิน LA 5 แห่ง • ขอรับการประเมินมาตรฐาน 4 แห่ง ทุติยภูมิ รพ.แม่ข่าย หน่วยปฐมภูมิ PCA ขั้น 3 = คลองลาน PCA ขั้น 2 = 8 แห่ง, ขั้น 1 = 2 แห่ง

  33. การมีส่วนร่วมของภาคประชาชนการมีส่วนร่วมของภาคประชาชน • การพัฒนาศักยภาพอาสาสมัครสาธารณสุข • เป้าหมายอบรม อสม.เชี่ยวชาญ 6,098 คน ผลงาน 6,232 คน (53.92%) • งบประมาณ อบจ.กำแพงเพชร พัฒนา อสม.ทุกคน 6,000,000 บาท วัสดุอุปกรณ์สำหรับ อสม. ปี 2555 เครื่องวัดความดันโลหิตแบบดิจิตอล 1,930 ชุด หมู่บ้านละ 2 ชุด /เขตเมือง 18 ชุด ปี 2556 ชุดตรวจน้ำตาลในเลือดชนิดพกพา 890 ชุด ตำบลละ 10 – 15 ชุด(ระหว่างดำเนินการ) • องค์การบริหารส่วนจังหวัดกำแพงเพชร • สนับสนุนกระเป๋าและวัสดุอุปกรณ์

  34. การมีส่วนร่วมของภาคประชาชนการมีส่วนร่วมของภาคประชาชน • ตำบลจัดการสุขภาพดี วิสาหกิจชุมชนยั่งยืน ผ่านเกณฑ์ ระดับดีมาก 12 ตำบล (54.54%) ระดับดี 10 ตำบล (45.45%) ส่วนขาด/โอกาสพัฒนาวิสาหกิจชุมชนก้าวหน้า / อยู่ระหว่างประเมิน อสม.นักจัดการสุขภาพชุมชน • ตำบลจัดการสุขภาพ 49 ตำบล (62.82%) • พัฒนาต่อเนื่องเป็นศูนย์เรียนรู้ 14 ตำบล • หมู่บ้านจัดการสุขภาพ 599 หมู่บ้าน (60.51%) • หมู่บ้าน CBI 346 หมู่บ้าน (36.19%)

  35. กลุ่มเด็กและสตรี ภาวะโลหิตจาง จากการเก็บข้อมูลหญิงคลอดที่มีภาวะโลหิตจาง ที่ รพ.ขาณุฯ, รพ.กพ. และ รพ.คลองขลุง 80 ราย พบ - อายุน้อยกว่า 20 ปี 25 ราย (31.25%) - ANC < 12 สัปดาห์ 34 ราย (42.50%) - น้ำหนัก < 2,500 กรัม 3.7 % 2500-2999 กรัม 46.3 % ≥ 3000 กรัม 50.0 % 10% ร้อยละของหญิงคลอดมีภาวะโลหิตจางที่ตรวจครั้งที่ 1 พบค่า Hct < 33

  36. สถานการณ์อนามัยแม่และเด็กสถานการณ์อนามัยแม่และเด็ก 1. ฝากครรภ์ไม่ครบ 53.2 % 2. ไม่ฝากครรภ์ 2.9 % 3. ปัจจัยที่เกี่ยวข้อง 3.1 คลอดก่อนกำหนด 37.3 % 3.2 ภาวะ ภาวะการเจริญของเด็กในครรภ์ช้า (IUGR ) 41.3 % 3.3 อายุน้อยกว่า 20 ปี, มากกว่า 34 ปี 24.3 % ฝากครรภ์ รพ.รัฐ 61.4 % อื่นๆ 38.6 %

  37. ทารกแรกเกิดน้ำหนัก < 2500 กรัม ผลการวิจัย : การวิเคราะห์อิทธิพลเส้นทางปัจจัยที่มีความสัมพันธ์เชิงสาเหตุ กับทารกแรกคลอดน้ำหนักน้อยในโรงพยาบาลสายใยรัก เขต 18 พบ 2 ตัวแปร ที่มีอิทธิพลทางตรงกับน้ำหนักทารกแรกคลอด คือ - พฤติกรรมการดูแลตนเองระหว่างตั้งครรภ์ - ภาวะแทรกซ้อนระหว่างตั้งครรภ์ ไม่เกิน 7% 1. ประชุมคณะกรรมการอนามัยแม่และเด็ก 2. ANC คุณภาพ ไม่น้อยกว่า 70% 3. โรงพยาบาลสายใยรักระดับทอง 100 ห้องคลอดคุณภาพประเมิน 2 รพ. (ขาณุฯ, คลองขลุง)

  38. การประเมินพัฒนาการเด็ก เป้าหมาย 6,085 คน (แบบอนามัย 55) ประเมิน 4,974 คน (81.7%) ผ่าน 4,619 คน (92.9%) ไม่ผ่าน 355 คน (7.1%) ประเมินและส่งเสริมพัฒนาการด้วยTDSI (70ข้อ) 1 เดือน ประเมินตามแบบอนามัย 55 ซ้ำ • ผ่าน 339 คน ไม่ผ่าน 16 คน (0.32%) • ได้รับการประเมินและกระตุ้นพัฒนาการด้วย DSI (300ข้อ) รพช.10 คน ,รพท. 6 คน

  39. ศูนย์เด็กเล็กคุณภาพ • มีคุณภาพในระดับดีและดีมาก 70% ขึ้นไป

  40. เด็กแรกเกิด 2 วันขึ้นไปได้รับการเจาะเลือดเพื่อตรวจ TSH เป้าหมาย TSH มากกว่า 11.2 มล.ยูนิต/ลิตรไม่เกิน 3% • ผลงานจำแนกรายอำเภอ

  41. การดำเนินงานทันตสาธารณสุขในเด็กปฐมวัยการดำเนินงานทันตสาธารณสุขในเด็กปฐมวัย 81% 41.85% 62.43% ร้อยละของเด็กอายุ 3 ปี ฟันน้ำนมผุ (สำรวจปี 2553-2555) ไม่เกิน 57%

  42. การดำเนินงานในเด็กและสตรีการดำเนินงานในเด็กและสตรี • 1. พัฒนาศักยภาพบุคลากร ในการคัดกรองและดูแลภาวะเสี่ยง • 2. พัฒนาการสมวัย ไม่มีฟันผุ และปลอดโรค • 3. ติดตามการใช้ CPG ในการดูแลรักษาและ • การส่งต่อเพื่อรับการรักษาที่รวดเร็ว • 4. โรงพยาบาลสายใยรักแห่งครอบครัว • - ANC & WCC คุณภาพ • - ห้องคลอดคุณภาพ • - รณรงค์การฝากครรภ์ • Early Pregnancy • ตำบลนมแม่เพื่อสายใยรักแห่งครอบครัว • ศูนย์เด็กเล็กคุณภาพ • พัฒนา อสม.เชี่ยวชาญ • แผนแก้ปัญหาทันตสาธารณสุข • กระตุ้นการจัดบริการเชิงรุกการมี ส่วนร่วม (กับพ่อแม่ ผู้ดูแลเด็ก ชุมชน) • จัดบริการ ดูแลหญิงตั้งครรภ์ และกลุ่ม เด็กปฐมวัย ในคลินิกเด็กดี • ให้บริการทันตกรรมป้องกัน • ให้ความรู้และฝึกทักษะพ่อแม่ผู้ปกครอง ของเด็กในการดูแลเด็ก ตลอดจนใน ศูนย์พัฒนาเด็กเล็ก/เด็กชั้นอนุบาล

  43. นวตกรรมดีเด่นระดับเขตนวตกรรมดีเด่นระดับเขต เครือข่ายพรานกระต่าย : ครอบครัวฟันดี และฟันดีติดดาว

  44. โครงการแก้ไขปัญหาในกลุ่มเด็กและสตรีโครงการแก้ไขปัญหาในกลุ่มเด็กและสตรี ในระดับจังหวัด

  45. โครงการแก้ไขปัญหาในกลุ่มเด็กและสตรีโครงการแก้ไขปัญหาในกลุ่มเด็กและสตรี ในระดับอำเภอ

  46. กลุ่มวัยรุ่น-วัยเรียนกลุ่มวัยรุ่น-วัยเรียน สถานการณ์มารดาอายุ <20 ปี สัดส่วนหญิงตั้งครรภ์อายุ< 20 ปี ต่อหญิง 15-19 ปี (ไม่เกิน 50 ต่อพัน) แนวโน้มจังหวัด รายอำเภอ ปี 2556 ร้อยละหญิงตั้งครรภ์อายุ< 20 ปี (ไม่เกิน 10%)

  47. โรคติดต่อทางเพศสัมพันธ์โรคติดต่อทางเพศสัมพันธ์ สถานการณ์ผู้ป่วยกามโรค ที่พบในทุกกลุ่มวัย/กลุ่มวัยรุ่น อัตราการใช้ถุงยางอนามัยนักเรียนมัธยมศึกษา

  48. การดำเนินงานด้านการส่งเสริมสุขภาพการดำเนินงานด้านการส่งเสริมสุขภาพ ปี 2555 สุ่มสำรวจ IQ 931 คน(11 โรงเรียน) พบค่าเฉลี่ย IQ = 95.2 เด็กวัยเรียนมีส่วนสูงระดับดีและรูปร่างสมส่วน (ไม่น้อยกว่า 70%) พบว่า - มีส่วนสูงระดับดี 92.55 % (เป้าหมาย 93%) - มีรูปร่างสมส่วน 88.25 % (เป้าหมาย 85%) โรงเรียนส่งเสริมสุขภาพ ทุกโรงเรียนผ่านการประเมินมาตรฐานโรงเรียนส่งเสริมสุขภาพ (รวมทุกระดับ) จำแนกระดับได้ ดังนี้ - ระดับเพชร 8แห่ง (1.75%) - ระดับทอง 341แห่ง (74.45%) - ระดับเงิน 65แห่ง (14.25%) - ระดับทองแดง 31แห่ง (6.79%)

  49. การดำเนินงานทันตสาธารณสุขในเด็กวัยเรียนการดำเนินงานทันตสาธารณสุขในเด็กวัยเรียน 70.29% 48.56% 52.31% ร้อยละของเด็กอายุ 12 ปี ฟันผุในฟันถาวรปี 2553-2555 ไม่เกิน 55%

  50. โครงการแก้ไขปัญหาในกลุ่มวัยรุ่น-วัยเรียนโครงการแก้ไขปัญหาในกลุ่มวัยรุ่น-วัยเรียน

More Related