1 / 108

ระบบ GFMIS

ระบบ GFMIS. ระเบียบสำนักนายกรัฐมนตรี ว่าด้วยการพัสดุ พ.ศ .2535 และที่แก้ไขเพิ่มเติม. ระเบียบสำนักนายกรัฐมนตรี ว่าด้วยการพัสดุ ปัจจุบันมีทั้งสิ้น 6 ฉบับ - พ.ศ.2535 ใช้บังคับ 1 เมษายน 2535

Télécharger la présentation

ระบบ GFMIS

An Image/Link below is provided (as is) to download presentation Download Policy: Content on the Website is provided to you AS IS for your information and personal use and may not be sold / licensed / shared on other websites without getting consent from its author. Content is provided to you AS IS for your information and personal use only. Download presentation by click this link. While downloading, if for some reason you are not able to download a presentation, the publisher may have deleted the file from their server. During download, if you can't get a presentation, the file might be deleted by the publisher.

E N D

Presentation Transcript


  1. ระบบ GFMIS

  2. ระเบียบสำนักนายกรัฐมนตรี ว่าด้วยการพัสดุพ.ศ.2535 และที่แก้ไขเพิ่มเติม

  3. ระเบียบสำนักนายกรัฐมนตรี ว่าด้วยการพัสดุ ปัจจุบันมีทั้งสิ้น 6 ฉบับ - พ.ศ.2535 ใช้บังคับ 1 เมษายน 2535 - (ฉบับที่ 2) พ.ศ.2538 ใช้บังคับ 1 มกราคม 2539 - (ฉบับที่ 3) พ.ศ.2539 ใช้บังคับ 4 กันยายน 2539 - (ฉบับที่ 4) พ.ศ.2541 ใช้บังคับ 27 กุมภาพันธ์ 2542 - (ฉบับที่ 5) พ.ศ.2542 ใช้บังคับ 15 มิถุนายน 2542 - (ฉบับที่ 6) พ.ศ.2545 ใช้บังคับ 26 ธันวาคม 2545

  4. หมวดที่ 1 ข้อความทั่วไป ส่วนที่ 1 คำนิยาม ส่วนที่ 2 การใช้และการมอบอำนาจ ส่วนที่ 3 บทกำหนดโทษ ส่วนที่ 4 คณะกรรมการ กวพ. หมวดที่ 2 การจัดหา ส่วนที่ 1 บททั่วไป ส่วนที่ 2 การซื้อการจ้าง ส่วนที่ 3 การจ้างที่ปรึกษา ส่วนที่ 4การจ้างออกแบบและควบคุมงาน ส่วนที่ 5 การแลกเปลี่ยน ส่วนที่ 6 การเช่า ส่วนที่ 7 สัญญาและหลักประกัน ส่วนที่ 8 การลงโทษผู้ทิ้งงาน หมวดที่ 3 การควบคุมและการจำหน่ายพัสดุ ส่วนที่ 1 การยืม ส่วนที่ 2 การควบคุม ส่วนที่ 3 การจำหน่าย หมวดที่ 4 บทเฉพาะกาล โครงสร้างระเบียบ

  5. ขั้นตอนการซื้อและการจ้างทุกวิธีขั้นตอนการซื้อและการจ้างทุกวิธี 1 ทำรายงานขอซื้อ/จ้าง เจ้าหน้าที่พัสดุ ที่ดิน (28) หัวหน้าส่วนราชการ 2 ให้ความเห็นชอบ (29) พัสดุทั่วไป (27) 3 แต่งตั้งคณะกรรมการ(34) • ตกลงราคา (19,39) • สอบราคา (20,40-43) • ประกวดราคา(21,44-56) • วิธีพิเศษ ( 23,57,24,58) • กรณีพิเศษ ( 26,59) • e-Auction(ระเบียบ49) 4 ดำเนินการ

  6. - หัวหน้าส่วนราชการ - ปลัดกระทรวง/ทบวง - รัฐมนตรีเจ้าสังกัด ขออนุมัติซื้อ/ จ้าง ( 65 – 67 ) 5 6 ทำสัญญา ( 132 – 135 ) - หัวหน้าส่วนราชการ คณะกรรมการ การซื้อการจ้างทั่วไป (71) เปลี่ยนแปลงรายการ ( 136) 7 ตรวจรับ การจ้างก่อสร้าง ( 72-73 ) 8 เบิกจ่าย บอกเลิก (137-138),140 งด / ลดค่าปรับ ขยายเวลา (139 ) 9 การถอนหลักประกัน(144)

  7. ข้อ 4 ปลัดกระทรวงการคลัง เป็นผู้รักษาการณ์ตามระเบียบนี้

  8. หมวด 1 ข้อความทั่วไป ส่วนที่ 1 นิยาม

  9. การพัสดุ • การจัดทำเอง การซื้อ การจ้าง การจ้างที่ปรึกษา การจ้างออกแบบและควบคุมงาน การแลกเปลี่ยน การเช่าการควบคุม การจำหน่าย และการดำเนินการอื่น ๆ ที่กำหนดไว้ในระเบียบนี้

  10. พัสดุ • วัสดุ ครุภัณฑ์ ที่ดินและสิ่งก่อสร้าง

  11. การซื้อ • การซื้อพัสดุทุกชนิด ทั้งที่มีการติดตั้ง ทดลอง บริการที่เกี่ยวเนื่องต่างๆ การจ้างทำของและการรับขนตามประมวลกฎหมายแพ่งและพานิชย์ การจ้างเหมาบริการ แต่ไม่รวมการจ้างลูกจ้างตามระเบียบกระทรวงการคลัง การจ้าง

  12. เงินงบประมาณ = งบประมาณรายจ่ายประจำปี งบประมาณรายจ่าย เพิ่มเติมและเงินซึ่งส่วนราชการได้รับไว้โดยได้รับอนุญาต จากรัฐมนตรีว่าการกระทรวง การคลังให้ไม่ต้องส่งคลัง ตามกฎหมายว่าด้วยวิธีการงบประมาณ แต่ไม่รวมถึง เงินกู้ และ เงินช่วยเหลือ ตามระเบียบนี้ เงินกู้ = เงินกู้ตามกฎหมายว่าด้วยการให้อำนาจกระทรวงการคลัง กู้เงินจากต่างประเทศ เงินช่วยเหลือ = เงินที่ได้รับความช่วยเหลือจาก รัฐบาลต่างประเทศ องค์การระหว่างประเทศ สถาบันการเงินระหว่างประเทศ องค์การต่างประเทศทั้งในระดับรัฐบาล และ ที่มิใช่รัฐบาล มูลนิธิหรือเอกชนต่างประเทศ

  13. ส่วนราชการ= กระทรวง ทบวง กรม สำนักงาน หรือ หน่วยงาน อื่นใดของรัฐทั้งในส่วนกลาง ส่วนภูมิภาคหรือในต่างประเทศ แต่ไม่รวมถึง รัฐวิสาหกิจ หน่วยงานตามกฎหมายว่าด้วย ระเบียบ บริหารราชการส่วนท้องถิ่น หรือ หน่วยงานอื่น ซึ่งมี ฎหมายบัญญัติ ให้มีฐานะ เป็น ราชการบริหาร ส่วนท้องถิ่น

  14. “หัวหน้าส่วนราชการ” - ราชการบริหารส่วนกลาง = อธิบดี/ หน.ส่วนราชการที่เรียกอย่างอื่น และ มีฐานะ เป็นนิติบุคคล - ราชการบริหารส่วนภูมิภาค = ผู้ว่าราชการจังหวัด

  15. เกี่ยวกับการพัสดุ หรือ คือ 1 จนท.ที่ดำรงตำแหน่งที่มีหน้าที่ ระเบียบ สร.[1-3] ข้อ 5 คำนิยาม จนท.พัสดุ 2 ผู้ที่หน.ส่วนราชการแต่งตั้ง

  16. หัวหน้า จนท.พัสดุ • หัวหน้าหน่วยงานระดับกอง หรือ ฐานะเทียบเท่ากอง ทำงานเกี่ยวกับการพัสดุ 2. ข้าราชการอื่นซึ่งได้รับแต่งตั้งจาก หน.ส่วนราชการ

  17. ส่วนที่ 2 การใช้บังคับและการมอบอำนาจ

  18. ข้อ 6 ระเบียบนี้ใช้บังคับ แก่ 3 องค์ประกอบ 1. ส่วนราชการ 2. การดำเนินการเกี่ยวกับการพัสดุ 3. 3 เงิน - 1. เงินงบประมาณ - 2. เงินกู้ - 3. เงินช่วยเหลือ

  19. ข้อ 7กห. กำหนดให้ส่วนราชการ ผบช.มีอำนาจตามระเบียบนี้เป็นไปตามที่ กห.กำหนด

  20. ข้อ 9 การมอบอำนาจ ผู้มีอำนาจจะมอบอำนาจ เป็นหนังสือ ให้แก่ผู้ดำรงตำแหน่งใดก็ได้โดยคำนึงถึงตำแหน่งหน้าที่ ความรับผิดชอบ เมื่อได้รับมอบต้องรับมอบ ต้องสำเนาให้ สตง.ทราบ มอบช่วงไม่ได้ เว้น - ผวจ. 2กรณี - ตามระเบียบ กห.

  21. ส่วนที่ 3 บทกำหนดโทษ

  22. บทลงโทษทางวินัยต่อเจ้าหน้าที่ทำผิด ระเบียบ ฯ ข้อ 10 ผู้มีอำนาจ หรือ หน้าที่ หรือผู้หนึ่งผู้ใด ดำเนินการตามระเบียบนี้ กระทำการโดย - จงใจ - ประมาทเลินเล่อ ไม่ปฏิบัติตามระเบียบ - เจตนาทุจริต หรือ - ปราศจากอำนาจ - นอกเหนืออำนาจหน้าที่

  23. บทลงโทษทางวินัยต่อเจ้าหน้าที่ทำผิด ระเบียบ ฯ ข้อ 10 - รวมทั้งมีพฤติกรรมเอื้ออำนวย แก่ผู้เสนอราคา / งาน ให้มีการขัดขวางการแข่งขันราคา อย่างเป็นธรรม ถือว่าผู้นั้น กระทำผิดวินัยตามกฎหมาย ว่าด้วยระเบียบข้าราชการ หรือ ตามกฎหมายเฉพาะของส่วนราชการนั้นภายใต้หลักเกณฑ์ดังนี้

  24. บทลงโทษทางวินัยต่อเจ้าหน้าที่ทำผิด ระเบียบ ฯ ข้อ 10 (1) เจตนาทุจริต หรือ เป็นเหตุให้ทางราชการเสียหายอย่างร้ายแรง ลงโทษอย่างต่ำปลดออก (2) ทางราชการเสียหาย แต่ไม่ร้ายแรง ลงโทษอย่างต่ำตัดเงินเดือน (3) ทางราชการไม่เสียหาย ลงโทษภาคทัณฑ์ หรือ ว่ากล่าวตักเตือน เป็นลายลักษณ์อักษร การลงโทษ (1) หรือ (2) ไม่พ้นความผิดทางแพ่ง หรือ อาญา (ถ้ามี)

  25. ส่วนที่ 4 คณะกรรมการว่าด้วยการพัสดุ

  26. ข้อ 11 คณะกรรมการว่าด้วยการพัสดุ • ประกอบด้วยปลัดกระทรวงการคลัง เป็นประธานกรรมการ อธิบดีกรมบัญชีกลาง ผู้แทนกระทรวงกลาโหมผู้แทนสำนักงานตรวจเงินแผ่นดินผู้แทนสำนักงานอัยการสูงสุดผู้แทนสำนักงบประมาณผู้แทนสำนักงานคณะกรรมการกฤษฎีกาผู้แทนสำนักงาน ป.ป.ช. ผู้แทนสำนักงานปลัดสำนักนายกรัฐมนตรีผู้แทนสำนักงานบริหารหนี้สาธารณะผู้แทนสำนักงานมาตรฐานผลิตภัณฑ์อุตสาหกรรมและผู้ทรงคุณวุฒิซึ่งนายกรัฐมนตรีแต่งตั้งไม่เกินห้าคน เป็นกรรมการและให้เจ้าหน้าที่กรมบัญชีกลาง เป็นกรรมการและเลขานุการ กับให้ กวพ.แต่งตั้งผู้ช่วยเลขานุการไม่เกินสองคน • ผู้ทรงคุณวุฒิซึ่งนายกรัฐมนตรีแต่งตั้ง มีวาระอยู่ในตำแหน่ง คราวละสองปี ผู้ทรงคุณวุฒิซึ่งพ้นจากตำแหน่งอาจได้รับแต่งตั้งอีกได้

  27. หมวด 2 การจัดหา ส่วนที่ 1 บททั่วไป

  28. ข้อ 13 หลังจากได้ทราบยอดเงินที่จะนำมาใช้ในการจัดหาแล้วให้ส่วนราชการรีบดำเนินการให้เป็นไปตามแผนและตามขั้นตอนของระเบียบนี้ ในส่วนที่ ๒ส่วนที่ ๓หรือส่วนที่ ๔แล้วแต่กรณีเพื่อให้พร้อมที่จะทำสัญญาได้ทันทีเมื่อได้รับอนุมัติทางการเงินแล้ว

  29. ข้อ 15 ทวิ การจัดหาพัสดุตามระเบียบนี้ ผู้มีหน้าที่รับผิดชอบใน แต่ละขั้นตอนของการจัดหา ต้องดำเนินการโดย - เปิดเผย - โปร่งใส - เปิดโอกาสให้มีการแข่งขันราคาอย่างเป็นธรรม

  30. ส่วนที่ 2 การซื้อการจ้าง

  31. การใช้พัสดุที่ผลิตในประเทศและกิจการของคนไทยการใช้พัสดุที่ผลิตในประเทศและกิจการของคนไทย ข้อ๑๖ให้ส่วนราชการใช้พัสดุที่ผลิตในประเทศหรือเป็นกิจการของคนไทย • ห้ามกำหนดรายละเอียดหรือคุณลักษณะเฉพาะซึ่งอาจมีผลกีดกันไม่ให้ผู้ผลิตหรือผู้ขายพัสดุที่ผลิตในประเทศหรือเป็นกิจการของคนไทยสามารถเข้าแข่งขันกันในการเสนอราคากับทางราชการ • มีประกาศกำหนดมาตรฐานผลิตภัณฑ์อุตสาหกรรมแล้ว ให้กำหนดรายละเอียดหรือคุณลักษณะเฉพาะหรือรายการในการก่อสร้างตามมาตรฐานผลิตภัณฑ์อุตสาหกรรม หรือระบุเฉพาะหมายเลขมาตรฐานก็ได้

  32. การกำหนดรายละเอียดคุณลักษณะเฉพาะการกำหนดรายละเอียดคุณลักษณะเฉพาะ 1. ไม่กีดกันสินค้าไทย 2. ไม่กำหนด สเปคใกล้เคียงยี่ห้อใดยี่ห้อหนึ่ง เป็นการเฉพาะ 3. ไม่ระบุยี่ห้อ 4. งานก่อสร้างระบุยี่ห้อได้ในกรณีจำเป็น แต่ต้องให้เทียบเท่าได้

  33. มอก.+ ISO มอก. ISO จดทะเบียน TOR TOR สิทธิ ข้อ ๓ ได้ มอก.+IsO ทำในประเทศ แข่งกันเอง ๑๖(๕) วรรค ๑ ๓ ๓ ๓ มอก.+ISO ได้สิทธิ +๕% +๓% ได้ มอก./IsO ทำในประเทศ ๑๖ (๕) วรรค ๒๑๖ (๖) ๓ ๓ ๓ มอก.+ISO ได้สิทธิ +๑๐% +๗% มอก./ISO ได้สิทธิ +๗% +๕% Spec. ตาม มอก. ทำในประเทศ ๑๖ (๗) (ก) ๑๖ (๗) (ข) - - - 3 เปิดเสรี ทำในประเทศ จดทะเบียน ได้สิทธิ +๗% +๕% ๑๖ (๘) 8 8 8 8 เปิดเสรี ระบุแหล่งผลิต/แหล่งกำเนิด แข่งขันทั่วไป ของไทย+๕% ๓% ๑๖ (๑๑) การใช้พัสดุที่ผลิตในประเทศและกิจการของคนไทย

  34. เจ้าหน้าที่พัสดุ - อธิบดี - ผู้ว่าราชการจังหวัด หัวหน้าเจ้าหน้าที่พัสดุ หัวหน้าส่วนราชการ - หัวหน้าส่วนราชการ - ปลัดกระทรวง/ทบวง - รัฐมนตรีเจ้าสังกัด ผู้มีอำนาจอนุมัติ ผู้ที่เกี่ยวข้องในการจัดหาพัสดุ

  35. คณะกรรมการต่างๆ ผู้ควบคุมงาน

  36. ข้อ 18 วิธีซื้อ / วิธีจ้าง มี 6 วิธี 1. วิธีตกลงราคา 2. วิธีสอบราคา 3. ประกวดราคา 4. วิธีพิเศษ 5. วิธีกรณีพิเศษ 6. วิธีประมูลด้วยระบบอิเล็กทรอนิกส์

  37. ความหมายของการซื้อการจ้าง ระเบียบสำนักนายก ฯ ข้อ 19 / 20 / 21 กรณีใช้วงเงินกำหนดวิธีการ วิธีตกลงราคา=คราวหนึ่งไม่เกิน 100,000 บาท วิธีสอบราคา = คราวหนึ่งเกิน 100,000 บาท แต่ ไม่เกิน 2,000,000 บาท วิธีประกวดราคา = คราวหนึ่งเกิน 2,000,000 บาท ขึ้นไป วิธีประมูลด้วยระบบอิเล็กทรอนิกส์ (e-Auction) ตามหลักเกณฑ์ ที่กระทรวงการคลังกำหนด

  38. กรณีใช้วงเงินและเงื่อนไขกำหนดวิธีการกรณีใช้วงเงินและเงื่อนไขกำหนดวิธีการ วิธีพิเศษ เกิน 100,000 บาท เงื่อนไขตามข้อ 23 หรือ 24 กรณีใช้เงื่อนไขกำหนดวิธีการ วิธีกรณีพิเศษ ไม่มีกำหนดวงเงิน แต่มีเงื่อนไข

  39. *ข้อกำหนดพิเศษ* การแบ่งซื้อแบ่งจ้าง ตาม ระเบียบสำนักนายก ฯ ข้อ 22 - การซื้อ / การจ้างตาม ข้อ 19 (ต.) และ ข้อ 20 (ส.) ถ้าผู้สั่งซื้อ / สั่งจ้างเห็นสมควรจะสั่งให้กระทำโดยวิธีที่กำหนด ไว้สำหรับวงเงินที่สูงกว่า ก็ได้ - การแบ่งซื้อ / แบ่งจ้าง โดยลดวงเงินที่จะซื้อ / จ้างในครั้งเดียวกัน เพื่อให้วงเงินต่ำกว่าที่กำหนดโดยวิธีหนึ่งวิธีใด / เพื่อให้อำนาจสั่งซื้อ / สั่งจ้างเปลี่ยนไป วิธีการเปลี่ยนไป *** จะกระทำมิได้ ***

  40. วงเงินวิธีดำเนินการตามระเบียบ สร. ว่าด้วยการพัสดุ (ฉบับที่2) พ.ศ.2538ข้อ 19-21 ลำดับ วิธีดำเนินการ วงเงินตามระเบียบฯ (ฉบับที่2) พ.ศ.2538 หมายเหตุ 1 วิธีตกลงราคา ไม่เกิน 100,000 บาท เกินกว่า 100,000 บาท แต่ ไม่เกิน 2,000,000 บาท 2 วิธีสอบราคา วิธีประกวดราคา เกินกว่า2,000,000 บาท 3 วิธีพิเศษ เกินกว่า 100,000 บาท 4 ตามหลักการ ไม่จำกัดวงเงินแต่ไม่เกินวงเงิน งบประมาณที่ได้รับ 5 วิธีกรณีพิเศษ หมายเหตุ การดำเนินการโดยวิธีกรณีพิเศษ คงเดิม ไม่มีการเปลี่ยนแปลง

  41. คณะกรรมการต่างๆ การดำเนินการซื้อ / จ้าง แต่ละครั้งให้ ข้อ 34 • หน.ส่วนราชการดำเนินการแต่งตั้งคณะกรรมการ 1. คณะ กก.เปิดซองสอบราคา 2. คณะ กก.รับและเปิดซองประกวดราคา 3. คณะ กก.พิจารณาผลการประกวดราคา 4. คณะ กก.จัดซื้อโดยวิธีพิเศษ 5. คณะ กก.จัดจ้างโดยวิธีพิเศษ 6. คณะ กก.การตรวจรับพัสดุ 7. คณะ กก.ตรวจการจ้าง +ผู้ควบคุมงาน

  42. เพิ่มเติม • คณะกรรมการการกำหนดราคากลาง • คณะกรรมประกวดราคาด้วยวิธีทางอิเลคโทรนิคส์ • คณะกรรมการกำหนด Tor

  43. ข้อ 35 องค์ประกอบของคณะกรรมการ ผู้แต่งตั้ง คือ หัวหน้าส่วนราชการ • คณะ กก.แต่ละคณะให้ประกอบด้วย • ประธาน กก. 1 คน • กก.อย่างน้อย 2 คน • เว้น e-auction • โดยปกติให้แต่งตั้งจากข้าราชการระดับ 3 หรือ • เทียบเท่าขึ้นไป • ในกรณีจำเป็น / เป็นประโยชน์ต่อทางราชการจะแต่งตั้ง • บุคคลที่มิใช่ข้าราชการร่วมเป็น กก.ได้ • ถ้าประธานไม่สามารถปฏิบัติหน้าที่ได้ให้ หน.ส่วนราชการแต่งตั้งข้าราชการที่มีคุณสมบัติ ทำหน้าที่ประธานแทน

  44. ข้อ 35 2 กรณีเมื่อถึงกำหนดเวลา แล้วประธานไม่มา ให้ กรรมการ ที่มาประชุมเลือก กก.คนหนึ่ง ทำหน้าที่ประธานกก.ในเวลานั้น กรณีที่ 1 เปิดซองสอบราคา42(1) ไม่พิจารณาผล กรณีที่ 2 รับซองประกวดราคา (รับ + เปิดซองประกวดราคา)

  45. ข้อ 35 วรรค 3 ข้อห้าม ในการตั้งคณะกรรมการ (ระเบียบพัสดุ) • สอบราคา • - คณะกรรมการเปิดซองสอบราคา • - คณะกรรมการตรวจรับ • ประกวดราคา • - คณะกรรมการรับและเปิดซองประกวดราคา • - คณะกรรมการพิจารณาผลการประกวดราคา • - คณะกรรมการตรวจรับ • ข้อยกเว้น • - ไม่ห้ามสำหรับคณะกรรมการตรวจการจ้าง • (น.สำนักนายกรัฐมรตรีที่ สร. 1001/1223 ลง 19 มี.ค. 22) ห้าม

  46. 1. คณะ กก.เปิดซองสอบราคา 2. คณะ กก.รับและเปิดซองประกวดราคา 3. คณะ กก.พิจารณาผลการประกวดราคา 4. คณะ กก.จัดซื้อโดยวิธีพิเศษ 5. คณะ กก.จัดจ้างโดยวิธีพิเศษ 6. คณะ กก.การตรวจรับพัสดุ 7. คณะ กก.ตรวจการจ้าง กก.e-Auctionห้ามเป็นกรรมการตรวจรับ

  47. ข้อ 35 วรรค 4 กก.ทุกคณะ เว้นคณะ กก.รับและเปิดซองประกวดราคา ควรตั้งผู้ชำนาญการ / ผู้ทรงคุณวุฒิเกี่ยวกับพัสดุ / งานจ้างนั้นๆ เข้าร่วมเป็นกก.ด้วย ข้อ 35 วรรค 5 การซื้อ / จ้างวงเงินไม่เกิน 10,000 บาท จะแต่งตั้งข้าราชการ/ลูกจ้างประจำซึ่งมิใช่ผู้จัดซื้อ/จ้าง เป็นผู้ตรวจรับพัสดุ/งานจ้างนั้น ปฏิบัติหน้าที่เช่นเดียวกับ กก.ตรวจรับ

  48. ข้อ 36 องค์ประชุมและมติของคณะกรรมการ • ในการประชุมของคณ ะกก.ต้องมี กก. ไม่น้อยกว่ากึ่งหนึ่งของ จำนวน กก. ทั้งหมด • ประธานและกก.แต่ละคนมีเสียงหนึ่งในการลงมติ • มติของ กก. ให้ถือเสียงข้างมาก ถ้าคะแนนเสียงเท่ากันให้ประธาน • กก..ออกเสียงเพิ่มขึ้นอีกหนึ่งเสียงชี้ขาด • ยกเว้น คณะกก.ตรวจรับพัสดุ / กก.ตรวจการจ้าง ให้ถือมติเอกฉันท์ • กก.ของคณะใด ไม่เห็นด้วย กับมติของคณะ กก. ให้ทำบันทึกความ • คิดเห็นแย้ง ไว้ด้วย

More Related