1 / 36

การบริหารความเสี่ยง Risk Management

R. I. S. K. การบริหารความเสี่ยง Risk Management. ดร.ทองม้วน นาเสงี่ยม ผู้เชี่ยวชาญ และที่ปรึกษา ด้านการประกันคุณภาพและการพัฒนาระบบราชการ มหาวิทยาลัยราชภัฏมหาสารคาม. R. I. S. K. โครงสร้างการบริหารความเสี่ยงขององค์กร. สภามหาวิทยาลัย. คณะกรรมการตรวจสอบ ประจำมหาวิทยาลัย.

mohawk
Télécharger la présentation

การบริหารความเสี่ยง Risk Management

An Image/Link below is provided (as is) to download presentation Download Policy: Content on the Website is provided to you AS IS for your information and personal use and may not be sold / licensed / shared on other websites without getting consent from its author. Content is provided to you AS IS for your information and personal use only. Download presentation by click this link. While downloading, if for some reason you are not able to download a presentation, the publisher may have deleted the file from their server. During download, if you can't get a presentation, the file might be deleted by the publisher.

E N D

Presentation Transcript


  1. R I S K การบริหารความเสี่ยง Risk Management ดร.ทองม้วน นาเสงี่ยม ผู้เชี่ยวชาญ และที่ปรึกษา ด้านการประกันคุณภาพและการพัฒนาระบบราชการ มหาวิทยาลัยราชภัฏมหาสารคาม

  2. R I S K โครงสร้างการบริหารความเสี่ยงขององค์กร สภามหาวิทยาลัย คณะกรรมการตรวจสอบ ประจำมหาวิทยาลัย คณะกรรมการตรวจเงินแผ่นดิน (ค.ต.ง.) อธิการบดี คณะกรรมการพัฒนาระบบราชการ (ก.พ.ร.) คณะกรรมการบริหาร ความเสี่ยงมหาวิทยาลัย ฯ หน่วยตรวจสอบภายใน คณบดี / ผู้อำนวยการ คณะกรรมการบริหารความเสี่ยงฯ คณะ /สถาบัน /สำนัก

  3. บทบาทความรับผิดชอบ: คณะกรรมการการบริหารความเสี่ยง • จัดทำร่างนโยบายการบริหารความเสี่ยงระดับมหาวิทยาลัย • กำหนดแนวทางการดำเนินงานบริหารความเสี่ยงและการจัดการควบคุมภายใน • จัดทำคู่มือการบริหารความเสี่ยง • รวบรวม/ระบุ/วิเคราะห์ และประเมินความเสี่ยง • จัดทำแผนป้องกันหรือลดความเสี่ยง • เสนอมาตรการจัดการความเสี่ยง และการจัดการควบคุมภายใน • รายงานผลการบริหารความเสี่ยง เสนอต่ออธิการบดี • จัดทำรายงานการติดตามการประเมินผลการควบคุมภายใน (ตามระเบียบ คตง.ข้อ 6) ต่ออธิการบดี

  4. R I S K ความเสี่ยง (Risk) คืออะไร โอกาส/เหตุการณ์ที่ไม่พึงประสงค์ ที่จะส่งผลกระทบ ทำให้เป้าประสงค์ของหน่วยงานเบี่ยงเบนไป หรือเกิดความไม่แน่นอนในการบริหารงาน อันอาจทำให้เกิดความเสียหายแก่องค์กร

  5. ส่วนราชการต้องมีขั้นตอนการดำเนินการ หลักเกณฑ์ในการวิเคราะห์ ประเมิน และจัดการความเสี่ยงอย่างเหมาะสม ตามกระบวนการบริหารความเสี่ยงตามมาตรฐาน COSO (Committee of Sponsoring Organization of the Tread way Commission) คือ... R I S K • การกำหนดเป้าหมายการบริหารความเสี่ยง (Objective Setting) • การระบุความเสี่ยงต่างๆ (Event Identification) • การประเมินความเสี่ยง (Risk Assessment) • กลยุทธ์ที่ใช้ในการจัดการกับแต่ละความเสี่ยง (Risk Response) • กิจกรรมการบริหารความเสี่ยง (Control Activities) • ข้อมูลและการสื่อสารด้านบริหารความเสี่ยง (Information and Communication) • การติดตามผลและเฝ้าระวังความเสี่ยงต่างๆ (Monitoring)

  6. R I S K ขั้นตอนที่ 1 การกำหนดวัตถุประสงค์/เป้าหมาย Objective Setting

  7. R I S K การกำหนดวัตถุประสงค์ • การกำหนดวัตถุประสงค์ของการบริหารความเสี่ยง • กำหนดจากวิสัยทัศน์และภารกิจขององค์กร • กำหนดจากเป้าหมายหลักองค์กรให้สอดคล้องกับภารกิจ • กำหนดจากเป้าหมายในระดับหน่วยงาน • กำหนดจากเป้าหมายของแผนงานโครงการและกิจกรรมที่ทำให้บรรลุเป้าหมายในระดับองค์กร วิสัยทัศน์/ภารกิจ เป้าหมายหลักองค์กร เป้าหมายของหน่วยงาน เป้าหมายของกิจกรรมและแผนงานโครงการ

  8. R I S K ขั้นตอนที่ 2 การระบุและจำแนกความเสี่ยง Risk Identification

  9. การระบุหาและจำแนกความเสี่ยงในองค์กรการระบุหาและจำแนกความเสี่ยงในองค์กร R I S K • สำรวจว่ามีความเสี่ยงใดที่อาจทำให้การทำงานไม่ เป็นไปตามเป้าประสงค์ของส่วนราชการหรือหน่วยงาน • - ปัจจัยความเสี่ยงทั้งจากภายในและภายนอก • - เหตุการณ์ร้ายต่าง ๆ ที่อาจจะเกิดขึ้น • - การเปลี่ยนแปลงต่าง ๆ ที่เกิดขึ้นทั้งจากภายในและภายนอก • จำแนกความเสี่ยงนั้นๆ ว่าเกิดขึ้นในระดับใดและ เป็นความเสี่ยงประเภทใด (อาจใช้ตารางMatrix) • จัดทำ/เขียน Risk Statement ซึ่งระบุสาเหตุของความเสี่ยงและผลกระทบที่อาจเกิดขึ้น(What, Why and How Things can arise)

  10. R I S K ประเภทของความเสี่ยง ความเสี่ยงด้าน กลยุทธ์ (Strategic Risk) ความเสี่ยงด้านการปฏิบัติงาน (Operational Risk) ความเสี่ยงด้านการเงิน (Financial Risk) ความเสี่ยงด้านการปฏิบัติตามกฏระเบียบ (Compliance Risk)

  11. R I S K ความเสี่ยงด้านกลยุทธ์ (Strategic Risk : S) • เกี่ยวข้องกับการบรรลุเป้าหมายและพันธกิจในภาพรวม • เป็นความเสี่ยงเนื่องจากการเปลี่ยนแปลงของสถานการณ์และเหตุการณ์ภายนอก ส่งผลต่อกลยุทธ์ที่กำหนดไว้ไม่สอดคล้องกับประเด็นยุทธศาสตร์/วิสัยทัศน์ • เกิดจากการกำหนดกลยุทธ์ที่ขาดการมีส่วนร่วมจากภาคประชาชนหรือการร่วมมือกับองค์การอิสระ • เป็นความเสี่ยงที่เกิดขึ้นจากการตัดสินใจผิดพลาดหรือนำการตัดสินใจนั้นมาใช้อย่างไม่ถูกต้อง

  12. ความเสี่ยงด้านการดำเนินงาน (Operational Risk: O) R I S K • เกี่ยวข้องกับประสิทธิภาพ ประสิทธิผลหรือผลการปฏิบัติงาน • เป็นความเสี่ยงเนื่องจากระบบงานภายในขององค์การ/กระบวนการ/เทคโนโลยีหรือนวัตกรรมที่ใช้/บุคลากร/ความเพียงพอของข้อมูล ส่งผลต่อประสิทธิภาพและประสิทธิผลในการดำเนินโครงการ

  13. ความเสี่ยงด้านการเงิน (Financial Risk: F) R I S K • เป็นความเสี่ยงเกี่ยวกับการบริหารงบประมาณและการเงิน เช่น การบริหารการเงินไม่ถูกต้อง ไม่เหมาะสม ทาให้ขาดประสิทธิภาพ และไม่ทันต่อสถานการณ์ • เป็นความเสี่ยงที่เกี่ยวข้องกับการเงินขององค์การ เช่น การประมาณการงบประมาณไม่เพียงพอและไม่สอดคล้องกับขั้นตอนการดำเนินการ เป็นต้น • ขาดการจัดหาข้อมูล การวิเคราะห์ การวางแผน การควบคุม และการจัดทำรายงานเพื่อนำมาใช้ในการบริหารงบประมาณ และการเงินดังกล่าว

  14. ความเสี่ยงด้านการปฏิบัติตามกฎหมาย/กฎระเบียบ (Compliance Risk: C) R I S K • เกี่ยวข้องกับการปฏิบัติตามกฎ ระเบียบต่าง ๆ โดยความเสี่ยงที่อาจเกิดขึ้นเป็นความเสี่ยงเนื่องจาก - ความไม่ชัดเจน - ความไม่ทันสมัย / ความล่าช้า - ความไม่ครอบคลุมของกฎหมาย กฎระเบียบ ข้อบังคับต่าง ๆ - รวมถึงการทำนิติกรรมสัญญา การร่างสัญญาที่ไม่ครอบคลุมการดำเนินงาน

  15. R I S K หลักธรรมาภิบาลสากล ประสิทธิผล การตอบสนอง ประสิทธิภาพ ความโปร่งใส ความเสมอภาค/ความเที่ยงธรรม รับผิดชอบ กระจายอำนาจ การมุ่งเน้นฉันทามติ นิติธรรม การมีส่วนร่วม

  16. R I S K ขั้นตอนที่ 3 การประเมินความเสี่ยง Risk Assessment

  17. R I S K การจัดทำแผนภูมิความเสี่ยง ระดับความเสี่ยงที่ยอมรับได้ ผลกระทบ ความน่าจะเป็น/โอกาส

  18. R I S K หลักเกณฑ์การประเมินโอกาสที่จะเกิดความเสี่ยง(Likelihood)

  19. R I S K หลักเกณฑ์การประเมินโอกาสที่จะเกิดความเสี่ยง(Likelihood)

  20. R I S K หลักเกณฑ์การประเมินผลกระทบจากความเสี่ยง(Impact)

  21. R I S K หลักเกณฑ์การประเมินผลกระทบจากความเสี่ยง(Impact)

  22. R I S K หลักเกณฑ์การประเมินผลกระทบจากความเสี่ยง(Impact)

  23. R I S K หลักเกณฑ์การประเมินผลกระทบจากความเสี่ยง(Impact)

  24. R I S K หลักเกณฑ์การประเมินผลกระทบจากความเสี่ยง(Impact)

  25. R I S K หลักเกณฑ์การประเมินผลกระทบจากความเสี่ยง(Impact)

  26. R I S K ขั้นตอนที่ 4 การจัดการความเสี่ยง Risk Responses

  27. R I S K หลักการจัดการกับความเสี่ยง(Address Risk Responses) ลดโอกาสที่จะเกิดความเสี่ยง Pre-Event Control ลดผลกระทบของความเสี่ยง Post- Event Control Emerging Opportunity แสวงหาประโยชน์จากความเสี่ยง

  28. 4Ts of Risk Management R I 1.Take การยอมรับความเสี่ยง S K 2.Treat การลด/ควบคุมความเสี่ยง 4.Terminate การหลีกเลี่ยงความเสี่ยง 3.Transfer การกระจาย/โอนความเสี่ยง

  29. หลักการจัดการกับความเสี่ยง(Addressing Risk Responses)

  30. R I S K ขั้นตอนที่ 5 การจัดทำแผนบริหารความเสี่ยง Risk Management Plan

  31. R I S K ขั้นตอนที่ 6 สารสนเทศและการสื่อสาร Information and Communication

  32. R I S K ข้อมูลและการสื่อสารด้านการบริหารความเสี่ยง • ข้อมูลสารสนเทศเกี่ยวกับการเงินและการดำเนินงานต่างๆ มีความครบถ้วนถูกต้อง น่าเชื่อถือ ทันเวลา และเป็นปัจจุบัน • สื่อสารภายในและภายนอกหน่วยงานอย่างมีประสิทธิภาพ • บนลงล่าง • ล่างขึ้นบน • แนวราบ • ช่องทางการสื่อสาร • เว็บไซต์ของสถาบัน • หนังสือเวียน • การประชุมชี้แจงโดยผู้บริหาร • การอบรบรม

  33. R I S K ขั้นตอนที่ 7 การรายงานและการทบทวนการบริหารความเสี่ยง Risk Management Review, Report & Presentation

  34. การทบทวนและการรายงานเกี่ยวกับความเสี่ยงการทบทวนและการรายงานเกี่ยวกับความเสี่ยง Reviewing and Reporting Risks R I S K • เพื่อติตามว่ารูปแบบของความเสี่ยง (Risk Profile) เปลี่ยนแปลงหรือไม่ • เพื่อให้มั่นใจว่าการบริหารความเสี่ยงนั้นได้ผลจริง หากพบปัญหาก็จะได้หามาตรการใหม่/ใช้มาตรการสำรองเพื่อจัดการกับความเสี่ยง • เครื่องมือและเทคนิคที่ใช้ในการทบทวน : • Risk Self Assessment (RSA) • Stewardship Reporting: ผู้บริหารแต่ละระดับรายงานการบริหารความเสี่ยงของตนในสถานการณ์ต่างๆที่เปลี่ยนแปลงไป ขึ้นไปยังหน่วยเหนือ (Upward Reporting)

  35. R I S K ท่านบรรลุเป้าประสงค์ต่อไปนี้ หรือยัง ?? • เข้าใจหลักการและกระบวนการบริหารความเสี่ยง • เข้าใจและระบุ/จำแนกความเสี่ยงในส่วนราชการได้ • เข้าใจและประเมินความเสี่ยงในส่วนราชการได้ • จัดทำแผนบริหารความเสี่ยงของหน่วยงานได้

  36. ขอขอบคุณ R I S K การบริหารความเสี่ยง ดร.ทองม้วน นาเสงี่ยม ผู้เชี่ยวชาญ และที่ปรึกษา ด้านการประกันคุณภาพและการพัฒนาระบบราชการ มหาวิทยาลัยราชภัฏมหาสารคาม

More Related