1 / 16

เศรษฐศาสตร์แรงงาน EC 471 รูปแบบต่างๆของการจ่ายค่าจ้าง

เศรษฐศาสตร์แรงงาน EC 471 รูปแบบต่างๆของการจ่ายค่าจ้าง. รองศาสตราจารย์ ดร. ภาวดี ทองอุไทย สิงหาคม 2552. ความสัมพันธ์ระหว่างค่าตอบแทน และ ผลงาน. ความสัมพันธ์ระหว่างหน่วยผลิตและคนงาน เป็นแบบที่เรีย กว่า ปัญหาระหว่าง ผู้ว่าจ้าง กับ ผู้กระทำ ‘ principal-agent problem ’

monet
Télécharger la présentation

เศรษฐศาสตร์แรงงาน EC 471 รูปแบบต่างๆของการจ่ายค่าจ้าง

An Image/Link below is provided (as is) to download presentation Download Policy: Content on the Website is provided to you AS IS for your information and personal use and may not be sold / licensed / shared on other websites without getting consent from its author. Content is provided to you AS IS for your information and personal use only. Download presentation by click this link. While downloading, if for some reason you are not able to download a presentation, the publisher may have deleted the file from their server. During download, if you can't get a presentation, the file might be deleted by the publisher.

E N D

Presentation Transcript


  1. เศรษฐศาสตร์แรงงาน EC 471รูปแบบต่างๆของการจ่ายค่าจ้าง รองศาสตราจารย์ ดร. ภาวดี ทองอุไทย สิงหาคม 2552

  2. ความสัมพันธ์ระหว่างค่าตอบแทน และ ผลงาน • ความสัมพันธ์ระหว่างหน่วยผลิตและคนงาน เป็นแบบที่เรียกว่า ปัญหาระหว่าง ผู้ว่าจ้าง กับ ผู้กระทำ ‘principal-agent problem’ • หน่วยผลิตต้องการ กำไรสูงสุด • แต่... คนงานต้องการ อรรถประโยชน์ (ความพอใจ) สูงสุด • อาจมีพฤติกรรมที่แสดงหาประโยชน์ให้ตนเอง (opportunistic) • ขัดแย้งกับ การหากำไรสูงสุดของหน่วยผลิต • เพิ่มปริมาณ การพักผ่อน โดย เบี้ยวงาน‘shirking’ • เช่น หยุดพักนานเกินควร ไม่ตั้งใจทำงาน • หน่วยผลิตจะต้องหาทางลดปัญหาดังกล่าว

  3. สัญญาการจ้างงาน และ แรงจูงใจต่อการทำงาน • นายจ้างพยายามหาวิธีการจ่ายผลตอบแทนต่อคนงานที่จะ • ดึงเอาความขยันทำงานออกมาให้มากที่สุด • แต่ละวิธี เปลี่ยนแปลงผลิตภาพของคนงาน และ กำไรของหน่วยผลิต • จ่ายตามรายชิ้น หรือ จ่ายตามเวลา Piece rates vs. time rates • จ่ายเป็นรายชิ้น (piece rates) • ค่าตอบแทนโยงกับจำนวนที่แต่ละคนผลิตได้ • คนงานสามารถควบคุมความช้า – เร็วของการทำงาน • การตรวจสอบทำได้ยาก เสียค่าใช้จ่ายสูง

  4. ค่าตอบแทน ตามผลงาน • คอมมิชชั่น และ ค่าลิขสิทธิ(Commission and royalties) • ค่าตอบแทนโยงกับมูลค่าของยอดขาย • การขึ้นค่าตอบแทน และ เลื่อนตำแหน่ง • ผู้จัดการ = ทรัพยากรกึ่งคงที่ มีค่าใช้จ่ายสูงในการเสาะหา และ ฝึกอบรม • อะไรจะจูงใจดีที่สุด: • จ่ายเป็นรายชั่วโมง เงินเดือนประจำ หรือ …..?

  5. โบนัส = จ่ายรายปี เพิ่มจากเงินเดือนประจำ • ขึ้นอยู่กับหลายปัจจัย เช่น ผลงานส่วนบุคคล หรือ ผลงานของทีม • ผลดี ผลเสียต่อ หน่วยผลิต?ต่อคนงานอื่นๆ? • การแบ่งผลกำไร • การมีส่วนเป็นเจ้าของกิจการ • จ่ายเป็นหุ้น หรือให้สิทธิซื้อหุ้นได้ในราคาต่ำกว่าท้องตลาด • จ่ายวิธีเดียวกับการแข่งกีฬา Tournament pay • ขึ้นอยู่กับผลงาน “เปรียบเทียบ”

  6. จ่ายตามรายชิ้น เทียบกับ จ่ายตามเวลาPiece rates vs. time rates • ผลิตภาพของคนงานแตกต่างกัน เพราะ...ความสามารถ หรือ ความขยัน • ถ้าจ่ายเป็นรายชิ้น Piece rate – ค่าจ้างควรจะ = มูลค่าของผลผลิตหน่วยสุดท้ายพอดี มิฉะนั้น คนงานก็จะลาออก • คนงานรู้ผลิตภาพของตนดีกว่าหน่วยผลิต จำเป็นต้องควบคุมตรวจสอบอย่างใกล้ชิด สิ้นเปลืองทรัพยากร • ค่าใช้จ่ายในการควบคุมอาจผลักต่อไป โดยลดค่าจ้างลง • ในตลาดแข่งขัน หน่วยผลิตจะเลือกใช้วิธีที่ได้กำไรสูงสุด • ถ้าต้นทุนการควบคุม/ตรวจสอบสูง  จ่ายตามเวลาทำงาน time rates • ถ้าต้นทุนการควบคุม/ตรวจสอบต่ำ  จ่ายเป็นรายชิ้น piece rates

  7. ผู้ที่รับเงินรายชิ้น เลือกผลิตระดับที่  อรรถประโยชน์สูงสุด • การทำงานหนัก ต้องใช้ความอุตสาหะมาก เกิดอรรถประโยชน์ลบ • ดังนั้น ตัดสินใจโดย • MR marginal revenue of effort = MC marginal cost of effort • คนงานมีความสามารถต่างกัน  พฤติกรรมต่างกัน • ความสามารถสูง  ผลผลิตมาก • ผู้ที่เลือกรับค่าจ้างตามเวลาทำงาน จะจัดสรรเวลา  ผลิต “น้อยที่สุด” เท่าที่หน่วยผลิตจะยอมรับได้ และให้ตรงกับที่ถูกตรวจสอบง่าย (เช่น เวลาเข้า-ออก จากสถานที่ทำงาน) • ทุกคนได้อรรถประโยชน์เท่ากัน = ความพยายามในระดับต่ำสุด

  8. แรงจูงใจWork incentives และ การชะลอรายได้Delayed compensation • นายจ้างหาวิธีจ่ายเงินที่จะจูงใจไม่ให้ “อู้งาน” • ใช้ความสัมพันธ์ระหว่างอายุ กับ รายได้ • สมมติว่า VMP ของคนงานในช่วงชีวิตค่อนข้างคงที่ • ถ้าความขยัน / ผลผลิตของคนงานวัดได้ง่ายๆ • ความสัมพันธ์ระหว่างอายุ และ รายได้ก็จะเป็นเส้นขนานกับแกนนอน • แต่ในความเป็นจริง วัดได้ยาก การตรวจสอบมีค่าใช้จ่ายสูง • คนงานจะทำให้ผลผลิตต่ำกว่าศักยภาพที่แท้จริง (<VMP) • นายจ้างใช้สัญญาแบบที่จะทำให้คนงานผลิตในระดับ VMPโดยไม่ต้องเสียเงินตรวจสอบควบคุม • ค่าจ้างในปีต้นๆ < VMPในปีต่อมา> VMP

  9. ในการจ่ายค่าจ้างแบบรายชิ้น piece rate • อรรถประโยชน์จะขึ้นอยู่กับ ความสามารถ(ability) • คนงานจะเลือกใช้สัญญาจ้างงานแบบที่เหมาะกับ “ ความสามารถ” ของตนเอง • และ ยังอาจเลือกระหว่าง • สัญญาจ้างงานที่ยกผลตอบแทนไปจ่ายในอนาคต Delayed compensation contract กับ • สัญญาจ้างงานแบบที่จ่ายตามมูลค่าของผลผลิตหน่วยสุดท้ายในแต่ละช่วงเวลา • ถ้ากระแสรายได้มีมูลค่าปัจจุบันเท่ากัน DBA = BCEก็จะเป็นความพอใจที่เท่ากัน • แต่...มีผลกระทบต่อแรงจูงใจทำงานแตกต่างกัน

  10. ถ้าค่าจ้าง = VMP (และไม่มีการควบคุมดูแลอย่างใกล้ชิด)  อู้งาน • ถ้า ความสัมพันธ์ระหว่างอายุ กับ รายได้ เป็นเส้นลาดขึ้น • การอู้งานจะเสี่ยงต่อการสูญเสียรายได้ค่อนข้างมาก • การเลื่อนการจ่ายผลตอบแทนออกไปในอนาคต • จะทำให้คนงานทุ่มเทความพยายามมากขึ้นในปัจจุบัน และ ได้ผลิตภาพสูงกว่า • ผลต่อนโยบายเกษียณอายุ  บังคับ Mandatory • หน่วยผลิตอยากจะเลิกสัญญา ณ จุด N • เพราะไม่มีผลประโยชน์อีกต่อไปแล้ว • คนงานไม่อยากออก • เพราะได้ผลตอบแทนเกินผลผลิต overpaid

  11. ค่าจ้างที่สร้างประสิทธิภาพ (efficiency wages) • การจ่ายค่าจ้างตามผลงานจะทำงานได้ดี ในกรณีที่สามารถวัดผลผลิตของคนงานแต่ละคนได้ไม่ยากนัก • หรือ หน่วยผลิตก็อาจจะตรวจสอบความขยันได้ เช่น จ้างผู้คุมงาน • ซึ่งก็เพิ่มค่าใช้จ่าย • อาจใช้วิธี จ่ายค่าจ้างสูงกว่าระดับที่ตลาดกำหนด market-clearing level • ความสัมพันธ์ระหว่างค่าจ้าง กับ ผลิตภาพ • ค่าจ้างที่สูงขึ้น อาจมีผลบวกต่อผลิตภาพของคนงาน • ทำให้อุปสงค์แรงงานเคลื่อนไปทางขวา • ค่าจ้างที่สร้างประสิทธิภาพ คือ ค่าจ้างที่ทำให้ ต้นทุนค่าจ้างต่อหน่วย “ที่แท้จริง”ของแรงงาน wage cost per effective unit of labour serviceอยู่ในระดับต่ำสุด

  12. ภายใต้ตลาดแรงงานที่มีการแข่งขัน แรงงานเหมือนกันทุกประการ • ค่าจ้างที่จะทำให้ตลาดเข้าสู่ดุลยภาพ คือ ค่าจ้างที่ทำให้ ต้นทุนค่าจ้างต่อหน่วย “ที่แท้จริง” (wage cost per effective unit of labourservice) มีค่าต่ำสุด • หน่วยผลิตจะไม่จ่าย ต่ำกว่า หรือ สูงกว่า ระดับนั้น • ในกรณีที่ แรงงานไม่เหมือนกัน และ ค่าจ้าง กับ ผลิตภาพของแรงงานมีความสัมพันธ์กัน • หน่วยผลิตอาจจะลดค่าจ้างต่อหน่วยที่แท้จริงของแรงงานได้ ด้วยการจ่ายค่าจ้างให้สูงขึ้น •  ตั้งใจทุ่มเทมากขึ้น  เพิ่มความสามารถของแรงงานหรือเพิ่มสัดส่วนของแรงงานที่มีทักษะ

More Related