1 / 55

โดย....กิ่งกาญจน์ ภู่ทองตระกูล กรมสนับสนุนบริการสุขภาพ

ระเบียบกระทรวงการคลังว่าด้วย ค่าใช้จ่ายในการฝึกอบรม การจัดงาน และการประชุมระหว่างประเทศ พ.ศ. 2549 แก้ไข (ฉบับที่ 3) พ.ศ. 2555. โดย....กิ่งกาญจน์ ภู่ทองตระกูล กรมสนับสนุนบริการสุขภาพ. คำนิยาม. บุคลากรของรัฐ หมายความว่า ข้าราชการทุกประเภท พนักงาน

myra-joseph
Télécharger la présentation

โดย....กิ่งกาญจน์ ภู่ทองตระกูล กรมสนับสนุนบริการสุขภาพ

An Image/Link below is provided (as is) to download presentation Download Policy: Content on the Website is provided to you AS IS for your information and personal use and may not be sold / licensed / shared on other websites without getting consent from its author. Content is provided to you AS IS for your information and personal use only. Download presentation by click this link. While downloading, if for some reason you are not able to download a presentation, the publisher may have deleted the file from their server. During download, if you can't get a presentation, the file might be deleted by the publisher.

E N D

Presentation Transcript


  1. ระเบียบกระทรวงการคลังว่าด้วยระเบียบกระทรวงการคลังว่าด้วย ค่าใช้จ่ายในการฝึกอบรม การจัดงาน และการประชุมระหว่างประเทศ พ.ศ. 2549 แก้ไข (ฉบับที่ 3) พ.ศ. 2555 โดย....กิ่งกาญจน์ ภู่ทองตระกูล กรมสนับสนุนบริการสุขภาพ

  2. คำนิยาม บุคลากรของรัฐ หมายความว่า ข้าราชการทุกประเภท พนักงาน ลูกจ้างของส่วนราชการ รัฐวิสาหกิจ หรือหน่วยงานอื่นของรัฐ

  3. คำนิยาม เจ้าหน้าที่ หมายความว่าบุคลากรของรัฐที่ได้รับมอบหมายให้ปฏิบัติงานตามระเบียบฝึกอบรม (ผู้จัด) และหมายถึงบุคคลอื่นที่ได้รับแต่งตั้งให้ปฏิบัติงานรวมทั้ง จนท. รปภ. ด้วย

  4. นิยาม การฝึกอบรม • อบรม ประชุม / สัมมนา (วิชาการเชิงปฏิบัติการ) • บรรยายพิเศษ ฝึกศึกษา ฝึกงาน การดูงาน • มีโครงการ / หลักสูตร ซึ่งมีช่วงเวลาจัดที่แน่นอน • วัตถุประสงค์เพื่อพัฒนาบุคลากร /เพิ่มประสิทธิ • ภาพในการปฏิบัติงาน • ไม่มีการรับปริญญา / ประกาศนียบัตรวิชาชีพ • ไม่ใช่หลักสูตรการเรียนการสอน • ไม่ใช่การประชุมหารือ ประชุมทำงาน

  5. การดูงาน หมายถึง การเพิ่มพูนความรู้ ประสบการณ์ ด้วยการสังเกตการณ์ ซึ่งกำหนดไว้ในโครงการหรือหลักสูตร การฝึกอบรมหรือกำหนดไว้ในแผนการจัดประชุมระหว่าง ประเทศให้มีการดูงานก่อน ระหว่าง หรือหลังการฝึกอบรม หรือประชุมระหว่างปะเทศและให้รวมถึงโครงการหรือ หลักสูตรที่มีเฉพาะการดูงานภายในประเทศที่หน่วยงาน ของรัฐจัด

  6. ประเภทการฝึกอบรม การฝึกอบรมประเภท ก. การฝึกอบรมประเภท ข. การฝึกอบรมบุคคลภายนอก

  7. ระดับการฝึกอบรม ให้พิจารณาจากผู้เข้าอบรมเป็นบุคลากรของรัฐเกินกึ่งหนึ่ง ของข้าราชการประเภทใด การฝึกอบรมประเภท ก ทั่วไป วิชาการ อำนวยการ บริหาร ทักษะพิเศษ เชี่ยวชาญ ทรงคุณวุฒิ ระดับต้น ระดับสูง ระดับสูง

  8. ระดับการฝึกอบรม ให้พิจารณาจากผู้เข้าอบรมเป็นบุคลากรของรัฐเกินกึ่งหนึ่ง ของข้าราชการประเภทใด การฝึกอบรมประเภท ข อำนวยการ วิชาการ ทั่วไป ปฏิบัติงาน ชำนาญงาน อาวุโส ปฏิบัติการ ชำนายการ ชำนาญการพิเศษ ระดับต้น

  9. ผู้จัดฝึกอบรมเดินทางไปจัด และผู้เข้ารับการ ฝึกอบรม ต้องได้รับอนุมัติตามระเบียบสำนัก นายกรัฐมนตรีว่าด้วยการอนุมัติเดินทางไป ราชการและการจัดการประชุมของทางราชการ พ.ศ.2524 การฝึกอบรมบุคคลภายนอกจัดได้เฉพาะ ในประเทศเท่านั้น (ข้อ 9)

  10. บุคคลผู้มีสิทธิ (ตามข้อ 10) ประธานในพิธีเปิดปิดการฝึกอบรม แขกผู้มีเกียรติ และผู้ติดตาม เจ้าหน้าที่ วิทยากร ผู้เข้ารับการฝึกอบรม ผู้สังเกตการณ์ 1 2 3 4 5

  11. การเทียบตำแหน่ง ประธาน แขกผู้มีเกียรติ และผู้ติดตาม เจ้าหน้าที่วิทยากรผู้สังเกตการณ์ ที่ไม่ได้เป็นบุคลาของรัฐ เพื่อเบิกค่าใช้จ่ายตามระเบียบฝึกอบรม • บุคคลที่เคยดำรงตำแหน่งครั้งสุดท้ายก่อนออกจากราชการ • 2. บุคคลที่เคยขอเทียบตำแหน่งจาก กค. • วิทยากรให้พิจารณาจากระดับการฝึกอบรม • ประเภท ก ให้เทียบตำแหน่งประเภทบริหารระดับสูง • ประเภท ข และการฝึกอบรมบุคคลภายนอกให้เทียบ • วิทยากรตำแหน่งอำนวยการระดับต้น (เว้นถ้าเดิมสูงกว่า) นอกเหนือจากบุคคลดังกล่าวให้หน.ส่วนราชการพิจารณาตามความเหมาะตามหลักการเทียบข้อ 2

  12. การเทียบตำแหน่ง ผู้เข้ารับการฝึกอบรม ที่ไม่ได้เป็นบุคลากรของรัฐ (บุคคลภายนอก) • การอบรมประเภท ก เทียบได้บริหารระดับสูง • การอบรมประเภท ข เทียบได้บริหารระดับต้น • บุคลากรของรัฐเบิกตามสิทธิตัวเอง (อบรมร่วมกับบุคลากรของรัฐ)

  13. การเบิกค่าพาหนะในการฝึกอบรมการเบิกค่าพาหนะในการฝึกอบรม การเบิกจ่ายค่าพาหนะเดินทางไป-กลับระหว่าง ที่พักไปสถานที่ฝึกอบรม (ของบุคคลตามข้อ 10) ให้อยู่ในดุลพินิจของหน.ส่วนราชการผู้จัด ฝึกอบรมหรือส่วน ราชการต้นสังกัด

  14. ค่าใช้จ่ายฝึกอบรมของผู้จัดค่าใช้จ่ายฝึกอบรมของผู้จัด ปรับปรุงฉบับที่ 3 นอกเหนือจาก ที่กำหนดให้ขอตกลง กระทรวงการคลัง ค่าใช้และตกแต่งสถานที่ ค่าใช้จ่ายพิธีเปิด-ปิด ค่าวัสดุ เครื่องเขียนอุปกรณ์ ค่าประกาศนียบัตร ค่าถ่ายเอกสาร ค่าพิมพ์เอกสารและสิ่งพิมพ์ ค่าหนังสือสำหรับผู้เข้าอบรม ค่าอาหาร อาหารว่าง เครื่องดื่ม ค่ากระเป๋าหรือสิ่งที่ใช้บรรจุเอกสาร ไม่เกิน 300.- ค่าของสมนามคุณดูงาน ไม่เกิน แห่งละ 1,500.- ค่าวิทยากร ค่าที่พัก ค่าพาหนะ

  15. ค่าใช้จ่ายฝึกอบรมของผู้จัดค่าใช้จ่ายฝึกอบรมของผู้จัด ค่าอาหารว่าง-เครื่องดื่ม ค่าอาหาร ค่าเช่าที่พัก ได้รับการยกเว้นไม่ต้องดำเนินการตามระเบียบพัสดุ (กค.0421.3/ว193ลว.8มิย.52) หลักฐานประกอบการเบิกจ่าย ใบเสร็จรับเงิน ใบสำคัญรับเงิน ใบรับรองการจ่ายเงิน

  16. ค่าใช้จ่ายวิทยากร การจ่ายสมนาคุณวิทยากรใน สังกัดผู้จัดอบรมให้อยู่ในดุลพินิจ ของหน.ส่วนราชการ ตามความจำเป็น และอัตราที่เหมาะสม แต่ไม่เกิน อัตราที่กำหนด

  17. หลักเกณฑ์การจ่ายค่าวิทยากร บรรยาย ไม่เกิน 1 คน อภิปราย/สัมมนาเป็นคณะ ไม่เกิน 5 คน แบ่งกลุ่ม - ฝึกปฏิบัติ - อภิปราย - ทำกิจกรรม ไม่เกินกลุ่มละ 2 คน หากวิทยากรเกินกว่าที่กำหนดให้เฉลี่ยจ่าย

  18. การนับเวลาบรรยาย นับตามเวลาที่กำหนดในตารางการฝึกอบรม ไม่ต้องหักเวลาที่พักรับประทานอาหารว่าง แต่ละชั่วโมงการฝึกอบรมต้องไม่น้อยกว่า 50นาที ชั่วโมงการฝึกอบรมไม่ถึง 50นาที แต่ไม่น้อยกว่า 25นาที ให้เบิกค่าสมนาคุณวิทยากรได้กึ่งหนึ่ง

  19. อัตราค่าสมนาคุณวิทยากรอัตราค่าสมนาคุณวิทยากร หากมีความจำเป็นต้องจ่ายสูงกว่ากำหนดเนื่องจากวิทยากรมีความรู้ ความสามารถและประสบการณ์ เป็นพิเศษให้อยู่ในดุลพินิจ หน.ส่วนราชการ

  20. หลักฐานการจ่าย การจ่ายค่าสมมานาคุณวิทยากร การจ่ายค่าพาหนะรับจ้างไป – กลับ ของวิทยากร กรณีวิทยากรมีถิ่นที่อยู่ในท้องที่เดียวกับสถานที่ จัดอบรม แทนการจัดรถรับ-ส่ง ใช้แบบใบสำคัญรับเงินสำหรับวิทยากร ตามที่กระทรวงการคลังกำหนด

  21. ใบสำคัญรับเงิน สำหรับวิทยากร ชื่อส่วนราชการผู้จัดฝึกอบรม ...................................................................................................................................... โครงการ / หลักสูตร ................................................................................................................................................... วันที่.......เดือน..................พ.ศ. ........ ข้าพเจ้า...................................................................................อยู่บ้านเลขที่................................................ ตำบล/แขวง........................................................อำเภอ.....................................จังหวัด..................................................... ได้รับเงินจาก...............................................................................................................................ดังรายการต่อไปนี้ จำนวนเงิน ( ) (ลงชื่อ) ...........................................................................................ผู้รับเงิน (ลงชื่อ) ...........................................................................................ผู้จ่ายเงิน

  22. ค่าอาหาร (บาท : วัน : คน) เท่าที่จ่ายจริง ไม่เกิน อัตราค่าอาหารที่กำหนด จัดให้ก่อน/ระหว่าง/หลัง การฝึกอบรม ให้อยู่ในดุลพินิจ เท่าที่จ่ายจริงไม่เกินอัตราที่กำหนด

  23. ค่าอาหาร (บาท : วัน : คน) เท่าที่จ่ายจริง ไม่เกิน อัตราค่าอาหารที่กำหนด ค่าเบี้ยเลี้ยงผู้เข้าอบรมต่างประเทศ ให้คิดเหมือนอบรมภายในประเทศ ส่วนเครื่องแต่งตัวเบิกได้เฉพาะบุคลากรของรัฐ/เจ้าหน้าที่

  24. หลักเกณฑ์การจัดที่พักหลักเกณฑ์การจัดที่พัก การจัดที่พักให้ผู้สังเกตการณ์หรือ จนท. ที่ระดับ 8 ลงมา ให้พักคู่ เว้น แต่ไม่เหมาะสม หน.ส่วนราชการพิจารณา การจัดที่พักให้ผู้สังเกตการณ์หรือ จนท. ที่ระดับ 9 ขึ้นไป ให้พักเดี่ยวได้ การจัดที่พักให้ประธานเปิด-ปิด แขกผู้มีเกียรติ ผู้ติดตาม หรือวิทยากร ให้พักเดี่ยวหรือคู่ก็ได้ โดยเบิกได้เท่าที่จ่ายจริง พิจารณา ตามความ เหมาะสม

  25. หลักเกณฑ์การจัดยานพาหนะ (บุคคล ข้อ 10) • ใช้ยานพาหนะของส่วนราชการผู้จัด/ ยืมจากส่วนราชการ • อื่น/ หน่วยงานอื่น เบิกค่าน้ำมันเท่าที่จ่ายจริง • ใช้ยานพาหนะประจำทาง / เช่าเหมายานพาหนะ ให้จัดยานพาหนะ • ตามระดับการฝึกอบรมตามสิทธิกฤษฎีกา คชจ. ดังนี้ • จัดอบรม ประเภท ก ให้จัดยานพาหนะตามสิทธิ ประเภท • บริหารระดับสูง เว้นแต่เดินทางโดยเครื่องบินให้ใช้ชั้นธุรกิจ • แต่ถ้าไม่สาสามารถเดินทางชั้นธุรกิจได้ให้ใช้ชั้นหนึ่ง • จัดอบรม ประเภท ข ให้จัดยานพาหนะตามสิทธิ ประเภท • ทั่วไปชำนาญงาน • จัดอบรม บุคคลภายนอก ให้จัดยานพาหนะตามสิทธิ ประเภท • ทั่วประดับปฏิบัติงาน • ทั้งนี้ให้เบิกได้เท่าที่จ่ายจริงตามความจำเป็น เหมาะสม ประหยัด

  26. ค่าเช่าที่พักอบรมในประเทศ (บาท:วัน:คน) ประธาน แขกผู้มีเกียรติ ผู้ติดตาม และวิทยากร จัดให้พักและค่าเช่าที่พักตามความเหมาะสม

  27. ผู้จัดอบรมไม่จัดอาหาร ที่พัก ยานพาหนะ ทั้งหมดหรือ จัดบางส่วนสำหรับ ข้อ 18 (ปรับปรุงฉบับที่ 3) ผู้จัดเบิกจ่าย คชจ.ทั้งหมด หรือส่วนที่ขาดให้ 1. ประธาน แขกผู้มีเกรียติ ผู้ติดตาม 2. เจ้าหน้าที่ (ผู้จัด) 3. วิทยากร 4. ผู้เข้ารับการฝึกอบรม 5. ผู้สังเกตการณ์ ที่เป็นบุคลากรของรัฐ ให้เบิกต้นสังกัด (ผู้จัดร้องขอ) ค่าที่พักให้เบิกจ่ายตามอัตราที่ กค. กำหนด

  28. การคิดเบี้ยเลี้ยงในการฝึกอบรมการคิดเบี้ยเลี้ยงในการฝึกอบรม วันแรก วันที่สอง วันสุดท้าย เบี้ย เลี้ยง เบี้ยเลี้ยง เบี้ยเลี้ยง เลี้ยงอาหาร เลี้ยงอาหาร เลี้ยงอาหาร เบี้ยเลี้ยง เบี้ยเลี้ยง เบี้ย เลี้ยง 2/3 2/3 2/3 สิ้นสุดการอบรม เบี้ยเลี้ยง

  29. ค่าอาหาร ที่พัก ยานพาหนะ สำหรับบุคคลภายนอก • ถ้าผู้จัดไม่จัดอาหาร ที่พัก ยานพาหนะ ทั้งหมด • หรือจัดให้ บางส่วน ให้จ่ายค่าเบี้ยเลี้ยง ดังนี้ • ไม่จัดให้ทั้ง 3 มื้อ ให้จ่ายไม่เกิน 240 บาท • จัดให้ 2 มื้อ ให้จ่ายไม่เกิน 80 บาท • จัดให้ 1 มื้อ ให้จ่ายไม่เกิน 160 บาท • ที่พักให้เบิกเหมาจ่ายไม่เกิน 500 บาท • ค่าพาหนะจ่ายได้ตามสิทธิ ขรก.ประเภททั่วไประดับ • (1-4) (ปรับปรุงฉบับที่ 3) หลักฐานการจ่ายใช้แบบใบสำคัญรับเงินสำหรับบุคคลภายนอก ที่ กค.กำหนด

  30. การพิจารณาผู้เข้ารับการฝึกอบรมการพิจารณาผู้เข้ารับการฝึกอบรม การจัดฝึกอบรมและการเข้ารับการฝึกอบรม ให้พิจารณาอนุมัติเฉพาะผู้ที่ปฏิบัติหน้าที่ที่ เกี่ยวข้องหรือเป็นประโยชน์ต่อส่วนราชการ ตามจำนวนที่เห็นสมควร โดยคำนึงถึง ความจำเป็น และเหมาะสมในการปฏิบัติงาน

  31. ค่าใช้จ่ายของผู้เข้ารับการฝึกอบรมค่าใช้จ่ายของผู้เข้ารับการฝึกอบรม ค่าลงทะเบียน เบิกได้เท่าที่จ่ายจริงตามที่ผู้จัดเรียกเก็บ ค่าเบี้ยเลี้ยง ที่พัก พาหนะ กรณีค่าลงทะเบียนรวมค่าอาหาร ที่พัก ยานพาหนะ ของผู้เข้าอบรมหรือผู้สังเกตการณ์ หรือผู้จัด จัดอาหาร ที่พัก ยานพาหนะทั้งหมดให้งดเบิก หากไม่จัดให้ หรือจัดให้บางส่วน ให้เบิกส่วนที่ขาดได้ที่ต้นสังกัด (ตามหลักเกณฑ์ ข้อ 18)

  32. ค่าเครื่องแต่งตัวในการเดินทางไปอบรมต่างประเทศค่าเครื่องแต่งตัวในการเดินทางไปอบรมต่างประเทศ เบิกได้เฉพาะผู้เข้ารับการฝึกอบรมที่เป็น บุคลากรของรัฐ/เจ้าหน้าที่ ไม่ต่ำกว่า 2ปี/ครั้ง

  33. กรณีผู้เข้าฝึกอบรมเดินทางไปฝึกอบรมต่างประเทศ โดยได้รับความช่วยเหลือ ให้เบิกค่าใช้จ่ายสมทบ ไม่เกินวงเงินที่ได้รับความช่วยเหลือ ดังนี้ • ค่าเครื่องบิน • ได้รับไป – กลับ : งดเบิก • เที่ยวเดียว : เบิกได้อีกหนึ่งเที่ยวชั้นเดียวกัน ไม่สูงกว่าสิทธิ • ค่าที่พัก • จัดให้ : งดเบิก • ต่ำกว่าสิทธิ : เบิกเพิ่มส่วนที่ขาด ไม่เกินสิทธิ

  34. ผู้จัดฝึกอบรมต้องประเมินผลการผู้จัดฝึกอบรมต้องประเมินผลการ ฝึกอบรม และรายงานต่อ หน.ส่วน ราชการผู้จัดภายใน 60 วัน นับแต่ สิ้นสุดการฝึกอบรม สำหรับผู้เข้ารับการอบรมหรือผู้สังเกต การณ์ ต้องจัดทำรายงานผลการเข้ารับ การฝึกอบรมเสนอหน.ส่วนราชการภาย ใน 60 วัน นับแต่วันเดินทางกลับถึง สถานที่ปฏิบัติราชการ

  35. การเบิกค่าใช้จ่ายในการจ้างการเบิกค่าใช้จ่ายในการจ้าง จัดฝึกอบรมของส่วนราชการ การจ้างจัดฝึกอบรม ดำเนินการได้ตามหลักเกณฑ์และอัตราค่าใช้จ่ายตามระเบียบนี้ โดยให้ใช้ใบเสร็จของผู้รับจ้าง

  36. ค่าเบี้ยเลี้ยง • ได้รับต่ำกว่าสิทธิ : เบิกสมทบได้ไม่เกินสิทธิ • มีการจัดเลี้ยง ระหว่างฝึกอบรม เบี้ยเลี้ยง • คิดเหมือนอบรมในประเทศ • ค่าเครื่องแต่งตัว • ต่ำกว่าสิทธิ : เบิกเพิ่มส่วนที่ขาดไม่เกินสิทธิ

  37. ค่าใช้จ่ายในการจัดงานค่าใช้จ่ายในการจัดงาน

  38. ค่าใช้จ่ายในการจัดงานค่าใช้จ่ายในการจัดงาน • เป็นค่าใช้จ่ายจัดงานตามแผนงานโครงการตาม • ภารกิจปกติ หรือตามนโยบายทางราชการ ให้ • หน.ส่วนราชการพิจารณาอนุมัติการเบิกค่าใช้จ่าย • ในการจัดงานได้เท่าที่จ่ายจริงตาม • ความจำเป็น เหมาะสมและ ประหยัด

  39. ค่าใช้จ่ายในการจัดงานค่าใช้จ่ายในการจัดงาน • กรณีที่ส่วนราชการที่จัดงาน จัดอาหาร ที่พัก ยานพาหนะ • ให้ประธานพิธีเปิด แขกผู้มีเกียรติ ผู้ติดตาม เจ้าหน้าที่หรือ • ผู้เข้าร่วมงาน ให้อาหาร ที่พัก ยานพาหนะ ตามอัตรา • ฝึกอบรมที่ กค.กำหนด (ตามหลักเกณฑ์ฝึกอบรม • ข้อ 16 ข้อ 17) • กรณีไม่จัดอาหาร ที่พัก ยานพาหนะ ให้ถือปฏิบัติตาม • ค่าใช้จ่ายฝึกอบรม ข้อ 18 (ออกให้หมด/บางส่วน สำหรับ • บุคคล (1)(2)(3) ผู้จัดงานจ่ายให้ สำหรับ (4)(5) ที่เป็น • บุคลากรของรัฐเบิกต้นสังกัด )

  40. กรณีจ้างจัดงาน ให้ดำเนินการได้ตามหลักเกณฑ์และอัตราค่าใช่จ่าย ตามระเบียบนี้ (ข้อ 22) วิธีการจัดจ้างทำตามระเบียบพัสดุ ใช้ใบเสร็จรับเงินของผู้รับจ้างเป็นหลักฐานการจ่าย

  41. ค่าใช้จ่ายในการประชุมค่าใช้จ่ายในการประชุม ระหว่างประเทศ

  42. ค่าใช้จ่ายในการประชุมระหว่างประเทศค่าใช้จ่ายในการประชุมระหว่างประเทศ ค่าใช้จ่ายจัดประชุมระหว่างประเทศ ให้เบิกจ่ายได้ เท่าที่จ่ายจริงตามความจำเป็น เหมาะสม และ ประหยัด ค่าสมนาคุณวิทยากร เงินรางวัล จนท. ค่าอาหาร ที่พัก พาหนะ ตามอัตราที่กำหนดในระเบียบนี้

  43. ค่าใช้จ่ายในการประชุมระหว่างประเทศค่าใช้จ่ายในการประชุมระหว่างประเทศ จนท. ผู้ปฏิบัติงานในการประชุมระหว่างประเทศ ให้ได้รับเงินรางวัลเฉพาะวันที่ปฏิบัติงานคนละไม่ เกิน 200 บาท/วัน จนท. ผู้ปฏิบัติงานลักษณะพิเศษให้เบิกจ่ายค่า ตอบแทนเฉพาะวันที่ปฏิบัติงาน ตามหลักเกณฑ์ และอัตราที่ หน.ส่วนราชการกำหนด

  44. ค่าใช้จ่ายในการประชุมระหว่างประเทศค่าใช้จ่ายในการประชุมระหว่างประเทศ ค่าลงทะเบียน ค่าธรรมเนียม ตามอัตราที่ผู้จัด การประชุมระหว่างประเทศเรียกเก็บ กรณีค่าลงทะเบียนไม่รวมค่าอาหาร ที่พัก และยานพาหนะ หรือรวมบางส่วน ให้ผู้เข้าอบรม เบิกจากส่วนราชการต้นสังกัด

  45. ค่าใช้จ่าย ก่อน ระหว่าง และหลังการจัดประชุมฯ เบิกได้เท่าที่จ่ายจริงตามความจำเป็น เหมาะสมและประหยัด ยกเว้น - ค่าสมนาคุณวิทยากร - เงินรางวัลของเจ้าหน้าที่ - ค่าอาหาร - ค่าเช่าที่พัก - ค่าพาหนะ เบิกจ่ายตามหลักเกณฑ์และอัตราที่กำหนด

  46. ค่าอาหาร ค่าที่พัก ค่ายานพาหนะ ผู้จัดประชุม เบิกได้เท่าที่จ่ายจริง ไม่เกินอัตราที่กำหนด ดังนี้ ผู้เข้าร่วมประชุมเป็นบุคคลระดับรัฐมนตรี หรือสมาชิกรัฐสภา ขึ้นไป อยู่ในดุลพินิจของหัวหน้าส่วนราชการเจ้าของงบประมาณ บุคคลภายนอก นอกเหนือที่กล่าว - ค่าอาหารและเครื่องดื่ม ครบทุกมื้อ ไม่เกิน 1,200 บาท - ไม่ครบทุกมื้อ ไม่เกิน 800 บาท - ค่าที่พัก ไม่เกิน 2,000 บาท - ค่าพาหนะเท่าที่จ่ายจริงและอยู่ในดุลยพินิจของหน.ส่วน

  47. ค่าสมนาคุณวิทยากร ใช้หลักเกณฑ์ ของการฝึกอบรม ส่วนอัตราให้อยู่ ในดุลพินิจของหัวหน้าส่วนราชการตามความจำเป็นและเหมาะสม

  48. ค่าใช้จ่ายที่ผู้จัดการประชุมเรียกเก็บเป็นค่าใช้จ่ายที่ผู้จัดการประชุมเรียกเก็บเป็น • - ค่าลงทะเบียน • - ค่าธรรมเนียม • ค่าใช้จ่ายทำนองเดียวกันให้เบิกจ่ายเท่าที่ • จ่ายจริง กรณีค่าใช้จ่ายดังกล่าวได้รวมค่าอาหาร ค่าเช่าที่พัก หรือค่าพาหนะของผู้เข้าร่วมประชุมไว้ทั้งหมด หรือส่วนราชการผู้จัดการประชุมออก ค่าใช้จ่ายให้ทั้งหมด ให้ผู้เข้าร่วมประชุมงดเบิกค่าใช้จ่าย

  49. กรณีไม่ได้รวมค่าอาหาร ค่าเช่าที่พัก หรือค่าพาหนะฯ หรือส่วนราชการ ผู้จัดการประชุมไม่ออกค่าใช้จ่ายให้ทั้งหมดหรือบางส่วน ให้ผู้เข้าร่วมประชุมเบิกค่าใช้จ่ายทั้งหมดหรือเฉพาะส่วนที่ขาดหรือส่วนที่มิได้ออกให้จาก ส่วนราชการต้นสังกัด กรณีส่วนราชการผู้จัดการประชุมได้รับความช่วยเหลือค่าใช้จ่ายจากที่อื่นให้เบิกจ่ายค่าใช้จ่ายสมทบ ได้เฉพาะส่วนที่ขาด

  50. กรณีส่วนราชการผู้จัดการประชุมได้รับความช่วยเหลือค่าใช้จ่ายจากที่อื่นให้เบิกจ่ายค่าใช้จ่ายสมทบ ได้เฉพาะส่วนที่ขาด การจ้างจัดการประชุมฯ ให้อยู่ในดุลพินิจของหัวหน้าส่วนราชการเจ้าของงบประมาณ และให้ใช้ ใบเสร็จของผู้รับจ้างเป็นหลักฐานการเบิกจ่าย

More Related