1 / 130

นโยบาย และทิศทางการพัฒนาประเทศไทยและการพัฒนาภาค

นโยบาย และทิศทางการพัฒนาประเทศไทยและการพัฒนาภาค. โดย สมหมาย ภักดีชาติ สำนักพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมภาคกลาง สำนักงานคณะกรรมการพัฒนาการเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ วันที่ 27 กรกฎาคม 2552 ณ จังหวัดชลบุรี. ประเด็นการนำเสนอ. แผนฟื้นฟูเศรษฐกิจ แผนฯ 10 กรอบยุทธศาสตร์การพัฒนาภาคกลาง. ๑.

nasia
Télécharger la présentation

นโยบาย และทิศทางการพัฒนาประเทศไทยและการพัฒนาภาค

An Image/Link below is provided (as is) to download presentation Download Policy: Content on the Website is provided to you AS IS for your information and personal use and may not be sold / licensed / shared on other websites without getting consent from its author. Content is provided to you AS IS for your information and personal use only. Download presentation by click this link. While downloading, if for some reason you are not able to download a presentation, the publisher may have deleted the file from their server. During download, if you can't get a presentation, the file might be deleted by the publisher.

E N D

Presentation Transcript


  1. นโยบาย และทิศทางการพัฒนาประเทศไทยและการพัฒนาภาค โดย สมหมาย ภักดีชาติ สำนักพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมภาคกลาง สำนักงานคณะกรรมการพัฒนาการเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ วันที่ 27 กรกฎาคม 2552 ณ จังหวัดชลบุรี

  2. ประเด็นการนำเสนอ แผนฟื้นฟูเศรษฐกิจ แผนฯ 10 กรอบยุทธศาสตร์การพัฒนาภาคกลาง ๑ คำอธิบายโครงร่างของแผนพัฒนา จังหวัด/กลุ่มจังหวัด ๒ แนวคิดในการทบทวนแผนพัฒนาจังหวัดชลบุรี ๓

  3. พระราชกฤษฎีกาว่าด้วยการบริหารงานจังหวัดและกลุ่มจังหวัดแบบบูรณาการ พ.ศ. 2551 ได้รับการประกาศในราชกิจจานุเบกษา เล่ม 125 ตอนที่ 137 ก เมื่อวันที่ 30 ธันวาคม 2551 3

  4. พระราชกฤษฎีกาว่าด้วยการบริหารงานจังหวัดพระราชกฤษฎีกาว่าด้วยการบริหารงานจังหวัด และกลุ่มจังหวัดแบบบูรณาการ พ.ศ. 2551

  5. หนังสือเวียน ก.น.จ. 5 5

  6. การอนุมัติ การวางแผน ครม. กนจ. กนจ. กำหนดนโยบาย หลักเกณฑ์ และวิธีการจัดทำแผน อนุ กนจ. ด้านแผนและ ด้านงบประมาณ (5 คณะ) ก.บ.จ. ก.บ.ก. • จัดทำแผนพัฒนาจังหวัด และแผนพัฒนากลุ่มจังหวัด • แผนปฏิบัติราชการประจำปีของจังหวัด/กลุ่มจังหวัด ซึ่งถือเป็นคำของบประมาณ

  7. การจัดทำแผนพัฒนาจังหวัด/กลุ่มจังหวัดการจัดทำแผนพัฒนาจังหวัด/กลุ่มจังหวัด พิจารณา แปลงแนว ทางพัฒนาเศรษฐกิจและสังคม ในระดับ ประเทศสู่แผน พัฒนาจังหวัด กบจ. สำรวจความคิดเห็นของประชาชน จัดทำร่างแผน พัฒนาจังหวัด

  8. การจัดทำแผนพัฒนาจังหวัด/กลุ่มจังหวัดการจัดทำแผนพัฒนาจังหวัด/กลุ่มจังหวัด นำ นโยบายของรัฐบาลโดยเฉพาะนโยบายเร่งด่วนตามแผนฟื้นฟูเศรษฐกิจของรัฐบาลเพื่อกระตุ้นเศรษฐกิจ สร้างโอกาสและเพิ่มรายได้ และลดภาระค่าครองชีพของประชาชน รวมทั้ง แผนพัฒนาการเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติและ กรอบยุทธศาสตร์การพัฒนาภาค มาใช้เป็นแนวทางการจัดทำ พิจารณา แปลงแนว ทางพัฒนาเศรษฐกิจและสังคม ในระดับ ประเทศสู่การปฏิบัติ กบจ. สำรวจความคิดเห็นของประชาชน จัดทำแผน พัฒนาจังหวัด

  9. แผนฟื้นฟูเศรษฐกิจ ระยะที่ 2 (2553-2555) การกระจายน้ำ พัฒนาแหล่งน้ำขนาดเล็ก บริการสาธารณะขั้นพื้นฐาน พัฒนาจังหวัดชายแดนภาคใต้ ยกระดับคุณภาพการศึกษาและการเรียนรู้ ปฏิรูปคุณภาพระบบสาธารณสุข เพิ่มรายได้จากการท่องเที่ยว เศรษฐกิจเชิงสร้างสรรค์

  10. แผนฟื้นฟูเศรษฐกิจ ระยะที่ 2 (2553-2555) การกระจายน้ำ พัฒนาแหล่งน้ำขนาดเล็ก บริการสาธารณะขั้นพื้นฐาน พัฒนาจังหวัดชายแดนภาคใต้ • การปรับปรุงและฟื้นฟูแหล่งน้ำ • 2) การบำรุงรักษาและเพิ่มประสิทธิภาพโครงการชลประทานเดิม • 3) การจัดหาแหล่งน้ำและเพิ่มพื้นที่ชลประทาน • 4) การป้องกันและบรรเทาอุทกภัย • 5) การปรับปรุงและกระจายพันธุ์ • 6) การพัฒนารูปแบบ เทคโนโลยีการผลิต และมาตรฐานสินค้าเกษตร • 7) การศึกษาและพัฒนาประสิทธิภาพการผลิต ยกระดับคุณภาพการศึกษาและการเรียนรู้ ปฏิรูปคุณภาพระบบสาธารณสุข เพิ่มรายได้จากการท่องเที่ยว เศรษฐกิจเชิงสร้างสรรค์

  11. แผนฟื้นฟูเศรษฐกิจ ระยะที่ 2 (2553-2555) 1) พัฒนาระบบคมนาคมขนส่งและโลจิสติกส์ให้ทันสมัยในระดับสากล 2) สร้างความมั่นคงด้านพลังงานและพัฒนาพลังงานทดแทน 3) ยกระดับการให้บริการโครงข่ายโทรคมนาคมให้ทันสมัย 4) พัฒนาโครงสร้างพื้นฐานเพื่อสนับสนุนการท่องเที่ยว 5)พัฒนาโครงสร้างพื้นฐานการศึกษา 6) พัฒนาโครงสร้างพื้นฐานด้านสาธารณสุข 7) แผนงานพัฒนาโครงสร้างพื้นฐานด้านการดูแลสวัสดิภาพของประชาชน 8)พัฒนาโครงสร้างพื้นฐานด้านวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี 9) พัฒนาโครงสร้างพื้นฐานด้านทรัพยากรธรรมชาติ และสิ่งแวดล้อม การกระจายน้ำ พัฒนาแหล่งน้ำขนาดเล็ก บริการสาธารณะขั้นพื้นฐาน พัฒนาจังหวัดชายแดนภาคใต้ ยกระดับคุณภาพการศึกษาและการเรียนรู้ ปฏิรูปคุณภาพระบบสาธารณสุข เพิ่มรายได้จากการท่องเที่ยว เศรษฐกิจเชิงสร้างสรรค์

  12. แผนฟื้นฟูเศรษฐกิจ ระยะที่ 2 (2553-2555) การกระจายน้ำ พัฒนาแหล่งน้ำขนาดเล็ก ส่งเสริมตลาดท่องเที่ยว ควบคู่กับการลงทุนพัฒนาแหล่งท่องเที่ยวใหม่ที่มีศักยภาพ และการฟื้นฟูแหล่งท่องเที่ยวที่เสื่อมโทรม เช่น ชายฝั่งทะเลอ่าวไทย การส่งเสริมความเป็นศูนย์กลางการท่องเที่ยวเชิงสุขภาพ และการติดตั้งอุปกรณ์ให้แสงสว่างสถานที่สำคัญ ริมสองฝั่งแม่น้ำเจ้าพระยา เป็นต้น บริการสาธารณะขั้นพื้นฐาน พัฒนาจังหวัดชายแดนภาคใต้ ยกระดับคุณภาพการศึกษาและการเรียนรู้ ปฏิรูปคุณภาพระบบสาธารณสุข เพิ่มรายได้จากการท่องเที่ยว เศรษฐกิจเชิงสร้างสรรค์

  13. แผนฟื้นฟูเศรษฐกิจ ระยะที่ 2 (2553-2555) • มรดกทางวัฒนธรรมและภูมิปัญญา • (2) การส่งเสริมเอกลักษณ์ศิลปะและวัฒนธรรม • (3) การส่งเสริมงานช่างฝีมือ • (4) การพัฒนาสินค้าเชิงสร้างสรรค์ • (5) การส่งเสริมอุตสาหกรรมสื่อและซอฟท์แวร์ • (6) การส่งเสริมการออกแบบ และการวิจัยและพัฒนาที่จะช่วยในการเชื่อมโยงมรดกและทุนของสังคมไทยไปสู่ความเป็นสมัยใหม่ และการพัฒนาเศรษฐกิจที่ยั่งยืน และเป็นมิตรกับสิ่งแวดล้อม การกระจายน้ำ พัฒนาแหล่งน้ำขนาดเล็ก บริการสาธารณะขั้นพื้นฐาน พัฒนาจังหวัดชายแดนภาคใต้ ยกระดับคุณภาพการศึกษาและการเรียนรู้ ปฏิรูปคุณภาพระบบสาธารณสุข เพิ่มรายได้จากการท่องเที่ยว เศรษฐกิจเชิงสร้างสรรค์

  14. แผนฟื้นฟูเศรษฐกิจ ระยะที่ 2 (2553-2555) การกระจายน้ำ พัฒนาแหล่งน้ำขนาดเล็ก บริการสาธารณะขั้นพื้นฐาน พัฒนาจังหวัดชายแดนภาคใต้ ยกระดับคุณภาพการศึกษาและการเรียนรู้ ให้คนไทยทุกกลุ่ม ทุกวัยได้รับการศึกษาที่มีคุณภาพ มาตรฐาน มีการเรียนรู้ทันต่อการเปลี่ยนแปลงตั้งแต่ระดับปฐมวัยจนตลอดชีวิต มีการผลิตกำลังคนระดับกลางและระดับสูงที่มีสมรรถนะสอดคล้องและตรงกับความต้องการของภาคการผลิตและบริการ และเพิ่มขีดความสามารถของกำลังคนด้านวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีให้สูงขึ้น และยกระดับมหาวิทยาลัยวิจัยของไทยให้อยู่ใน 200 อันดับแรกของโลก ปฏิรูปคุณภาพระบบสาธารณสุข เพิ่มรายได้จากการท่องเที่ยว เศรษฐกิจเชิงสร้างสรรค์

  15. แผนฟื้นฟูเศรษฐกิจ ระยะที่ 2 (2553-2555) การกระจายน้ำ พัฒนาแหล่งน้ำขนาดเล็ก บริการสาธารณะขั้นพื้นฐาน พัฒนาจังหวัดชายแดนภาคใต้ ผลิตและพัฒนาบุคลากรทางการแพทย์และสาธารณสุขเพื่อสนับสนุนการเป็นศูนย์กลางการรักษาพยาบาลในภูมิภาค ยกระดับคุณภาพการศึกษาและการเรียนรู้ ปฏิรูปคุณภาพระบบสาธารณสุข เพิ่มรายได้จากการท่องเที่ยว เศรษฐกิจเชิงสร้างสรรค์

  16. แผนฟื้นฟูเศรษฐกิจ ระยะที่ 2 (2553-2555) การกระจายน้ำ พัฒนาแหล่งน้ำขนาดเล็ก บริการสาธารณะขั้นพื้นฐาน พัฒนาจังหวัดชายแดนภาคใต้ ยกระดับรายได้และคุณภาพชีวิตในระดับชุมชนและพัฒนาจังหวัดชายแดนภาคใต้ ยกระดับคุณภาพการศึกษาและการเรียนรู้ ปฏิรูปคุณภาพระบบสาธารณสุข เพิ่มรายได้จากการท่องเที่ยว เศรษฐกิจเชิงสร้างสรรค์

  17. แผนฯ 10 ยุทธศาสตร์ การพัฒนา สร้างความเข้มแข็งของชุมชนและสังคมเป็นรากฐานที่มั่นคงของประเทศ พัฒนาคุณภาพคนและสังคมไทยสู่สังคมแห่งภูมิปัญญา และการเรียนรู้ 5 เสริมสร้างธรรมาภิบาลในการบริหารจัดการประเทศ ปรับโครงสร้างเศรษฐกิจให้สมดุลยั่งยืน พัฒนาบนฐานความหลากหลายทางชีวภาพและสร้างความมั่นคงของฐานทรัพยากรและสิ่งแวดล้อม

  18. ภาคกลาง

  19. ยุทธศาสตร์การพัฒนาภาคกลางยุทธศาสตร์การพัฒนาภาคกลาง ๕ ยุทธศาสตร์ พัฒนาฐานเศรษฐกิจหลักของประเทศให้มีการพัฒนาอย่างต่อเนื่อง ๑ พัฒนาศักยภาพคน สังคม และชุมชนให้มีคุณภาพ มีธรรมาภิบาล ๒ อนุรักษ์ ฟื้นฟู และพัฒนาทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อมให้มีความสมดุลต่อระบบนิเวศ ๓ เสริมสร้างศักยภาพการพัฒนาเมืองและพื้นที่ชายแดนตามแนวเส้นทางเชื่อมโยงทางเศรษฐกิจกับประเทศเพื่อบ้านทั้งแนวเหนือ-ใต้ และตะวันออก-ตะวันตก ๔ บริหารจัดการพัฒนาพื้นที่เมืองและชนบทอย่างมีส่วนร่วมและเกื้อกูลกัน ๕

  20. 1. พัฒนาฐานเศรษฐกิจหลักของประเทศให้มีการพัฒนาอย่างต่อเนื่อง มุกดาหาร-สะหวันนะเขต ท่องเที่ยวประวัติศาสตร์ ชัยนาท ข้าว ลพบุรี ท่องเที่ยวเชิงนิเวศ สิงห์บุรี ไปอุบลราชธานี ก่อสร้าง ICD อ่างทอง สระบุรี สุพรรณบุรี ท่องเที่ยวประวัติศาสตร์ อยุธยา นครนายก ผัก ทวาย กาญจนบุรี ปราจีนบุรี ปทุมธานี นนทบุรี สระแก้ว สุกร กรุงเทพฯ ไก่ นครปฐม ฉะเชิงเทรา สมุทรปราการ ปอยเปต สมุทรสาคร ราชบุรี สมุทรสงคราม ชลบุรี กัมพูชา ท่องเที่ยวทางทะเล แหลมฉบัง เพชรบุรี ผลไม้ ผลไม้ ท่องเที่ยวเชิงเกษตร ระยอง จันทบุรี พม่า ยางพารา มาบตาพุด ตราด ท่องเที่ยวทางทะเล ตราด-เกาะกง-ฮาเตียน ประจวบคีรีขันธ์ อ่าวไทย บางสะพาน ไปสงขลา เอเชียตะวันออก พัฒนารวมกลุ่มอุตฯในพื้นที่ชายฝั่งทะเลตะวันออก กระจายตัวของอุตฯจากกรุงเทพฯและปริมณฑล รักษาพื้นที่เกษตรในเขตชลประทานภาคกลางตอนบน และตอนล่าง

  21. ยุทธศาสตร์การพัฒนาภาคกลาง(ต่อ)ยุทธศาสตร์การพัฒนาภาคกลาง(ต่อ) 2. พัฒนาศักยภาพคน สังคม และชุมชนให้มีคุณภาพ มีธรรมาภิบาล มุกดาหาร-สะหวันนะเขต ลพบุรี ชัยนาท สิงห์บุรี ไปอุบลราชธานี อ่างทอง สระบุรี สุพรรณบุรี อยุธยา นครนายก ทวาย กาญจนบุรี ปราจีนบุรี ปทุมธานี นนทบุรี สระแก้ว กรุงเทพฯ นครปฐม ฉะเชิงเทรา สมุทรปราการ ปอยเปต สมุทรสาคร ราชบุรี สมุทรสงคราม ชลบุรี กัมพูชา แหลมฉบัง เพชรบุรี ระยอง จันทบุรี พม่า มาบตาพุด ตราด ตราด-เกาะกง-ฮาเตียน ประจวบคีรีขันธ์ อ่าวไทย บางสะพาน สนับสนุนการศึกษา ไปสงขลา เอเชียตะวันออก สนับสนุนประชากรให้มีโอกาสเรียนต่อในระดับอาชีวะมากขึ้น อบรมพัฒนาทักษะฝีมือแรงงานทั้งก่อนและหลังเข้าทำงานในพื้นที่ เพิ่มศักยภาพการดูแลความปลอดภัย และให้ประชาชนมีส่วนร่วมในการดูแลพื้นที่ของตนเอง

  22. 3.อนุรักษ์ ฟื้นฟู และพัฒนาทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อมให้มีความสมดุลต่อระบบนิเวศ บริหารจัดการพื้นที่ชายฝั่งทะเลตะวันออก ควบคุมการกัดเซาะชายฝั่ง ฟื้นฟูคุณภาพน้ำ(เจ้าพระยา-ท่าจีน) อนุรักษ์ ฟื้นฟูพื้นที่ป่า อนุรักษ์ ฟื้นฟูป่าชายเลน เตรียมการรองรับการแก้ปัญหาน้ำท่วม เตรียมการแก้ปัญหาภัยแล้ง เตรียมการแก้ปัญหาดินถล่ม

  23. ยุทธศาสตร์การพัฒนาภาคกลาง(ต่อ)ยุทธศาสตร์การพัฒนาภาคกลาง(ต่อ) ยุทธศาสตร์การพัฒนาภาคกลาง(ต่อ) ยุทธศาสตร์การพัฒนาภาคกลาง(ต่อ) 4. เสริมสร้างศักยภาพการพัฒนาเมืองและพื้นที่ชายแดนตามแนวเส้นทางเศรษฐกิจกับประเทศเพื่อนบ้านทั้งแนวเหนือ-ใต้ และตะวันออก-ตะวันตก มุกดาหาร-สะหวันนะเขต ด่านเจดีย์สามองค์ ชัยนาท ลพบุรี บ้านอิต่อง สิงห์บุรี ไปอุบลราชธานี อ่างทอง สระบุรี สุพรรณบุรี บ่องตี้ อยุธยา นครนายก ทวาย กาญจนบุรี ปราจีนบุรี ปทุมธานี นนทบุรี สระแก้ว คลองลึก กรุงเทพฯ นครปฐม ฉะเชิงเทรา สมุทรปราการ ปอยเปต สมุทรสาคร ราชบุรี สมุทรสงคราม ชลบุรี กัมพูชา บ้านแหลมบ้านผักกาด แหลมฉบัง เพชรบุรี ระยอง จันทบุรี พม่า มาบตาพุด ตราด สิงขร ตราด-เกาะกง-ฮาเตียน ประจวบคีรีขันธ์ บ้านหาดเล็ก อ่าวไทย บางสะพาน ไปสงขลา เอเชียตะวันออก พื้นที่เป้าหมายการพัฒนาการค้าชายแดน • กาญจนบุรี-ทวาย(พม่า) • บางสะพาน-บกเปี้ยน(พม่า) • สระแก้ว-ปอยเปต(กัมพูชา) • ตราด-เกาะกง(กัมพูชา) จุดผ่านแดนถาวร

  24. ยุทธศาสตร์การพัฒนาภาคกลาง(ต่อ)ยุทธศาสตร์การพัฒนาภาคกลาง(ต่อ) ยุทธศาสตร์การพัฒนาภาคกลาง(ต่อ) 5. บริหารจัดการพื้นที่เมืองและชนบทอย่างมีส่วนร่วมและเกื้อกูลกัน มุกดาหาร-สะหวันนะเขต ชัยนาท ลพบุรี สิงห์บุรี ไปอุบลราชธานี อ่างทอง สระบุรี สุพรรณบุรี อยุธยา นครนายก ทวาย กาญจนบุรี ปราจีนบุรี ปทุมธานี นนทบุรี สระแก้ว กรุงเทพฯ นครปฐม ฉะเชิงเทรา สมุทรปราการ ปอยเปต สมุทรสาคร ราชบุรี สมุทรสงคราม ชลบุรี กัมพูชา แหลมฉบัง เพชรบุรี ระยอง จันทบุรี พม่า มาบตาพุด ตราด ตราด-เกาะกง-ฮาเตียน ประจวบคีรีขันธ์ อ่าวไทย บางสะพาน ไปสงขลา เอเชียตะวันออก จัดทำแผนแม่บทและแผนบริหารจัดการเมืองที่มีการขยายตัวอุตสาหกรรม ส่งเสริมการบริหารจัดการและพัฒนาพื้นที่อย่างมีส่วนร่วมในพื้นที่ชานเมือง พื้นที่มีปัญหามลภาวะ พื้นที่เสี่ยงภัยน้ำท่วม พัฒนากลไกการขับเคลื่อนการพัฒนา แก้ไขความขัดแย้งการใช้น้ำ(ชลบุรี ระยอง)

  25. พิจารณากลั่นกรองและให้ความเห็นชอบพิจารณากลั่นกรองและให้ความเห็นชอบ ผู้ว่าฯ จัดประชุมหารือและรับฟังความคิดเห็น กบจ. ปรับปรุงแผนพัฒนาจังหวัด ครม. พิจารณา กนจ.

  26. จัดทำแผนปฏิบัติราชการจังหวัด/กลุ่มจังหวัดจัดทำแผนปฏิบัติราชการจังหวัด/กลุ่มจังหวัด แผนพัฒนาจังหวัด/กลุ่มจังหวัด กบจ./กบก. แผนปฏิบัติราชการจังหวัด /กลุ่มจังหวัด ประจำปี

  27. แผนพัฒนาจังหวัด เป็นแผนที่มุ่งการพัฒนาจังหวัด แบบองค์รวมที่ครอบคลุมทุกมิติ ในด้านเศรษฐกิจ สังคม ทรัพยากร ธรรมชาติ สิ่งแวดล้อมและความมั่นคง เพื่อพัฒนาคุณภาพชีวิต และตอบสนองต่อความต้องการของประชาชนในจังหวัด

  28. แผนพัฒนากลุ่มจังหวัด เป็นแผนที่มุ่งเน้นการพัฒนาด้านเศรษฐกิจ และสังคม เพื่อเพิ่มขีดความสามารถ ในการแข่งขันของกลุ่มจังหวัด และนำไปสู่ การกระตุ้นให้เกิดการลงทุนของภาคเอกชน และสร้างรายได้ให้กลุ่มจังหวัด

  29. มติ ครม. 28-4-2552 ให้จังหวัดและกลุ่มจังหวัดทบทวนแผนพัฒนาจังหวัดและแผนพัฒนากลุ่มจังหวัดก่อนที่จะเริ่มต้นจัดทำแผนปฏิบัติราชการประจำปีของจังหวัดและแผนปฏิบัติราชการประจำปีของกลุ่มจังหวัด ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2554 เพื่อปรับปรุงแผนให้มีความสมบูรณ์ มีคุณภาพ และสอดคล้องกับศักยภาพและทิศทางการพัฒนาในอนาคตและความต้องการของประชาชน โดยให้รับความเห็นและข้อสังเกตของคณะอนุกรรมการนโยบายการบริหารงานจังหวัดและกลุ่มจังหวัดแบบบูรณาการ (อ.ก.น.จ.) ด้านแผนและด้านงบประมาณทั้ง 5 คณะ ไปเป็นแนวทางในการทบทวนปรับปรุงแผนต่อไป

  30. ความเห็นของอนุ กนจ. วิสัยทัศน์ค่อนข้างกว้างและสั้น ทำให้การกำหนดประเด็นยุทธศาสตร์ที่มีความเชื่อมโยง ในเชิงตรรกะ (Logic) ระหว่างการวิเคราะห์ SWOT กับวิสัยทัศน์ไม่มีทิศทางและแนวทางที่ชัดเจน ส่งผลต่อเนื่องไปยังการกำหนดเป้าประสงค์และตัวชี้วัดที่ไม่สามารถที่จะเป็นตัวแทนในการสื่อถึงสิ่งที่ต้องการจะบรรลุได้

  31. วิสัยทัศน์ของชลบุรี “ชลบุรีน่าอยู่ คู่เศรษฐกิจชั้นนำ” • ประเด็นยุทธศาสตร์ • พัฒนาคนให้มีความรู้คู่คุณธรรมสร้างสังคมแห่งการเรียนรู้ • น้อมนำเศรษฐกิจพอเพียงมาใช้ในการดำเนินชีวิต • 2 ส่งเสริมระบบสวัสดิการสังคมให้รองรับการเปลี่ยนแปลง • พัฒนาสังคมให้เกิดความสงบเรียบร้อยปลอดภัย มั่นคงพร้อม • เผชิญการ • บริหารจัดการระบบนิเวศน์ทรัพยากรธรรมชาติ สิ่งแวดล้อม • และผังเมืองให้เกิดความสมดุล • ส่งเสริมและพัฒนาศักยภาพด้านการท่องเที่ยว เกษตรกรรม • พาณิชยกรรม อุตสาหกรรมอย่างมีดุลยภาพ • และแหล่งน้ำเพื่อรองรับการขยายตัวทางเศรษฐกิจและสังคม • 7 บริหารจัดการภาครัฐให้เกิดการบูรณาการอย่างมีประสิทธิภาพรวดเร็วและทันสมัยภายใต้ธรรมาภิบาล

  32. คำอธิบายโครงร่างของแผนพัฒนาจังหวัด/กลุ่มจังหวัดคำอธิบายโครงร่างของแผนพัฒนาจังหวัด/กลุ่มจังหวัด

  33. แผนพัฒนาจังหวัด/กลุ่มจังหวัดประกอบด้วยแผนพัฒนาจังหวัด/กลุ่มจังหวัดประกอบด้วย สภาพทั่วไปของจังหวัด การวิเคราะห์ศักยภาพด้านเศรษฐกิจ สังคม ทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อมจังหวัด ยุทธศาสตร์การพัฒนาจังหวัด (วิสัยทัศน์ ประเด็นยุทธศาสตร์ เป้าประสงค์ ตัวชี้วัดและค่าเป้าหมาย กลยุทธ์) บัญชีรายชื่อ/โครงการ

  34. เป็นข้อเท็จจริง มีข้อมูลสนับสนุน ไม่ใช่ความคิดเห็น แสดงถึงลักษณะเฉพาะตัว ทั้งในแง่จุดอ่อนและจุดแข็ง ซึ่งสามารถเป็นพื้นฐานประเด็นในการพัฒนา SWOT คำนึงถึงสภาวะแวดล้อมที่เปลี่ยนไป มีความสมดุลระหว่างการวิเคราะห์ภายนอกและการวิเคราะห์ภายใน

  35. จุดอ่อน (Weaknesses) - สิ่งที่จะต้องมีการพัฒนา หรือแก้ไข ปรับปรุง จุดแข็ง (Strengths) - สิ่งที่มีความโดดเด่น การวิเคราะห์ (SWOT Analysis) • โอกาส (Opportunities) • การเปลี่ยนแปลง • ของปัจจัยภายนอก • ที่ส่งผลกระทบในทางบวก ภัยคุกคาม (Threats) - การเปลี่ยนแปลงของปัจจัยภายนอกที่ส่งผลกระทบในทางลบ

  36. การวิเคราะห์ (SWOT Analysis) “รู้เขา รู้เรา รบร้อยครั้ง ชนะร้อยครั้ง”

  37. การพิจารณาเปรียบเทียบ ๗ ประการ • - ผู้นำประเทศฝ่ายใดกำจิตใจคนในชาติมากกว่ากัน • - แม่ทัพนายกองฝ่ายใดมีความสามารถมากกว่ากัน • - เงื่อนไขทางภูมิศาสตร์ฝ่ายใดได้เปรียบ • - ฝ่ายใดรักษากฎ ระเบียบ วินัย เคร่งครัด กว่ากัน • - กองทัพฝ่ายใดเข้มแข็งกว่ากัน • - ทหารหาญฝ่ายใดได้รับการฝึกมามากกว่ากัน • การให้รางวัล และการลงโทษ ฝ่ายใดมีความยุติธรรมกว่ากัน • จากที่กล่าวมา แม้ยังมิได้รบก็รู้แพ้ชนะกระจ่างแจ้งแล้ว

  38. กุยแกวิเคราะห์เปรียบเทียบโจโฉและอ้วนเสี้ยว มีลักษณะผิดกัน 10ประการ 1. อ้วนเสี้ยวเป็นคนเจ้ายศเจ้าอย่าง ถือว่าตนดีคนเดียว ส่วนท่านนั้นมิได้ถือตัว ใจคอกว้างขวาง มิได้ดูหมิ่นเหยียดหยามใคร 2. อ้วนเสี้ยวเป็นคนเจ้าอารมณ์ เอาแต่ได้ฝ่ายเดียว ส่วนท่านนั้น โอบอ้อมอารีต่อคนทั่วไป จะทำการสิ่งใดก็ฟังเสียงคนทั้งปวงเป็นใหญ่ จึงมีผู้นิยมนับถือท่านมาก 3. อ้วนเสี้ยวบริหารบ้านเมืองย่อหย่อนต่อบทกฎหมาย ส่วนท่านนั้นบริหารบ้านเมืองอย่างเข้มแข็งเด็ดขาด ถือตัวบทกฎหมาย กิจการต่าง ๆ เรียบร้อย ประชาชนมีความเคารพศรัทธาท่านอย่างยิ่ง

  39. อ้วนเสี้ยวเป็นคนปากปราศรัย น้ำใจเชือดคอ เห็นแก่ญาติมิตรของตัวเป็นใหญ่ ส่วนท่านนั้นปากกับใจตรงกัน เข้าใจและใช้คนตามความสามารถ ตั้งอยู่ในความยุติธรรม ถึงญาติพี่น้องทำผิด ก็มิได้เข้าด้วย มิได้เห็นแก่หน้าผู้ใด • อ้วนเสี้ยวเป็นคนเพ้อฝัน ตัดสินใจไม่เด็ดขาด จะคิดการสิ่งใดมักกลับเอาดีเป็นร้าย เอาร้ายเป็นดี มิได้เชื่อใจตัวเอง ส่วนท่านนั้น มีสติปัญญาและไหวพริบดี ตัดสินใจได้รวดเร็ว ถูกมากกว่าผิด ทำให้การดำเนินนโยบายต่าง ๆ ลุล่วงไปด้วยดี

  40. 6. อ้วนเสี้ยวชุบเลี้ยงแต่พวกผู้ลากมากดี และจะชุบเลี้ยงผู้ใดก็ไม่เป็นส่ำสันต่อหน้าว่ารัก ลับหลังว่าชัง ส่วนท่านนั้น ชุบเลี้ยงคนตามความสามารถ รักผู้ใดก็รักโดยสุจริตทั้งต่อหน้าและลับหลัง 7. อ้วนเสี้ยวชอบคนประจบสอพลอ ใครเข้าใกล้ก็ชอบผู้นั้น ใครอยู่ห่าง ๆ ถึงซื่อสัตย์ ก็ไม่ชอบ ส่วนท่านนั้น ไม่ว่าจะเป็นคนใกล้ชิดหรือคนไกล ถ้าดีแล้ว ชุบเลี้ยงเสมอหน้ากัน มิได้รังเกียจเดียดฉันท์แต่อย่างใด 8. อ้วนเสี้ยวมักฟังความข้างเดียว จึงทำผิดมิได้หยุด ส่วนท่านนั้น แม้จะมีคนเป่าหูสักเท่าไหร่ ก็เป็นตัวของตัวเอง คิดการหนักหน่วงแน่นอนแล้ว จึงจะทำการ

  41. อ้วนเสี้ยวแยกไม่ได้ว่าอะไรถูกอะไรผิด ส่วนท่านนั้น รู้ดีรู้ชั่วรู้ถูกรู้ผิดอย่างแจ่มแจ้งชัดเจน 10. อ้วนเสี้ยวมิได้ชำนาญในพิชัยสงคราม มักทำศึกโดยประมาท มุ่งแต่เอาชนะโดยมิรู้ชั้นเชิงของฝ่ายข้าศึก ส่วนท่านนั้น ชำนาญในพิชัยสงคราม ถึงข้าศึกจะมีจำนวนมากกว่า ท่านก็สามารถเอาชนะได้

  42. วิสัยทัศน์ ภาพการพัฒนาจังหวัดที่คาดหวังให้เกิดขึ้นในอนาคต

  43. วิสัยทัศน์ ( Vision ) หมายถึง สภาพการณ์ที่จังหวัดต้องการจะเป็นในอนาคตโดยระบุเป็นข้อความที่สะท้อนถึงความมุ่งมั่นเกี่ยวกับทิศทางและจุดยืนที่ต้องการผลักดันให้เกิดขึ้นเป็นจุดหมายปลายทางร่วมกันของทุกฝ่ายที่เกี่ยวข้อง

  44. เป็น "คำมั่นสัญญา" ที่แสดงถึงการตัดสินใจ และมุ่งมั่นที่ต้องรับผิดชอบ สะท้อนถึงสถานะการพัฒนาและความต้องการ ท้าทายเร้าใจ สามารถใช้เป็นกรอบชี้นำให้ดำเนินกิจกรรมเพื่อบรรลุจุดยืนที่ต้องการ ขณะเดียวกัน ก็มีความเป็นไปได้ เป็นสิ่งที่สามารถเกิดขึ้นได้จริง เป็นข้อความง่ายๆ ที่สามารถสื่อให้เห็นภาพในอนาคต เป็นปรัชญาที่แสดงให้เห็นถึงค่านิยมที่ยึดถือของทุกคน และได้รับการสนับสนุนและเป็นที่ยอมรับจากผู้ปฏิบัติ

  45. สรุปวิสัยทัศน์ จินตนาการ วิสัยทัศน์ เป็นไปได้ ท้าทาย

  46. วิสัยทัศน์จะต้องยืดหยุ่นและสามารถปรับได้ เมื่อสภาวการณ์เปลี่ยนไป วิสัยทัศน์ไม่ใช่ คำสั่งสอนหรือคัมภีร์ วิสัยทัศน์ไม่ใช่ พันธกิจ วิสัยทัศน์ วิสัยทัศน์ไม่ใช่ ถูก หรือ ผิด วิสัยทัศน์ ไม่ใช่ความเป็นจริงในปัจจุบัน แต่เป็นความเป็นไปได้ และความปรารถนาในอนาคต วิสัยทัศน์จะเต็มไปด้วยความคาดหวังสมมติฐาน

  47. วิสัยทัศน์ที่ปราศจากการปฏิบัติเป็นเพียงความเพ้อฝันการปฏิบัติที่ปราศจากวิสัยทัศน์เป็นเพียงทางผ่านของเวลาวิสัยทัศน์ที่นำไปปฏิบัติได้สามารถเปลี่ยนโลกได้วิสัยทัศน์ที่ปราศจากการปฏิบัติเป็นเพียงความเพ้อฝันการปฏิบัติที่ปราศจากวิสัยทัศน์เป็นเพียงทางผ่านของเวลาวิสัยทัศน์ที่นำไปปฏิบัติได้สามารถเปลี่ยนโลกได้ โจเอล เอ เมคเกอร์“พลังอำนาจของวิสัยทัศน์”

  48. ตัวอย่างวิสัยทัศน์ของกิจการชั้นนำตัวอย่างวิสัยทัศน์ของกิจการชั้นนำ โครงการ Apollo ของ NASA “To put a man on the moon before the Soviets” 7-ELEVEN Vision To be the world leader in the Convenience Store Business by serving the best to our customers

  49. VISION without ACTION is a dream. ACTION without VISION is a waste of time. ACTION with VISION can Change the world But, ... VISION or ACTION without VALID INFORMATION is a disaster.

More Related