1 / 27

ชนิดของรายงานการวิจัย โครงสร้าง และเทคนิคการเขียนรายงานการวิจัย

ชนิดของรายงานการวิจัย โครงสร้าง และเทคนิคการเขียนรายงานการวิจัย. 8 กันยายน 2549. โดย. นางสาวกัลทิมา เชาว์ชาญชัยกุล กลุ่มวิจัยการผลิตและขึ้นรูปพอลิเมอร์ ( P-PROF) สังกัดสายวิชาเทคโนโลยีวัสดุ คณะพลังงาน สิ่งแวดล้อม และวัสดุ. รายงานการวิจัย. วิทยานิพนธ์. รายงานฉบับสมบูรณ์โครงการวิจัย.

Télécharger la présentation

ชนิดของรายงานการวิจัย โครงสร้าง และเทคนิคการเขียนรายงานการวิจัย

An Image/Link below is provided (as is) to download presentation Download Policy: Content on the Website is provided to you AS IS for your information and personal use and may not be sold / licensed / shared on other websites without getting consent from its author. Content is provided to you AS IS for your information and personal use only. Download presentation by click this link. While downloading, if for some reason you are not able to download a presentation, the publisher may have deleted the file from their server. During download, if you can't get a presentation, the file might be deleted by the publisher.

E N D

Presentation Transcript


  1. ชนิดของรายงานการวิจัย โครงสร้าง และเทคนิคการเขียนรายงานการวิจัย 8 กันยายน 2549 โดย นางสาวกัลทิมา เชาว์ชาญชัยกุล กลุ่มวิจัยการผลิตและขึ้นรูปพอลิเมอร์ (P-PROF) สังกัดสายวิชาเทคโนโลยีวัสดุ คณะพลังงาน สิ่งแวดล้อม และวัสดุ

  2. รายงานการวิจัย วิทยานิพนธ์ รายงานฉบับสมบูรณ์โครงการวิจัย

  3. องค์ประกอบของรายงานวิจัยองค์ประกอบของรายงานวิจัย

  4. บทคัดย่อ • ศึกษาอะไร • ตรวจสอบสมบัติอะไร • ผลที่ได้โดยสรุป • บทสรุปผู้บริหารและบทคัดย่อ • ที่มาและความสำคัญ • วัตถุประสงค์ของงาน • ศึกษาอะไร • ผลการศึกษาโดยสรุปอย่างย่อ

  5. บทคัดยอ วิทยานิพนธ์นี้ไดทําการศึกษาอิทธิพลของปริมาณขี้เลื่อย ปริมาณความชื้นในผงขี้เลื่อยกอนการผสมและการปรับปรุงผิวขี้เลื่อยดวยสารอะมิโนไซเลนที่มีต่อสมบัติดานการผสม สมบัติทางกล และความรอนของวัสดุผสมพีวีซีกับขี้เลื่อยจากการศึกษาผลของปริมาณขี้เลื่อย พบวา ปริมาณขี้เลื่อยในชวง 0.0-23.1 % โดยนํ้าหนัก ไมมีผลกระทบตอคาเฉลี่ยแรงบิดและความดันตกครอม ณ บริเวณทางเขาดายปริมาณขี้เลื่อยที่มากขึ้นมีผลทําใหชิ้นงานมีอัตราการบวมตัวลดลง สวนสมบัติทางกลมีแนวโนมลดลง ในช่วงที่มีปริมาณขี้เลื่อย 0.0-16.7 % แตเมื่อปริมาณขี้เลื่อยมากกวา 16.7 % พบวา สมบัติทางกลมีแนวโนมไมเปลี่ยนแปลงมากนัก นอกจากนี้ปริมาณขี้เลื่อยที่เพิ่มขึ้นยังมีผลทําใหคาอุณหภูมิเปลี่ยนสถานะคลายแกวมีคาเพิ่มสูงขึ้นแต่มีผลทําใหวัสดุผสมมีเสถียรภาพทางความรอนลดลง......................... คําสําคัญ : พีวีซี/ขี้เลื่อย/วัสดุผสม/ความชื้น/สารคูควบ

  6. บทสรุปผู้บริหารและบทคัดย่อบทสรุปผู้บริหารและบทคัดย่อ โครงการวิจัยนี้ เป็นโครงการวิจัยที่ทำร่วมกันระหว่าง หจก.เจริญมิตร และมหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้าธนบุรี จุดเริ่มต้นของโครงการวิจัยเกิดขึ้นจากในอดีตที่ผ่านมา หจก.เจริญมิตร ได้ผลิตถังบำบัดน้ำทิ้งโดยใช้พอลิเมอร์เกรดรีไซเคิลผสมกับพอลิเอทธิลีนเกรดบริสุทธิ์ในสัดส่วนที่สูงถึง 50% โดยน้ำหนัก ทำให้บริษัทฯ ต้องเผชิญปัญหาเกี่ยวกับคุณภาพของพอลิเมอร์เกรดรีไซเคิลที่ซื้อมาในแต่ละครั้งมีสมบัติที่ไม่สม่ำเสมอ ณ ปัจจุบัน จัดหาได้ยากขึ้น และมีราคาสูง ดังนั้นทางคณะวิจัย และหจก.เจริญมิตรจึงเกิดแนวคิดพัฒนาสูตรการผลิตถังบำบัดน้ำทิ้ง โดยการใช้สารอนินทรีย์ที่มีราคาต้นทุนต่ำ และมีสมบัติทางกลที่ดีทดแทนการใช้พอลิเมอร์เกรดรีไซเคิลโดยมีวัตถุประสงค์หลัก คือ เพื่อออกแบบสูตรวัสดุผสมที่เหมาะสม สำหรับการผลิตถังบำบัดน้ำทิ้งต้นทุนต่ำด้วยกระบวนการขึ้นรูปแบบแม่พิมพ์หมุนเหวี่ยงซึ่งโครงการวิจัยนี้ได้ทำการศึกษาถึงชนิดและปริมาณของสารตัวเติมประเภทอนินทรีย์ที่เหมาะสม ได้แก่ เถ้าลอย และแคลเซียมคาร์บอเนต ที่นำมาผสมกับพอลิเอทธิลีนเกรดบริสุทธิ์ซึ่งเป็นวัสดุหลักในการผลิตถังบำบัดน้ำทิ้ง จากผลการวิจัยในช่วง 12 เดือนที่ผ่านมา พบว่า สูตรวัสดุผสมที่มีเถ้าลอยเป็นองค์ประกอบที่เหมาะสมในการผลิตถังบำบัดน้ำทิ้งต้นทุนต่ำด้วยกระบวนการขึ้นรูปแบบแม่พิมพ์หมุนเหวี่ยง คือ พอลิเอทธิลีนเกรดบริสุทธิ์ 70% เถ้าลอย 20% และพอลิเมอร์เกรดรีไซเคิล 10% โดยน้ำหนัก และสูตรวัสดุผสมที่มีแคลเซียมคาร์บอเนตเป็นองค์ประกอบที่เหมาะสมนั้น คือ พอลิเอทธิลีนเกรดบริสุทธิ์ 70% เถ้าลอย 20% และแคลเซียมคาร์บอเนต 10% โดยน้ำหนัก โดยแคลเซียมคาร์บอเนตที่ใช้ต้องอยู่ในรูปแบบคอมปาวด์ และเมื่อวิเคราะห์ผลเชิงเศรษฐศาสตร์ พบว่า สูตรวัสดุผสมที่มีเถ้าลอยเป็นองค์ประกอบ และวัสดุผสมที่มีแคลเซียมคาร์บอเนตเป็นองค์ประกอบที่เหมาะสมนั้น สามารถลดต้นทุนได้ถึง 7.9 % และ 10.5 % ตามลำดับ

  7. บทนำ • ความเป็นมาและความสำคัญ • วัตถุประสงค์ • ประโยชน์ที่คาดว่าจะได้รับ • ขอบเขตที่ศึกษา • แบบสรุปโครงการวิจัย • สัญญาเลขที่ • ชื่อโครงการ • หัวหน้าโครงการ • ความเป็นมาและความสำคัญ • วัตถุประสงค์ • เปรียบเทียบแผนงานที่เสนอในข้อเสนอโครงการ กับกิจกรรมที่ทำจริง

  8. ตารางที่ 1 แผนงานเปรียบเทียบระหว่างแผนการดำเนินงานและผลการดำเนินงานที่ได้ทำจริง

  9. ทฤษฏี และงานวิจัยที่เกี่ยวข้อง • ทฤษฏีที่เกี่ยวข้อง [คำสำคัญ (Key word) +สมบัติที่ต้องการศึกษา] • งานวิจัยที่เกี่ยวข้อง [คำสำคัญ (Key word), อ้างอิงตามผลและ • การวิเคราะห์ผลและย้อนหลังไม่ควรเกิน 5 ปี]

  10. การปรับปรุงสมบัติทางกลเชิงโครงสร้างของผลิตภัณฑ์จากวัสดุผสมพีวีซีและผงขี้เลื่อยไม้โดยการใช้เส้นใยสังเคราะห์การปรับปรุงสมบัติทางกลเชิงโครงสร้างของผลิตภัณฑ์จากวัสดุผสมพีวีซีและผงขี้เลื่อยไม้โดยการใช้เส้นใยสังเคราะห์ • สมบัติที่ทำการศึกษา • สมบัติการต้านทานแรงดึง • สมบัติการต้านทานแรงกระแทก • สมบัติการต้านทานการดัดตัว • การหดตัว ขยายตัวและโก่งตัวภายหลังการผลิต • การต้านทานการแตกเนื่องจากการตอกตะปู • โครงสร้างทางจุลภาค (การยึดเกาะระหว่างคู่วัสดุ) • Key word • พีวีซี • ผงขี้เลื่อยไม้ • เส้นใยสังเคราะห์ • วัสดุผสม • สมบัติทางกลเชิงโครงสร้าง +

  11. Maldas, D. และ Kokta, B.V.(2001) [1] ไดทําการศึกษาผลของการทําแผน ปารติเคิลที่ใชพีวีซีพอลิสไตรีนหรือพอลิสไตรีน เกรดทนแรงกระแทกสูง (HIPS) เปนตัวประสาน (binder) กับเสนใยธรรมชาติชนิดตางๆ ทั้งกรณีที่ปรับปรุงผิวดวย ไอโซไซยาเนต และไมไดปรับปรุงผิว พบวา สมบัติทางกลมีคาเพิ่มมากขึ้น เมื่อปริมาณของพอลิเมอรที่ทําหนาที่เปนตัวประสานเพิ่มมากขึ้น และกรณีการใช้เสนใยที่ผานการปรับปรุงผิวดวยไอโซไซยาเนตให้ผลเช่นเดียวกับกรณีการเพิ่มปริมาณตัวประสาน และพบวาการใชพีวีซีเปนตัวประสานมีผลทําใหไดแผนปารติเคิลที่มีสมบัติทางกลที่ดีที่สุด Karmaker, A.C. และคณะ(2003) [2] ............................................ Matuana, L.M.(2003) [3]............................................ Matuana, L.M. และคณะ(2005) [4] ............................................ Stark, N.M. และคณะ(2003) [5] ............................................

  12. การออกแบบและวิธีการทดลองการออกแบบและวิธีการทดลอง • วัตถุดิบที่ใช้ในงานวิจัย • พีวีซีที่ใชในงานวิจัยนี้เปนพีวีซีในเกรดอัดรีด และมี คา K value = 58 ของบริษัท Vinythai จํากัด โดยทําการสังเคราะหจากกระบวนการสารแขวนลอย พีวีซีรวมถึงสารเติมแตงตางๆ ที่ใชในสูตรของพีวีซีคอมปาวดไดรับความอนุเคราะหจากบริษัท วีพี. พลาสติก โปรดักท (1993) จํากัด ตัวอยางของพีวีซีคอมปาวดที่ใชเปนดังแสดงในรูปที่ 3.1 • แผนการดำเนินการวิจัย • วิธีการทดลอง

  13. แผนการดำเนินการวิจัย

  14. วิธีการทดลอง -เครื่องมือที่ใช้ เครื่องอัดรีดแบบเกลียวหนอนคู รุน HAKKE PolyLabRheomex CTW 100p ของบริษัท HAAKE Co.Ltd. (Germany) - มาตรฐานที่ใช้ในการทดสอบ ตามมาตรฐาน ASTM D638(1999) [36] - รูป และตาราง

  15. รูปที่ 1 ชุดระบบควบคุมขนาดและระบบหล่อเย็น

  16. ตารางที่ 1สูตรของพีวีซีคอมปาวดและปริมาณขี้เลื่อยที่มีในสูตรของวัสดุผสมพีวีซีกับขี้เลื่อย

  17. ผลและการวิเคราะห์ผล • รูป และตาราง • คำอธิบายผลที่เกิดขึ้น

  18. Figure 1 Effect of silica content in fly ash on tensile strength at various Si69 contentration for 50:50 NR/SBR blend : ( ) before and ( ) after aging

  19. (a) (b) (c) Figure 2 SEM fracture surfaces of silica in fly ash for NR/SBR blend (a) without silane coupling agent (b) with Si69 2%wt fly ash (c) with Si69 6%wt fly ash

  20. Figure 3 Variations in the minimum and maximum torque with silica content for NR vulcanizates filled with PSi and FASi particles

  21. รูปที่ 1 ผลของการเติมสารหน่วงไฟที่มีต่อค่ามอดุลัสความต้านทานแรงดึง ของพีวีซีคอมปาวด์

  22. ตารางที่ 2คาความแข็งของวัสดุผสมพีวีซีกับขี้เลื่อยที่มีปริมาณขี้เลื่อยตางๆ กัน

  23. คำอธิบายผล มี 3 ลักษณะ • การนำผลการตรวจสอบอื่น มาประกอบคำอธิบายผลที่ได้ • การนำงานวิจัยของบุคคลอื่นมาสนับสนุนผลที่เกิดขึ้น • การอธิบายผลโดยใช้ทฤษฏี

  24. สรุปผลการทดลอง • บอกรายละเอียดเกี่ยวกับเมื่อตัวแปรต้นเปลี่ยนแปลง ส่งผลทำให้สมบัติที่ทำการศึกษาเป็นอย่างไร ไม่ต้องใส่เหตุผล • กรณีผลสรุปมีหลายประเด็น ควรสรุปเป็นข้อๆ

  25. สรุปผลการทดลอง จากการศึกษายางผสมระหว่างยางธรรมชาติกับยางเอสบีอาร์ที่เติมซิลิกาที่มีในเถ้าลอย และปรับปรุงผิวเถ้าลอยด้วยสารคู่ควบไซเลนปริมาณความเข้มข้นต่างๆ สรุปผลได้ดังนี้ 1. สัดส่วนของยางธรรมชาติ 50 ส่วน ในยางผสมระหว่างยางธรรมชาติกับยางเอสบีอาร์ 100 ส่วน ให้สมบัติเชิงกลโดยรวมเหมาะสมที่สุด 2. สมบัติของยางผสมระหว่างยางธรรมชาติกับยางเอสบีอาร์ที่เติมซิลิกาที่มีในเถ้าลอย เป็นสารเติมแต่ง ก่อนการบ่มเร่งสภาวะด้วยความร้อน พบว่า เมื่อปริมาณซิลิกาที่มีในเถ้าลอยเพิ่มขึ้น เวลาในการคงรูปของยางผสมมีแนวโน้มลดลง ส่วนสมบัติเชิงกลด้านมอดุลัสแรงดึง ความแข็ง ความต้านแรงฉีกขาด เปอร์เซ็นต์การยุบตัวถาวรเมื่อได้รับแรงอัดมีแนวโน้มเพิ่มขึ้น ในขณะที่เปอร์เซ็นต์การยืดตัว ณ จุดขาด การต้านต่อการขัดถู เปอร์เซ็นต์การกระดอน และความต้านแรงดึงมีแนวโน้มลดลง โดยมีค่าสูงสุดที่ปริมาณซิลิกาในเถ้าลอย 20 phr 3. ..................................................................... 4. .....................................................................

  26. เอกสารอ้างอิง • เรียงลำดับตามหมายเลข • เรียงลำดับตามตัวอักษร

  27. เอกสารอ้างอิง • Kawase R., 1998, “Molecular and Micro Structure of Thermal Sprayed Heat and Corrosion - Resistant Plastic Coatings”, Proceedings of the 15th International Thermal Spray Conference, 25-29 May 1998, Nice, France, pp. 653-657. • Wang, C., Ma, J. and Cheng, W., 2003, “Formation of Polyetheretherketone Polymer Coating by Electrphoretic Deposition Method”, Surface and Coating Technology, Vol. 173, pp. 271-275. • Davis, J.R., 2004, Handbook of Thermal Spray Technology, ASM International, Materials Park, Ohio, USA, pp. 6. • ทิพบรรณ สุดประเสริฐ, 2538, อิทธิพลของพารามิเตอร์การพ่นต่อโครงสร้างและคุณสมบัติของงานพ่นเคลือบด้วยเปลวเพลิง, วิทยานิพนธ์ปริญญาวิศวกรรมศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชาเทคโนโลยีวัสดุ คณะพลังงานและวัสดุ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้าธนบุรี

More Related