1 / 29

วิทยาศาสตร์การกีฬา กับการออกกาลังกายเพื่อสุขภาพ

วิทยาศาสตร์การกีฬา กับการออกกาลังกายเพื่อสุขภาพ. วิทยาศาสตร์การกีฬา ( Sport Science ). การนำความรู้ที่ได้โดยการสังเกต ค้นคว้าหาหลักฐานและเหตุผล มาใช้กับกิจกรรมการเล่นกีฬา หรือการออกกำลังกาย เพื่อให้เกิดความสนุกสนาน และคุณประโยชน์ในด้านการส่งเสริมสุขภาพทั้งทางด้านร่างกายและจิตใจ.

nedaa
Télécharger la présentation

วิทยาศาสตร์การกีฬา กับการออกกาลังกายเพื่อสุขภาพ

An Image/Link below is provided (as is) to download presentation Download Policy: Content on the Website is provided to you AS IS for your information and personal use and may not be sold / licensed / shared on other websites without getting consent from its author. Content is provided to you AS IS for your information and personal use only. Download presentation by click this link. While downloading, if for some reason you are not able to download a presentation, the publisher may have deleted the file from their server. During download, if you can't get a presentation, the file might be deleted by the publisher.

E N D

Presentation Transcript


  1. วิทยาศาสตร์การกีฬา กับการออกกาลังกายเพื่อสุขภาพ

  2. วิทยาศาสตร์การกีฬา (Sport Science ) การนำความรู้ที่ได้โดยการสังเกต ค้นคว้าหาหลักฐานและเหตุผล มาใช้กับกิจกรรมการเล่นกีฬา หรือการออกกำลังกาย เพื่อให้เกิดความสนุกสนาน และคุณประโยชน์ในด้านการส่งเสริมสุขภาพทั้งทางด้านร่างกายและจิตใจ

  3. วิทยาศาสตร์การกีฬา วิทยาศาสตร์การกีฬาประกอบด้วยการประยุกต์ใช้ความรู้จากศาสตร์สาขาต่าง ๆ ดังต่อไปนี้ กายวิภาคศาสตร์ สรีรวิทยา ชีวกลศาสตร์ โภชนาการการกีฬา เวชศาสตร์การกีฬา การจัดการกีฬา เทคโนโลยีการกีฬา จิตวิทยาการกีฬา

  4. 1. กายวิภาคศาสตร์(Anatomy)

  5. 2. สรีรวิทยาการออกกำลังกาย(Exercise physiology)

  6. 3.ชีวกลศาสตร์การกีฬา (Sports biomechanics)

  7. 4.โภชนาการการกีฬา (Sports nutrition)

  8. 5.เวชศาสตร์การกีฬา(Sports medicine)5.เวชศาสตร์การกีฬา(Sports medicine)

  9. 6. วิศวกรรมและเทคโนโลยีการกีฬา (Sports engineering and technology)

  10. 7.จิตวิทยาการกีฬา(Sports psychology)7.จิตวิทยาการกีฬา(Sports psychology)

  11. 8. การจัดการการการกีฬา(Sports Management)

  12. การออกกำลังกายเพื่อสุขภาพการออกกำลังกายเพื่อสุขภาพ การออกกำลังกาย ( Exercise ) หมายถึงการเคลื่อนไหวร่างกายหรือการกระตุ้นให้ส่วนต่างๆของร่างกายทำงานมากกว่าภาวะปกติอย่างเป็นระบบโดยคำนึงถึงความเหมาะสมของเพศ วัยและสภาพร่างกายของแต่ละบุคคลเป็นสำคัญจนส่งผลให้ร่างกายและจิตใจมีความสมบูรณ์แข็งแรง

  13. ความสำคัญของการออกกำลังกายความสำคัญของการออกกำลังกาย

  14. ผลของการออกกำลังกายที่มีต่อระบบต่างๆของร่างกายผลของการออกกำลังกายที่มีต่อระบบต่างๆของร่างกาย

  15. ชนิดของการออกกำลังกายชนิดของการออกกำลังกาย การออกกำลังกายจึงแบ่งออกได้ 2 ชนิด ดังนี้ 1. การออกกำลังกายแบบแอนแอโรบิก (Anaerobic Exercise) หมายถึงการออกกำลังกายแบบไม่ต้องใช้ออกซิเจน 2. การออกกำลังกายแบบแอโรบิก (Aerobic Exercise) หมายถึงการออกกำลังกายชนิดที่ต้องใช้ออกซิเจน หรือมีการหายใจในขณะออกกำลังกาย

  16. หลักและวิธีการออกกำลังกายหลักและวิธีการออกกำลังกาย 1. ความหนักของการออกกำลังกาย

  17. 2. ความนานของการออกกำลังกาย • 20-60 minutes/sesssion • Continuous or intermittent (10 min. each bout)

  18. 3. ความบ่อยของการออกกำลังกาย • For moderate intensity, at least 3 days/week • For lower intensity, more than 3 days/week is required

  19. ข้อควรคำนึงสำหรับผู้ออกกำลังกายเพื่อสุขภาพข้อควรคำนึงสำหรับผู้ออกกำลังกายเพื่อสุขภาพ 1. การประมาณตน 2. การแต่งกาย 3 เลือกเวลาและดินฟ้าอากาศ 4. สภาพของกระเพาะอาหาร 5. การดื่มน้ำ 6. ความเจ็บป่วย 7. ความเจ็บป่วยระหว่างการออกกำลังกาย 8. ด้านจิตใจ 9. ความสม่ำเสมอ 10. การพักผ่อน

  20. ขั้นตอนปฏิบัติของการออกกำลังกาย ขั้นตอนปฏิบัติของการออกกำลังกาย 1. การอบอุ่นร่างกาย  (warm – up)  2. การยืดเหยียดกล้ามเนื้อ  (stretching)  3. การออกกำลังกาย  (exercise) 4. ขั้นคลายอุ่นร่างกายร่วมกับการยืดเหยียดกล้ามเนื้อ  (cool  down) 

  21. ประโยชน์ของการออกกำลังกายที่มีต่อสุขภาพ ประโยชน์ของการออกกำลังกายที่มีต่อสุขภาพ 1.เพิ่มสมรรถภาพของหัวใจและหลอดเลือด 2. เพิ่มความแข็งแรงและอดทนของกล้ามเนื้อ 3. ลดความตึงเครียดของจิตใจ 4. เพิ่มความอ่อนตัวกล้ามเนื้อและเอ็นยึดข้อยืดหยุ่นตัวดีขึ้น 5. ลดปัจจัยเสี่ยงต่อการบาดเจ็บของข้อต่อ 6. เพิ่มประสิทธิภาพในการเคลื่อนไหวร่างกาย

  22. ข้อควรปฏิบัติสำหรับการออกกำลังกาย ข้อควรปฏิบัติสำหรับการออกกำลังกาย 1. เลือกกิจกรรมที่เหมาะสมกับสภาพร่างกาย 2. เริ่มออกกำลังกายจากน้อยไปหามาก 3. เลือกกิจกรรมที่ง่ายประหยัดงบประมาณ 4. ออกกำลังกายในสภาพอากาศที่เหมาะสม 5. พักผ่อนให้เพียงพอหลังจากออกกำลัง 6 หมั่นตรวจสมรรถภาพทางกายของตนเอง เช่น จับชีพจรหลังจากตื่นนอน 7. เมื่อมีปัญหาในการออกกำลังกายให้ปรึกษาแพทย์ 8. การออกกำลังกายต้องทำอย่างสม่ำเสมอ 9. ควรออกกำลังกายเป็นกลุ่มหรือหมู่คณะเพื่อความสนุกสนาน 10. ควรทำการทดสอบสมรรถภาพทุก 2 เดือน

  23. ข้อห้ามสำหรับการออกกำลังกายข้อห้ามสำหรับการออกกำลังกาย   1. มีอาการเจ็บป่วย เช่น มีไข้ท้องร่วง ฯลฯ              2. หลังจากฟื้นไข้ใหม่ๆและในระหว่างพักฟื้นจากการบาดเจ็บ              3. หลังจากรับประทานอาหารใหม่ๆ (ควรออกกำลังกายหลัง รับประทานอาหารอย่างน้อย   2-3 ชั่วโมง)               4. ในสภาพอากาศที่ร้อนจัดและอบอ้าว

  24. ข้อควรระวังในการออกกำลังกายข้อควรระวังในการออกกำลังกาย 1. ผู้ป่วยโรคหัวใจความดันโลหิตสูงเบาหวานผู้สูงอายุควรปรึกษาแพทย์ก่อนการออกกำลังกาย และทำตามคำแนะนำของแพทย์อย่างเคร่งครัด 2. ควรหยุดออกกำลังกายเมื่อมีอาการต่อไปนี้ - รู้สึกเหนื่อยมาก แน่นหน้าอก - มิอาการใจสั่น 3. พักผ่อนไม่เพียงพอ

  25. Muscular Exercise

  26. Exercise Intensity • Weights that are heavy enough to be lifted for 8 – 12 repetitions (reps.)

  27. Exercise Duration • 8-10 exercise for body major muscle groups • Each exercise lifts 8-12 reps.(1 Set) • 10-20 minutes per session

  28. Exercise Frequency • At least 2 training sessions per week

  29. การเลือกเครื่องมือออกกำลังกายการเลือกเครื่องมือออกกำลังกาย

More Related