1 / 48

278206 Application of Software Package in Office

278206 Application of Software Package in Office. การใช้งานโปรแกรมตารางคำนวณ (3) (Spread Sheet). อ.ธารารัตน์ พวงสุวรรณ thararat@buu.ac.th. การนำเข้าข้อมูลจากภายนอก. การนำเข้าข้อมูลจากภายนอก. Excel มีความสามารถในการจัดการกับฐานข้อมูล ทำให้สะดวกในการจัดเก็บ ค้นหา แก้ไข/ลบข้อมูล

Télécharger la présentation

278206 Application of Software Package in Office

An Image/Link below is provided (as is) to download presentation Download Policy: Content on the Website is provided to you AS IS for your information and personal use and may not be sold / licensed / shared on other websites without getting consent from its author. Content is provided to you AS IS for your information and personal use only. Download presentation by click this link. While downloading, if for some reason you are not able to download a presentation, the publisher may have deleted the file from their server. During download, if you can't get a presentation, the file might be deleted by the publisher.

E N D

Presentation Transcript


  1. 278206Application of Software Package in Office การใช้งานโปรแกรมตารางคำนวณ (3) (Spread Sheet) อ.ธารารัตน์ พวงสุวรรณ thararat@buu.ac.th

  2. การนำเข้าข้อมูลจากภายนอกการนำเข้าข้อมูลจากภายนอก

  3. การนำเข้าข้อมูลจากภายนอกการนำเข้าข้อมูลจากภายนอก • Excel มีความสามารถในการจัดการกับฐานข้อมูล ทำให้สะดวกในการจัดเก็บ ค้นหา แก้ไข/ลบข้อมูล • ตลอดจนนำข้อมูลมาประมวลในลักษณะของรายงานแบบต่างๆ ได้ • การจัดเก็บข้อมูลใน Excel นอกจากจะทำการกรอกข้อมูลลงไปตรงๆ แล้ว Excel ยังสามารถนำข้อมูลรูปแบบอื่นที่มีอยู่นำเข้ามาใช้ได้

  4. รูปแบบไฟล์ที่ Excel สามารถนำเข้าข้อมูลจากภายนอก • ไฟล์จากโปรแกรม Microsoft Excel ไฟล์อื่นๆ (*.xlsx) • ไฟล์ข้อความหรือ Text files (*.txt) • ไฟล์จากโปรแกรม Microsoft Access (*.mdb)

  5. ขั้นตอนการนำเข้าข้อมูลจากภายนอกขั้นตอนการนำเข้าข้อมูลจากภายนอก • เลือกตำแหน่งเซลที่ต้องการให้นำข้อมูลจากภายนอกมาวาง • คลิกแท็บData หรือข้อมูล • ในกลุ่ม รับข้อมูลภายนอก ให้เลือก ลักษณะของไฟล์ข้อมูลที่ต้องการจะนำเข้า

  6. ขั้นตอนการนำเข้าข้อมูลจากภายนอกขั้นตอนการนำเข้าข้อมูลจากภายนอก 4. ให้เลือกรูปแบบของไฟล์ข้อมูลและไฟล์ข้อมูลที่ต้องการนำเข้าแล้ว Click ปุ่ม Open

  7. ขั้นตอนการนำเข้าข้อมูลจากภายนอกขั้นตอนการนำเข้าข้อมูลจากภายนอก 5. หน้าต่าง ตัวช่วยสร้างการนำเข้าข้อความ- ขั้นที่ 1 จาก 3 ต้องกำหนดค่าในส่วนต่างๆ แล้วคลิก Next 5.1 การกำหนดชนิดข้อมูลดั้งเดิม (Original data type)จะมีค่าให้เลือก 2 ค่า • Delimited (มีการใช้ตัวคั่น) กรณีที่ไฟล์ข้อมูลมีการแบ่งข้อความด้วยสัญลักษณ์ • Fixed width (ความกว้างคงที่) กรณีที่ไฟล์ข้อมูลใช้การเว้นวรรคด้วยช่องว่างแบ่งข้อความ 5.2 เริ่มนำเข้าที่ (Start import at row) ให้เลือกว่าจะนำเข้าข้อมูลตั้งแต่แถวที่เท่าใด ตัวอย่างนี้ให้เลือกนำเข้าตั้งแต่แถวที่ 1 5.3 แหล่งที่มาของแฟ้ม (File origin) เป็นการกำหนดภาษาของข้อมูลที่จะนำเข้า ให้เลือกภาษาไทย คือ 874 : Thai (Windows)

  8. ขั้นตอนการนำเข้าข้อมูลจากภายนอกขั้นตอนการนำเข้าข้อมูลจากภายนอก

  9. ขั้นตอนการนำเข้าข้อมูลจากภายนอกขั้นตอนการนำเข้าข้อมูลจากภายนอก 6. หน้าต่าง ตัวช่วยสร้างการนำเข้าข้อความ- ขั้นที่ 2 จาก 3 Excel ให้กำหนดตัวคั่นข้อมูล โดยดู จากข้อมูลในไฟล์ที่จะนำเข้าเป็นหลัก

  10. ขั้นตอนการนำเข้าข้อมูลจากภายนอกขั้นตอนการนำเข้าข้อมูลจากภายนอก • หน้าต่าง ตัวช่วยสร้างการนำเข้าข้อความ- ขั้นที่ 3 จาก 3 เป็นการกำหนดรูปแบบของเซลข้อมูลว่าแต่ข้อมูลในแต่ละ Column จะเป็นรูปแบบ General, Text, Date, หรือจะเลือกไม่นำเข้า Column นั้น โดยการเลือก Do not import column (skip) ซึ่งปกติ Excel จะกำหนดให้เป็น General

  11. ขั้นตอนการนำเข้าข้อมูลจากภายนอกขั้นตอนการนำเข้าข้อมูลจากภายนอก 8. หน้าต่าง Import Data ให้กาหนดว่าจะน าข้อมูลวางไว้ที่เซลใดในชีทที่ ปรากฎอยู่ (Existing worksheet) หรือให้นำไปวางในชีทที่สร้างใหม่ (New worksheet)

  12. การใช้งาน Data Validationเพื่อตรวจสอบความถูกต้องของข้อมูล

  13. การตรวจสอบความถูกต้องของข้อมูลการตรวจสอบความถูกต้องของข้อมูล • เพื่อให้การกรอกข้อมูลมีความถูกต้องมากยิ่งขึ้น • ควรจะมีการกำหนดกฎข้อบังคับในการป้อนข้อมูล • ใน Excel สามารถใช้ การทำ Data Validation ในการตรวจสอบการป้อนข้อมูลให้ถูกต้องได้

  14. ขั้นตอนการตรวจสอบความถูกต้องของข้อมูลขั้นตอนการตรวจสอบความถูกต้องของข้อมูล

  15. ขั้นตอนการตรวจสอบความถูกต้องของข้อมูลขั้นตอนการตรวจสอบความถูกต้องของข้อมูล

  16. ขั้นตอนการตรวจสอบความถูกต้องของข้อมูลขั้นตอนการตรวจสอบความถูกต้องของข้อมูล • ประเภทของข้อมูลที่จะอนุญาตให้ป้อนได้ในช่อง Allow: • Any Value (ค่าใดๆ) ค่าตัวเลขหรือข้อความใด • Whole number (จำนวนเต็ม) เฉพาะตัวเลขจำนวนเต็มที่กำหนดในช่วงหนึ่ง • Decimal (ตำแหน่งทศนิยม) เฉพาะตัวเลขตามจำนวนทศนิยมที่กำหนด • List (รายการ) ค่าจากรายการที่เตรียมไว้ • Date (วันที่) ค่าตามกรอบวันที่ที่ระบุ • Time (เวลา) ค่าตามกรอบเวลาที่ระบุ • Text length (ตามความยาวข้อความ) ตามความยาวของข้อความที่ระบุ • Custom (กำหนดเอง) กำหนดค่าเอง เช่น สูตรคำนวณ

  17. ขั้นตอนการตรวจสอบความถูกต้องของข้อมูลขั้นตอนการตรวจสอบความถูกต้องของข้อมูล • ข้อมูลบางประเภทต้องเลือกการเปรียบเทียบข้อมูลในหัวข้อ Data: ว่าน้อยหรือมากกว่าค่าที่ระบุเป็นช่วง o   Between (อยู่ระหว่าง) ตัวเลขช่วงหนึ่งซึ่งอยู่ระหว่าง ค่าต่ำสุด ถึง ค่าสูงสุดที่ระบุ o   Not between (ไม่อยู่ระหว่าง) ตัวเลขใดๆ ซึ่งไม่เท่ากับค่าที่ระบุ o   Equal to (เท่ากับ) เท่ากับตัวเลขที่ระบุ o   Not equal to (ไม่เท่ากับ)  ไม่เท่ากับตัวเลขที่ระบุ o   Greater than (มากกว่า) มากกว่าค่าที่ระบุ o   Less than (น้อยกว่า) น้อยกว่าค่าที่ระบุ o   Greater than or equal to  (มากกว่าหรือเท่ากับ) มากกว่าหรือเท่ากับค่าที่ระบุ o   Less than or equal to (น้อยกว่าหรือเท่ากับ) น้อยกว่าหรือเท่ากับค่าที่ระบุ

  18. ขั้นตอนการตรวจสอบความถูกต้องของข้อมูลขั้นตอนการตรวจสอบความถูกต้องของข้อมูล • ข้อมูลบางประเภทต้องเลือกการเปรียบเทียบข้อมูลในหัวข้อ Data: ว่าน้อยหรือมากกว่าค่าที่ระบุเป็นช่วง o   Between (อยู่ระหว่าง) ตัวเลขช่วงหนึ่งซึ่งอยู่ระหว่าง ค่าต่ำสุด ถึง ค่าสูงสุดที่ระบุ o   Not between (ไม่อยู่ระหว่าง) ตัวเลขใดๆ ซึ่งไม่เท่ากับค่าที่ระบุ o   Equal to (เท่ากับ) เท่ากับตัวเลขที่ระบุ o   Not equal to (ไม่เท่ากับ)  ไม่เท่ากับตัวเลขที่ระบุ o   Greater than (มากกว่า) มากกว่าค่าที่ระบุ o   Less than (น้อยกว่า) น้อยกว่าค่าที่ระบุ o   Greater than or equal to  (มากกว่าหรือเท่ากับ) มากกว่าหรือเท่ากับค่าที่ระบุ o   Less than or equal to (น้อยกว่าหรือเท่ากับ) น้อยกว่าหรือเท่ากับค่าที่ระบุ

  19. ขั้นตอนการตรวจสอบความถูกต้องของข้อมูลขั้นตอนการตรวจสอบความถูกต้องของข้อมูล • กำหนดข้อมูลที่สามารถป้อนได้ในหัวข้อ Data (ข้อมูล) • เช่น เลือกเป็น Whole number (จำนวนเต็ม) • และกำหนดเป็น between • ต้องระบุช่วงข้อมูลที่จะรับโดยระบุค่าต่ำสุด (Minimum) • และค่าข้อมูลสูงสุดที่จะรับ (Maximum)

  20. ขั้นตอนการตรวจสอบความถูกต้องของข้อมูลขั้นตอนการตรวจสอบความถูกต้องของข้อมูล

  21. ขั้นตอนการตรวจสอบความถูกต้องของข้อมูลขั้นตอนการตรวจสอบความถูกต้องของข้อมูล

  22. ขั้นตอนการตรวจสอบความถูกต้องของข้อมูลขั้นตอนการตรวจสอบความถูกต้องของข้อมูล

  23. การเลือกแบบเพื่อแสดงไดอะล็อกบ็อกซ์เตือน จากคำสั่ง Data Validation

  24. การยกเลิกการตรวจสอบข้อมูลการยกเลิกการตรวจสอบข้อมูล • เลือกช่วงเซลที่ได้กำหนดเงื่อนไขการตรวจสอบข้อมูลไว้ • เลือก Data > Validation (ข้อมูล > การตรวจสอบความถูกต้อง) • คลิกแท็บSettings (การตั้งค่า) แล้วคลิกปุ่ม Clear All (ล้างทั้งหมด) •  คลิกปุ่ม ตกลง      

  25. การสร้างรายงานสรุปข้อมูลด้วย Pivot Table

  26. Pivot Table • Pivot Table เปนเครื่องมือที่ใช้ในการสรางรายงาน รูปแบบตาง ๆ ตามความตองการ จากฐานขอมูล(Data Base) • โดยฐานขอมูลที่ใชในการสรางรายงาน อาจจะอยูในรูปแบบของตารางใน Worksheet ของ Excel หรืออยูในแฟมข้อมูลในรูปแบบอื่น(External Data File) • Pivot Table เปนเครื่องมือที่มีใชตั้งแต Excel 97 และไดมี การปรับปรุงใหมีประสิทธิภาพดีขึ้นเรื่อย ๆ • Pivot Table เปรียบเสมือนเปน Report Generator คือ ผูใชสามารถสรางรายงานในรูปแบบต่าง ๆ โดยไมต้องมีการเขียนโปรแกรม • เพียงแตกําหนดรูปแบบความตองการรายงานที่ตองการ โปรแกรมExcel จะสามารถสรางรายงานดังกลาวได ภายในเวลาอันรวดเร็ ว

  27. Pivot Table • ตัวอย่าง สมมติว่าเรามีข้อมูลเกี่ยวกับรายจ่ายประจำวัน จำนวน 3 วัน ดังนี้

  28. Pivot Table • จากตัวอย่างข้างต้น ต้องการสรุปรายจ่าย แต่ละรายการ  แยกเป็นรายวัน ดังนี้

  29. วิธีการสร้าง Pivot Table • สร้างข้อมูลรายจ่ายประจำวัน ที่ Sheet1 โดยให้มีหัวคอลัมน์แต่ละคอลัมน์  ทั้งนี้เพื่อนำไปใช้เป็นข้อมูลในการจัดทำตารางสรุป • กําหนดขอมูลที่จะใชสราง Pivot Table ซึ่งสามารถทําไดโดย เอาCursor ไวคลิกในตารางขอมูลที่จะใชในการสราง Pivot Table

  30. วิธีการสร้าง Pivot Table

  31. วิธีการสร้าง Pivot Table 3. ใชคําสั่ง Insert Tables Pivot Table โดยExcel จะทําการกําหนด ขอบเขตของขอมูลที่จะใชสราง Pivot Table ในชองTable / Range ในกรณี ไมถูกต้องสามารถเปลี่ยนแปลงใหมได

  32. วิธีการสร้าง Pivot Table 4. เลือกพื้นที่ที่จะนํา Pivot Table ที่สรางขึ้นไปแสดง ซึ่งอาจจะเป็นWorksheet ใหม หรือWorksheet เดิม

  33. วิธีการสร้าง Pivot Table 5. การจัดรูปแบบของ Pivot Table • จะเห็นวาทางดานขวามือของจอภาพจะปรากฏ Pivot Table Field List ซึ่งประกอบ ชื่อ ฟลด ตาง ๆ ของขอมูลที่จะนํามาใชสราง Pivot Table • สวนทางตอนลางของ Pivot Table Field List คือ ตําแหนงตาง ๆ ของ รายงาน ซึ่งเราสามารถลากฟลดจาก Pivot Table Field List ไปวางไวใน Pivot Table เพื่อสรางรายงานความตองการ

  34. วิธีการสร้าง Pivot Table

  35. วิธีการสร้าง Pivot Table การกำหนดฟิลด์ลงในตำแหน่งของรายงาน มีดังนี้ Report Filter หมายถึง ฟลด ที่ใชในการจัดกลุมหนาของรายงาน Column Label หมายถึง ฟลด ที่จะใชเป นชื่อของColumn Row Label หมายถึง ฟลด ที่จะใชเป นชื่อของRow ∑Value หมายถึง ฟลด ที่จะใช ในคํานวณในรายงานโดยการหาผลรวม

  36. การเปลี่ยนแปลงรูปแบบของ Pivot Table ** ในตำแหน่งต่างๆ ของ Pivot Table สามารถมีฟิลด์ได้มากกว่า 1 ฟิลด์ หรือไม่มีเลยก็ได้

  37. การจัดรูปแบบ(Format) Pivot Table

  38. การจัดรูปแบบ(Format) Pivot Table

  39. การเปลี่ยนแปลงวิธีคำนวณข้อมูลใน Pivot Table หรือ

  40. การจัดกลุม(Grouping) รายการใน Pivot Table

  41. การจัดกลุม(Grouping) รายการใน Pivot Table ตัวอย่าง Pivot Table ก่อนการจัดกลุ่ม

  42. การจัดกลุม(Grouping) รายการใน Pivot Table

  43. ขั้นตอนการจัดกลุม(Grouping) รายการใน Pivot Table

  44. การจัดกลุม(Grouping) รายการใน Pivot Table

  45. การจัดกลุม(Grouping) รายการใน Pivot Table ตัวอย่างข้อมูล Pivot Table ที่ได้

  46. การจัดกลุม(Grouping) รายการใน Pivot Table

  47. การจัดกลุม(Grouping) รายการใน Pivot Table

  48. การสร้างกราฟจาก Pivot Table

More Related