1 / 67

ความรู้พื้นฐานเรื่องโรคเบาหวาน

ความรู้พื้นฐานเรื่องโรคเบาหวาน. พ.ญ. พรรณทิพย์ ตันติวงษ์ กลุ่มงานอายุรกรรม ร.พ. มหาราชนครราชสีมา 28 เมษายน 2552. หัวข้อเรื่องในวันนี้. การวินิจฉัยและชนิดของโรคเบาหวาน เป้าหมายในการรักษาเบาหวาน วิธีการและยารักษาเบาหวาน ภาวะแทรกซ้อนจากโรคเบาหวาน การปฏิบัติตัวในภาวะพิเศษ.

Télécharger la présentation

ความรู้พื้นฐานเรื่องโรคเบาหวาน

An Image/Link below is provided (as is) to download presentation Download Policy: Content on the Website is provided to you AS IS for your information and personal use and may not be sold / licensed / shared on other websites without getting consent from its author. Content is provided to you AS IS for your information and personal use only. Download presentation by click this link. While downloading, if for some reason you are not able to download a presentation, the publisher may have deleted the file from their server. During download, if you can't get a presentation, the file might be deleted by the publisher.

E N D

Presentation Transcript


  1. ความรู้พื้นฐานเรื่องโรคเบาหวาน พ.ญ. พรรณทิพย์ ตันติวงษ์ กลุ่มงานอายุรกรรม ร.พ. มหาราชนครราชสีมา 28 เมษายน 2552

  2. หัวข้อเรื่องในวันนี้ • การวินิจฉัยและชนิดของโรคเบาหวาน • เป้าหมายในการรักษาเบาหวาน • วิธีการและยารักษาเบาหวาน • ภาวะแทรกซ้อนจากโรคเบาหวาน • การปฏิบัติตัวในภาวะพิเศษ

  3. โรคเบาหวานคืออะไร? • ภาวะที่ร่างกายมีระดับน้ำตาลในกระแสเลือดสูงกว่าปกติ โดยร่างกายไม่สามารถนำน้ำตาลในเลือดไปใช้ได้ตามปกติ • ทำให้น้ำตาลที่ร่างกายดูดซึมมาจากทางเดินอาหาร เกิดการคั่งค้างจนล้นออกมาทางปัสสาวะ • เบาหวาน = เบา + หวาน = ปัสสาวะหวาน โรคเบาหวานพบบ่อยแค่ไหน ???

  4. Global projections for the diabetes epidemic: 2003–2025 48.4 58.6 17.4% 23.0 36.2 36% 39.3 81.6 52% 7.1 15.0 52.6% 15.6 22.5 44% 43.0 75.8 43.3% World 2003 = 194million (5.1%) 2025 = 333 million (6.3%) Increase of 42% Adapted from IDF Diabetes atlast 2005

  5. Prevalence of DM in Thaisthe National Health Survey 1997 & 2004Population Survey for CHD Risk 2000 population age >35 yr 2000 = 9.6% = 9.1% = 10.0% = 11.9% = 11.1% = 12.6% = 8.5% = 8.2 % = 8.8 % 2004 = 10.8% = = = = = = = = 1997 DM prevalence = 4.8% Males = 4.3% Females = 5.3% Urban = 6.9% Males = 6.2% Females = 7.6% Rural = 3.8% Males = 3.5% Females = 4.2%

  6. คนเราทุกคนมีน้ำตาลในเลือด !!! • ทุกคนต้องมีน้ำตาลในเลือดเรียกว่า น้ำตาลกลูโคส ซึ่งได้มาจากอาหาร • ร่างกายจะใช้น้ำตาลกลูโคสได้ต้องอาศัย ฮอร์โมนอินซูลิน ซึ่งสร้างจากตับอ่อน เป็นตัวพาน้ำตาลกลูโคสเข้าไปในเนื้อเยื่อ • ถ้าร่างกายขาดอินซูลินเนื่องจากตับอ่อนถูกทำลาย หรืออินซูลินประสิทธิภาพในการทำงานลดลง จะทำให้เกิดภาวะน้ำตาลในเลือดสูง คือ เกิดโรคเบาหวาน

  7. อาการสำคัญที่เกิดจากโรคเบาหวานอาการสำคัญที่เกิดจากโรคเบาหวาน • ปัสสาวะบ่อย และมาก ทำให้เข้าห้องน้ำตอนกลางคืนหลายครั้ง • คอแห้ง กระหายน้ำ และดื่มน้ำมาก • กินจุแต่ น้ำหนักลด • ชาปลายมือ ปลายเท้า • อ่อนเพลีย คันตามตัว และอวัยวะเพศ • เป็นแผลแล้วหายยาก • บางรายตรวจพบโดยบังเอิญโดยไม่มีอาการ

  8. ระดับน้ำตาลในเลือดในคนปกติระดับน้ำตาลในเลือดในคนปกติ • ถ้าอดอาหาร 8-12 ชั่วโมง ควรอยู่ระหว่าง 70- 100 มิลลิกรัม % • แต่ถ้าตรวจหลังอาหาร 2 ชั่วโมง ควรน้อยกว่า 140 มิลลิกรัม % ระดับน้ำตาลในเลือดเท่าไรจึงจะเป็นโรคเบาหวาน ? ตามเกณฑ์ขององค์การอนามัยโลกจะวินิจฉัยว่าเป็นเบาหวานเมื่อ ระดับน้ำตาลในเลือดเมื่ออดอาหาร8-12 ชั่วโมง ตั้งแต่ 126 มก% ขึ้นไป ระดับน้ำตาลในเลือดหลังอาหาร2 ชั่วโมง หรือเมื่อไม่ได้งดอาหาร ตั้งแต่ 200 มก% ขึ้นไป

  9. การวินิจฉัยโรคเบาหวานการวินิจฉัยโรคเบาหวาน Criteria for the diagnosis of DM • Symptoms of Diabetes Mellitus (polyurea, polydipsia, unexplained weight loss) plus casual PG  200 mg/dl • FPG  126 mg/dl (fast at least 8 hr) • 2-hr PG  200 mg/dl during 75g Oral glucose tolerance test (OGTT) ** confirm on a subsequent day

  10. ชนิดของโรคเบาหวาน • 1. Type 1 diabetesโรคเบาหวานชนิดที่ 1 :-cell destruction • 2. Type 2 diabetesโรคเบาหวานชนิดที่ 2:insulin resistance • 3. Other specific typesเบาหวานจากสาเหตุอื่น ๆ : • MODY, Other endocrine diseases (hyperthyroid, • Cushing’s), Pancreatic disease, etc. • 4. Gestational diabetes mellitusเบาหวานในคนตั้งครรภ์(GDM)

  11. โรคเบาหวานชนิดที่ 1 • มักเกิดในเด็กจนถึงวัยรุ่น • ผู้ป่วยมักจะผอม • เกิดจากการที่ตับอ่อนไม่สามารถสร้างอินซูลิน • ภาวะนี้ไม่สามารถรักษาโดยใช้ยากินได้ ต้องใช้การฉีดอินซูลินทุกวันตามคำแนะนำของแพทย์

  12. HYPERGLYCEMIA PATHOGENESIS of TYPE 1 DM Immune mediated (antiGAD, ICA, IAA) - cell destruction insulin deficiency Idiopathic

  13. โรคเบาหวานชนิดที่ 2 • พบประมาณ 95% ของโรคเบาหวานทั้งหมด • มักเกิดในผู้ใหญ่จนถึงคนสูงอายุ • คนที่อ้วนจะเกิดโรคนี้ได้ง่าย • ผู้ที่มีประวัติญาติสายตรงเป็นโรคเบาหวาน • เกิดจากอินซูลินมีประสิทธิภาพในการทำงานลดลง

  14. HYPERGLYCEMIA PATHOGENESIS of TYPE 2 DM Pancreas - cell dysfunction Genetic Insulin resistance Liver Muscle Fat cell Obesity, Inactivity, Aging, Environment etc.

  15. 3. DM: Other Specific Types • Genetic defect of -cell function (MODY) or defect of insulin action • Diseases of exocrine pancreas • Endocrinopathies • Acromegaly, Cushing’s syndrome, Hyperthyroidism, Pheochromocytoma etc. • Drugs • Steriod, β-blockers, thiazide, thyroxine, nicotinic acid, α-IFN, phenyltoin etc. • Infectious : Congenital rubella, CMV • Othersgenetic diseases

  16. ใครที่มีโอกาสเป็นโรคเบาหวาน??ใครที่มีโอกาสเป็นโรคเบาหวาน?? • กรรมพันธุ์ ลูกหลานของผู้ป่วยเบาหวาน • ความอ้วน - 60-80% ของโรคเบาหวานในผู้ใหญ่เกิดในคนอ้วน • ภาวะความดันโลหิตสูง คือตั้งแต่ 140/90 มิลลิเมตรปรอท ขึ้นไป • ภาวะไขมันผิดปกติ ระดับไขมันไตรกลีเซอไรด์สูง และ เอช-ดี-แอล ต่ำ ภาวะตั้งครรภ์ ผู้ที่ตั้งครรภ์หลายครั้ง ผู้ที่เคยมีน้ำตาลสูงขณะตั้งครรภ์ ความเครียด ทางร่างกายและจิตใจ ร่วมกับขาดการออกกำลังกาย อายุ ยิ่งอายุมากขึ้นจะมีโอกาสพบโรคเบาหวานมากขึ้น ยาบางชนิด เช่น ยาจำพวกสเตอรอยด์ (มักพบในยาลูกกลอน) ถ้าใช้ไปนาน ๆ มีโอกาสเป็นโรคเบาหวานได้

  17. การป้องกันโรคเบาหวาน • การลดน้ำหนัก • การควบคุมอาหาร • การออกกำลังกาย

  18. จุดม่งหมายในการดูแลรักษาผู้ป่วยเบาหวานจุดม่งหมายในการดูแลรักษาผู้ป่วยเบาหวาน • เพื่อมิให้มีอาการจากภาวะน้ำตาลในเลือดสูงหรือต่ำเกินไป • เพื่อป้องกันโรคแทรกซ้อนเฉียบพลัน และ เรื้อรังจากโรคเบาหวาน • เพื่อให้ผู้ป่วยเบาหวานมีคุณภาพชีวิตที่ดีเหมือนกับผู้ที่มิได้เป็นเบาหวาน

  19. ระดับน้ำตาลในเลือดสูงเท่าไรจึงจะถือว่าควบคุมได้ระดับน้ำตาลในเลือดสูงเท่าไรจึงจะถือว่าควบคุมได้ ระดับน้ำตาล (ม.ก %) ดีมาก ดี พอใช้ ใช้ไม่ได้ ระดับน้ำตาลเมื่ออด 90-130 <140 140-180 >180 อาหาร 8-12 ชั่วโมง ระดับน้ำตาลหลัง <140 <180 180-200 >200 อาหาร 2 ชั่วโมง ค่าเฉลี่ยของน้ำตาลใน 4-7 <7-8.5 >8.5-10 >10 เลือด 2-3เดือนที่ผ่านมา ( % ฮีโมโกบินเอ-วัน-ซี )

  20. ฮีโมโกลบิน เอ-วัน-ซี คืออะไร ? .. ฮีโมโกลบินเอ-วัน-ซี หมายถึง ค่าเฉลี่ยของของระดับน้ำตาลในเลือด ในระยะ 2-3 เดือนที่ผ่านมา

  21. ฮีโมโกลบินเอ . + = น้ำตาลกลูโคส เม็ดเลือดแดง . ฮีโมโกลบิน เอ วัน ซี . การควบคุมน้ำตาลได้ดี ฮีโมโกลบินเอวันซี ควรน้อยกว่า 7%

  22. การตรวจ Hemoglobin A1c • เป็นการตรวจค่าเฉลี่ยของน้ำตาลในระยะ 2-3 เดือนที่ผ่านมา • ค่าปกติของคนที่ไม่เป็นเบาหวานอยู่ที่ 5 มก.% • ผู้ป่วยเบาหวานที่ควบคุมได้ดีควรอยู่ต่ำกว่า 7 มก.% • หากค่า Hemoglobin A1c มากกว่า 8 จะต้องเปลี่ยนแปลงการรักษา เช่นการควบคุมอาหาร การออกกำลังกาย ความเครียด ควรเจาะถี่แค่ไหน ผู้ป่วยที่ใช้อินซูลินควรตรวจปีละ 4 ครั้ง ผู้ป่วยที่ใช้ยากินควรตรวจปีละ 2 ครั้ง

  23. ความสัมพันธ์ระหว่าง HbA1c และน้ำตาลในเลือด HbA1cระดับน้ำตาลในเลือด 6.0% 135 mg/dl 7.0% 170 mg/dl 8.0% 205 mg/dl 9.0% 240 mg/dl 10.0% 275 mg/dl 11.0% 310 mg/dl

  24. ความสัมพันธ์ระหว่าง HbA1c และน้ำตาลในเลือด • จากตารางจะพบว่า HbA1c มากกว่า 7 ระดับน้ำตาลเฉลี่ยในเลือดจะสูงเกิน 170 มิลิกรัม% ซึ่งต้องปรับการรักษา • ดังนั้นในการรักษาเราจะคุมระดับ HbA1c ให้น้อยกว่า 7

  25. โรคเบาหวานกับการประเมินด้วยตัวเองโรคเบาหวานกับการประเมินด้วยตัวเอง • การจะคุมเบาหวานให้ใกล้เคียงค่าปกติสามารถทำได้โดยการคุมอาหาร การออกกำลังกาย และยา • การเจาะน้ำตาลในเลือดเมื่อไปพบแพทย์เดือนละครั้งหรือ 3-4 เดือนต่อครั้ง ไม่เพียงพอสำหรับผู้ป่วยบางราย • บางรายที่คุมระดับน้ำตาลได้ไม่ดีจำเป็นต้องตรวจหาน้ำตาลด้วยตัวเองเพื่อวางแผนปรับอาหาร หรือยาเพื่อให้ได้ระดับน้ำตาลที่เหมาะสมซึ่งสามารถกระทำได้

  26. โรคเบาหวานกับการประเมินด้วยตัวเองโรคเบาหวานกับการประเมินด้วยตัวเอง ซึ่งสามารถกระทำได้โดย • ตรวจระดับน้ำตาลในเลือดด้วยตัวเอง [self monitor blood glucose = SMBG] • ตรวจระดับน้ำตาลในปัสสาวะ

  27. การรักษาเบาหวาน ประกอบด้วย • การปรับเปลี่ยนพฤติกรรม คือ การควบคุมอาหาร การออกกำลังกาย การลดน้ำหนัก และ การงดบุหรี่ • การรักษาด้วยยาต่าง ๆ เพื่อควบคุมระดับน้ำตาลในเลือด, ระดับไขมันในเลือด, ระดับความดันโลหิต และ การให้ยาป้องกันเส้นเลือดตีบ

  28. การปรับเปลี่ยนพฤติกรรม : เรื่องของอาหาร เหมือนคนปกติทั้งสัดส่วน และปริมาณ สัดส่วนอาหาร : คาร์โบไฮเดรท 55- 60 % โปรตีน 15-20 % ไขมัน 30 % (ไขมันอิ่มตัว < 10%) ไม่มีอาหารเบาหวาน

  29. น้ำมัน น้ำตาล เกลือน้อยที่สุด เนื้อสัตว์ 6-12 ช้อนโต๊ะ/วัน นม 1-2 กล่อง /วัน ผัก4-6ทัพพี /วัน ผลไม้ 2-6ส่วน /วัน สัดส่วนอาหารใน 1 วัน ข้าว/แป้ง6-12 ทัพพี /วัน

  30. คำนวณพลังงานจากน้ำหนักตัวและระดับกิจกรรมคำนวณพลังงานจากน้ำหนักตัวและระดับกิจกรรม Sedentary Moderate Active น.น. เกิน 20-25 30 35 น.น. ปกติ 25 30 35 Under weight 30 40 45-50 ตัวอย่างก. มีน้ำหนักตัว 60 กก. ซึ่งอยู่ในเกณฑ์ปกติ มีระดับกิจกรรมปานกลาง ความต้องการพลังงานของ ก. = 60 x 30= 1800 กิโลแคลอรี / วัน

  31. มีภาวะน้ำหนักตัวเกินหรือไม่ ? • ดัชนีมวลกาย = น้ำหนัก เป็น กิโลกรัม (ความสูงเป็น เมตร)2 > 23 คือ มีน้ำหนักตัวเกิน > 25 คือ มีภาวะอ้วน • น้ำหนักตัว(กิโลกรัม) ที่ควรจะเป็น คิดง่าย ๆ • ผู้ชาย = ความสูง(เซนติเมตร) - 100 • ผู้หญิง = ความสูง(เซนติเมตร) - 110

  32. ดัชนีมวลกาย (Body Mass Index หรือ BMI) • เป็นการประเมินภาวะโภชนาการเบื้องต้น เพื่อประเมินว่าคุณมีน้ำหนักตัวเหมาะสม หรือน้อยเกินไป หรือมากเกินไป • การคำนวนดัชนีมวลกาย (BMI) BMI = น้ำหนักตัว (กิโลกรัม) / ความสูง2 (เมตร2) • การแปลผล • < 18.5 = น้ำหนักน้อย • 18.5 – 22.9 = เหมาะสม • มากกว่าหรือเท่ากับ 23.0 = น้ำหนักเกิน • 23.0 - 24.9 = เริ่มอ้วน • 25.0 – 29.9 = อ้วน • มากกว่าหรือเท่ากับ 30.0 = อ้วนมาก

  33. ตัวอย่างอาหารที่ให้พลังงาน 1200 แคลอรี่

  34. คำอธิบาย • ข้าว 1 ส่วน คือ 1 ทัพพี • เนื้อสัตว์ 1 ส่วน คือ 2-4 ช้อนโต๊ะ • ผลไม้ 1 ส่วน คือ กินผลไม้ที่ไม่หวานได้ในขนาดเท่าส้มเขียวหวาน 1 ผล

  35. ตัวอย่างอาหารที่ให้พลังงาน 1500 แคลอรี่

  36. ตัวอย่างอาหารที่ให้พลังงาน 1800 แคลอรี่

  37. หลักการลดน้ำหนัก • กินอาหารน้อยลง 500 กิโลแคลอรี/วัน จากปกติ เป็นเวลา 1 สัปดาห์ ลดน้ำหนักได้ 0.5 กิโลกรัม ดังนั้น 1 เดือนจะลดได้ 2 กิโลกรัม • กินอาหารน้อยลง 1000 กิโลแคลอรี/วัน จากปกติ เป็นเวลา 1 สัปดาห์ ลดน้ำหนักได้ 1 กิโลกรัม ดังนั้น 1 เดือนจะลดได้ 4 กิโลกรัม

  38. การออกกำลังกาย • การออกกำลังกายแบบแอโรบิค เช่น เดินเร็ว วิ่งเหยาะ ๆ ถีบจักรยาน ว่ายน้ำ รำมวยจีน • ใช้เวลาตั้งแต่ 20-30 นาที ถึง1ชั่วโมง สัปดาห์ละ 3-5 วัน • งดการกระโดด ในผู้มีปัญหาเส้นเลือดในตา • ระวังการออกกำลังกายที่มากไป ในผู้มีโรคหลอดเลือดหัวใจ

  39. Oral Hypoglycemic drugs • Sulfonylurea • Non-sulfonylurea insulin secretatogue: repaglinide • Biguanide: metformin • Thiazolidinediones: pioglitazone, rosiglitazone • Alpha glucosidase inhibitors: acarbose, voglibose • Insulin • Human insulin: regular insulin, NPH, combination • Insulin analogue: lispro, aspart, glargine • Lipid lowering agents • Statin • Fibrate

  40. Mechanism of oral hypoglycemic agents Nutrition(carbohydrates) Intestine • Alpha-glucosidase inhibitor Metformin Insulin resistance I+G Glucose I+G I+G Insulin Insulin Increased glucose production Thiazolidinedione Sulfonylurea ,Repaglinide Impaired or no insulin secretion Increased or normal glucagon secretion

  41. Sulfonylureas: Clinical Considerations • Stimulate insulin release • Multiple agents available • 1st generation : chlopropamide • 2nd generation : clinically effective dose 5-20 mg/d, od-bid (glibenclamide, glipizide, gliclazide) • 3rd generation : glimepiride, once daily, dose 1-8 mg/d • Pharmacokinetics • All SU are completely absorbed • All SU are metabolized at liver • 1st generation agents are excreted by renal • 2nd and 3rd generation are excreted by both urine and bile

  42. Comparative pharmacokinetics of SU dose durationmetabolizesexcretion (mg) (hr) Chlorpropamide(250) 100-500 36-48 active/unchange urine Glibenclamide(5) 1.25-20 12-24 inactive/weakly active urine 50% feces 50% Glipizide(5) 2.5-40 8-10 inactive urine 80% feces 20% Glimepiride(2) 1-8 16-24 active urine 60% feces 40% Gliclazide(80) 40-320 6 99% inactive urine 60% unchanged Diamicron MR(30) 30-120 24

  43. Sulfonylurea Who will well response ? : sufficient residual  cell function • Onset of hyperglycemia after 30 years • Most effective early in course of disease (diagnosed < 5 years) • Fasting glucose level < 300 mg/dl • Comply with reasonable nutrition and exercise program • Not totally insulin deficit

  44. Sulfonylurea What is its contraindication ? • DM type 1 • Pancreatic damage • Severe stress • SU allergy • Pregnancy • Liver or renal failure

  45. Sulfonylurea • Hypoglycemia : the most serious complication esp. elderly, malnourished, adrenal/pituitary/ hepatic insufficiency, more than one OHD etc. • Low blood sugar control : in fever, trauma, infection or surgery (should change to insulin instead) • Pregnancy and nursing : Category C • Pediatric use : no sufficient data

  46. Metformin: Clinical Considerations • Insulin sensitizers • Decrease hepatic gluconeogenesis (main effect) • Enhance insulin stimulated glucose transport in skeletal muscle (indirect, due to improve glucotoxicity) • Decrease fatty acid oxidation 20% • Pharmacokinetics • 90% of compound excreted via urine within 12 hr (tubular secrete is major route) • Dosage consideration • Available 500 mg (850 mg) • Start 500 OD-BID then increment of one tablet every week upto 2,550 mg/day

  47. Metformin: Clinical Considerations • Patient Selection • Initial therapy in obese, insulin resistant patient • Consider use if dyslipidemia, high risk of CVD • Less hypoglycemia, limited weight gain

  48. Metformin in Overweight Patients Compared with conventional policy • 32% risk reduction in any diabetes-related endpoints p=0.0023 • 42% risk reduction in diabetes-related deaths p=0.017 • 36% risk reduction in all cause mortality p=0.011 • 39% risk reduction in myocardial infarction p=0.01

  49. Metformin: Side effects • Lactic acidosis : 0.03/1,000 pt-yr. fatal in 50% of cases • Gastrointestinal reactions : 30% • Dysgeusia (metallic taste) : 3% • Hematological reactions : megaloblastic anemia

  50. Metformin: Contraindications • Acute or chronic metabolic acidosis • Hypersensitivity • CHF • Renal insufficiency Cr  1.5 mg/dl in male , Cr  1.4 mg/dl in female • Impaired hepatic function • Age > 80 years • Temporarily discontinue in patient requiring iodinated radiocontrast media

More Related