1 / 13

พัฒนาการของภาคการเงิน

พัฒนาการของภาคการเงิน. การเติบโตที่ยั่งยืน ความสมดุลทั่วทั้งภูมิภาค และการพัฒนาสังคมเพื่อลดปัญหาความยากจน. เรณุกา วงศ์วิริยะธรรม ผู้อำนวยการ ฝ่ายบริหารความเสี่ยง ธนาคารจีอีมันนี่เพื่อรายย่อย. ภาคการเงินของไทย : ตอบรับการเปลี่ยนแปลงได้ดี. ภาพแจกแจงองค์ประกอบของภาคการเงิน.

nuru
Télécharger la présentation

พัฒนาการของภาคการเงิน

An Image/Link below is provided (as is) to download presentation Download Policy: Content on the Website is provided to you AS IS for your information and personal use and may not be sold / licensed / shared on other websites without getting consent from its author. Content is provided to you AS IS for your information and personal use only. Download presentation by click this link. While downloading, if for some reason you are not able to download a presentation, the publisher may have deleted the file from their server. During download, if you can't get a presentation, the file might be deleted by the publisher.

E N D

Presentation Transcript


  1. พัฒนาการของภาคการเงินพัฒนาการของภาคการเงิน การเติบโตที่ยั่งยืนความสมดุลทั่วทั้งภูมิภาคและการพัฒนาสังคมเพื่อลดปัญหาความยากจน เรณุกา วงศ์วิริยะธรรม ผู้อำนวยการ ฝ่ายบริหารความเสี่ยง ธนาคารจีอีมันนี่เพื่อรายย่อย

  2. ภาคการเงินของไทย : ตอบรับการเปลี่ยนแปลงได้ดี ภาพแจกแจงองค์ประกอบของภาคการเงิน • มีความสมดุลมากขึ้นภายในภาคการเงิน • จำนวนสถาบันการเงินภายใต้การดูแลของธนาคารแห่งประเทศไทยลดลง • ความเข้มแข็งของภาคการเงินไทยพัฒนาขึ้น • การเติบโตของเงินกู้สอดคล้องกับการเติบโตทางเศรษฐกิจ ตลาดตราสาร ตลาดหุ้น เงินกู้จากสถาบันการเงิน ที่มา: ธปท& กลต & การคาดคะเนของธนาคารโลก ขีดความเข้มแข็งทางการเงินของธนาคารพาณิชย์ในประเทศไทย ที่มา: ธนาคารแห่งประเทศไทย และ การคาดคะเนของธนาคารโลก ที่มา : ธปท & การคาดคะเนของธนาคารโลก

  3. มีการลงมือปฏิบัติตามแผนตามแผนพัฒนา (Master Plans) หลายแผน แผนพัฒนาระบบสถาบันการเงิน (2547 - 2552) แผนพัฒนาตลาดทุน ระยะ 2 (2549 - 2553) และแผนพัฒนารธุรกิจประกัน (2549) แผนพัฒนาการให้บริการทางการเงินระดับรากหญ้า(ร่าง) นโยบาย ขั้นตอนการปฏิบัติการ และการปฏิบัติการการกำกับดูแลของธปทได้รับการพัฒนาให้มีความมั่นคงและโปร่งใส พัฒนาการในบางหัวข้อของกฎระเบียบว่าด้วยเรื่องการบังคับใช้เงื่อนไขตามสัญญา กรอบแนวทางในการการไกล่เกลี่ยข้อพิพาทอย่างเป็นทางการได้ถูกพัฒนาขึ้น ศาลล้มละลายพิเศษได้ถูกจัดตั้งขึ้น ขั้นตอนการบังคับคดีมีความรวบรัดขึ้นเพื่อเร่งการประมูลขิงสินทรัพย์ที่ถูกยึด ศูนย์ข้อมูลเครดิตเริ่มปฏิบัติการและกฎหมายที่ใช้บังคับได้รับการแก้ไข การพัฒนาตลาดทุน มีพระราชบัญยัติหนี้สาธารณะฉบับใหม่ (บังคับใช้ปี 2548) ศูนย์ข้อมูลตราสารรวมอยู่ ณ ส่วนกลาง; ศูนย์รับฝากหลักทรัพย์กลางได้ถูกจัดตั้งขึ้น การบังคับใช้ของกฎหมายว่าด้วยเรื่องตราสารอนุพันธ์ ; ตลาดอนุพันธ์ (TFEX) ออกในปี 2549 ยกเลิกกฎหมายว่าด้วยเรื่องตลาดการเงินรายย่อย การปฏิรูปภาคการเงินที่สำคัญ

  4. ช่องว่างของการปฏิรูป • การปฏิรูประบบกฎหมายสำหรับการบังคับใช้เงื่อนไขตามสัญญาและธุรกรรมที่มั่งคง • กฎหมายธนาคารและกฎหมายธนาคารกลาง • การประกันเงินฝาก – เพื่อเพิ่มวินัยในตลาดการเงิน • การแก้ไขกฎหมายบริษัทมหาชน; กฎหมายหลักทรัพย์และตลาดหลักทรัพย์ ; กฎหมายธุรกิจประกัน • การกำกับดูแลสถาบันการเงินรายใหญ่และธุรกิจประกัน • ทิศทางของนโยบายของสถาบันการเงินพิเศษและแนวทางการปฏิบัติการ (รวมถึงการบริหารความเสี่ยง บรรษัทภิบาล และการกำกับดูแล) • การควบคุมการออกตราสารหรือหลักทรัพย์ของรัฐบาล • การควบคุมการใช้ประโยชน์จากศูนย์ข้อมูลเครดิต

  5. ความสามารถในการตอบรับการเปลี่ยนแปลงได้ดี- ยังไม่ได้มีการทดสอบ • มีผลประกอบการที่หลากหลาย • ธนาคารเอกชนรายใหญ่สามารถทนต่อความเปลี่ยนแปลงของสภาพเศรษฐกิจ • คู่แข่งรายย่อยต้องเสริมความเข้มแข็งของสัมปทานของตนเพื่อการแข่งขัน ที่มา: FitchRatings; Phatra Securities ที่มา: FitchRatings; Phatra Securities ฐานดอกเบี้ยของของธนาคารพาณิชย์ไทย ที่มา: FitchRatings; Phatra Securities

  6. ประเด็นที่ควรได้กับการปรับปรุงประเด็นที่ควรได้กับการปรับปรุง ความมีประสิทธิภาพ; ความเสี่ยงของหนี้สิน การจัดสรรทรัพยากร ที่มา : ธปท & การคาดคะเนของธนาคารโลก ที่มา : ธปท & การคาดคะเนของธนาคารโลก คุณภาพของสินทรัพย์ การเข้าถึงแหล่งบริการทางการเงิน Source: BOT & WB’s estimate Source: BOT & WB’s estimate

  7. มองไกลไปในอนาคต • การออมสำหรับวัยปลดเกษียณ & เพื่อการเจริญเติบโต • มีตัวกลางทางการเงินที่มีประสิทธิภาพ • การเปิดเสรีการบริการทางการเงิน • การเข้าถึงแหล่งบริการทางการเงิน ที่มา : สำนักงานสถิติแห่งชาติ & การคาดคะเนของธนาคารโลก

  8. มองไกลไปในอนาคต • การออมสำหรับวัยปลดเกษียณและเพื่อดอกผลที่งอกงาม • ออมพอแล้วหรือ? • จะเพิ่มผลตอบแทนของการออมอย่างไร? • ไม่ใช่เพื่อแต่การออมแต่เพื่อความไม่สิ้นแปลือง • เครื่องมือ • มีตัวกลางทางการเงินที่มีประสิทธิภาพ • ความสมดุลระหว่างความมีประสิทธิภาพและความมีเสถียรภาพ • กรอบแนวทางของโครงสร้างพื้นฐานและกฎหมาย • กลไกของตลาดและการกำกับดูแล • กลไกการออกจากตลาดที่มีประสิทธิภาพ • การเปิดเสรีการบริการทางการเงิน • หลีกเลี่ยงไม่ได้ • เมื่อไหร่และอย่างไร? • เตรียมความพร้อมสำหรับความผันผวน • การเข้าถึงแหล่งบริการทางการเงิน • ธุรกิจขนาดกลางและขนาดย่อม (SMEs ) • ครัวเรือนที่มีรายได้ต่ำ ที่มา : สำนักงานสถิติแห่งชาติ & การคาดคะเนของธนาคารโลก ที่มา: NI 1980-2001 and NI 2004

  9. ภาคผนวก

  10. ความร่วมมือทางในการพัฒนาภาคการเงินและขีดความสามารถในการแข่งขัน (CDP-FC ) ความร่วมมือทางในการพัฒนา (CDP) คือ ความร่วมมือทางความรู้ที่ให้การสนับสนุนในเชิงการให้คำปรึกษาในด้านนโยบาย ความช่วยเหลือทางด้านเทคนิคจากบุคคลที่สาม และการเพิ่มศักยภาพตามความต้องการของแต่ละหน่วยงาน • เริ่มเมื่อปี เมษายน ปี2546 • สืบเนื่องจากความช่วยเหลือเพื่อตอบรับผลกระทบของวิกฤตการณ์ทางเศรษฐกิจและความร่วมมือทางในการพัฒนาขีดความสามารถในการแข่งขัน (CDPC) – ซึ่งมุ่งเน้นการปฏิรูปโครงสร้างในระยะสั้นเพื่อรองรับวิกฤตการณ์ทางเศรษฐกิจ • มุ่งประเด็นสำคัญระยะกลางในการเพิ่มขีดความสามารถในการแข่งขันของภาคการเงินและธุรกิจ • สิ้นสุดมื่อมิถุนายน 2549 CDP-FC: CDP Financial and Corporate Sector Competitiveness CDPC: CDP Competitiveness

  11. องค์ประกอบทั้งหกของCDP-FCองค์ประกอบทั้งหกของCDP-FC • การเพิ่มความเข้มแข็งของกลยุทธ์และโครงสร้างของภาคการเงิน • เพิ่มการกำกับดูแลและกฏข้อบังคับ • พัฒนาความรวดเร็วและคุณภาพของการปรับโครงสร้างหนี้สินของบริษัท • เพิ่มตัวกลางในการปรับสมดุลความเสี่ยง • พัฒนาบรรษัทภิบาล • การพัฒนาตลาดทุน

  12. ผลลัพธ์ของCDP-FC • ส่งเสริมการเจริญเติบโตอย่างยั่งยืน • ลดความหวั่นไหว ความถี่ และต้นทุนของความถดถอยของสภาพเศรษฐกิจ • พัฒนาการจัดสรรทรัพยากรสู่การใช้ที่ก่อให้เกิดผล • เพิ่มความแน่นอนของการเข้าถึงสินทรัพย์และโอกาสสร้างรายได้สำหรับทุกๆภาคในสังคม

  13. ผลลัพธ์ของCDP-FCในระยะกลางผลลัพธ์ของCDP-FCในระยะกลาง

More Related