1 / 15

2 ชนิดของตัวแปรและตัวดำเนินการ

2 ชนิดของตัวแปรและตัวดำเนินการ. วัตถุประสงค์ เพื่อให้ผู้เรียนมีความเข้าใจตัวแปรและตัวดำเนินการ เพื่อให้ผู้เรียนเขียนโปรแกรมโดยการใช้ตัวแปรกับตัวดำเนินการได้ เพื่อให้ผู้เรียนสามารถเขียนโปรแกรมภาษาจาวาได้อย่างถูกหลักการ. การเขียนโปรแกรมเชิงวัตถุเบื้องต้น. เนื้อหา

Télécharger la présentation

2 ชนิดของตัวแปรและตัวดำเนินการ

An Image/Link below is provided (as is) to download presentation Download Policy: Content on the Website is provided to you AS IS for your information and personal use and may not be sold / licensed / shared on other websites without getting consent from its author. Content is provided to you AS IS for your information and personal use only. Download presentation by click this link. While downloading, if for some reason you are not able to download a presentation, the publisher may have deleted the file from their server. During download, if you can't get a presentation, the file might be deleted by the publisher.

E N D

Presentation Transcript


  1. 2 ชนิดของตัวแปรและตัวดำเนินการ • วัตถุประสงค์ • เพื่อให้ผู้เรียนมีความเข้าใจตัวแปรและตัวดำเนินการ • เพื่อให้ผู้เรียนเขียนโปรแกรมโดยการใช้ตัวแปรกับตัวดำเนินการได้ • เพื่อให้ผู้เรียนสามารถเขียนโปรแกรมภาษาจาวาได้อย่างถูกหลักการ

  2. การเขียนโปรแกรมเชิงวัตถุเบื้องต้นการเขียนโปรแกรมเชิงวัตถุเบื้องต้น • เนื้อหา • กฎการตั้งชื่อตัวแปร ค่าคงที่ คำสงวน • รูปแบบประโยคคำสั่ง • ชนิดของตัวแปร • นิพจน์หรือสมการของโปรแกรม • ลำดับการทำงานของตัวดำเนินการ

  3. องค์ประกอบการเขียนโปรแกรมองค์ประกอบการเขียนโปรแกรม • 1. ชื่อของตัวแปร(Identifiers) • 2. คำสงวน(Keywords) • 3. ค่าคงที่ (Constants) • 4. ประโยคคำสั่ง (Statement) • 5. คำอธิบาย (Comment) • 6. นิพจน์ (Expression) • 7. ตัวดำเนินการ (Operator)

  4. ชื่อของตัวแปร (Identifiers) ชื่อตัวแปร(variables) ชื่อคลาส(class) ชื่อเมธอด(methods) หรือไฟล์ (files) เรียกว่า identifier หมายถึงชื่อสำหรับอ้างอิงถึงพื้นที่ในหน่วยความจำ โดยการโปรแกรมนิยมนิยมแบ่งตัวแปรเป็น 2 ชนิด คือตัวแปรตัวเลข (Numeric Variable) และตัวแปรตัวอักษร (String Variable) ID = 5311105 ITEM$ = “ICE_TRU“ ในการเขียนโปรแกรมก่อนเรียกใช้ตัวแปร ต้องทำการประกาศตัวแปรก่อนเสมอ โดยกำหนดว่าเป็นข้อมูลชนิดใด ซึ่งอาจประกาศตัวแปรพร้อมกำหนดค่าของตัวแปรครั้งเดียวกันก็ได้ หรือประกาศชนิดตัวแปรก่อนแล้วมาทำการกำหนดค่าตัวแปรภายหลังก็สามารถกระทำได้

  5. กฎการตั้งชื่อตัวแปร คลาส เมธอด มีดังนี้

  6. Java Basic Literals 1) การระบุค่าสำหรับกลุ่มข้อมูลที่เป็นจำนวนเต็ม - ทำได้ 3 แบบคือ (a) ระบุค่าเป็นตัวเลขธรรมดา(ฐานสิบ) เช่น 22, 2551, 2008 (b) ระบุค่าเป็นตัวเลขในรูปแบบเลขฐานแปด ด้วยการเขียนเลขศูนย์นำ เช่น 011, 023, (c) ระบุค่าเป็นตัวเลขในรูปแบบเลขฐานสิบหก ด้วยการเขียน 0x นำเช่น 0x102) การระบุค่าสำหรับกลุ่มข้อมูลที่เป็นเลขทศนิยม (a) เขียนแบบเลขทศนิยมธรรมดา เช่น 3.1424399, 4.00 (b) เขียนแบบมีค่าสิบยกกำลัง เช่น 2E9 (สองคูณสิบยกกำลัง 9)3) การระบุค่าสำหรับข้อมูลประเภทตัวอักษร (char) (a) เขียนระบุตัวอักษรไว้ใน '(single quote) เช่น 'a', 'B', 'ก' (b) เขียนระบุอักขระพิเศษ เช่น '\n', '\t', '\r' (c) เขียนระบุหมายเลขรหัสของอักขระ เช่น '\u0E01', '\u0041'

  7. Java Basic Expression เมื่อประกาศตัวแปรมาใช้งาน สามารถกำหนดค่าให้กับตัวแปรเหล่านั้นใหม่ได้ เช่น ด้วยคำสั่งกำหนดค่า ดังตัวอย่างต่อไปนี้ char c = 'A'; c = 'F'; c = '\u0E01'; กรณีที่ตัวแปรเป็นตัวเลข เราสามารถ เขียนสมการฝั่งซ้ายมือให้จาวาประมวลผลก่อนกำหนดค่าให้กับตัวแปรด้านขวามือ ได้ ดังตัวอย่างต่อไปนี้ int x = 2+2; int y = 3/3+9; int z = 4-2*2; ในสมการจาวาจะคิดจากในวงเล็บก่อน(ถ้ามี) จากนั้นค่อยคิดเครื่องหมาย * หรือ / แล้วแต่ว่าจะเจออันไหนก่อน แล้วค่อยไปคิด + กับ – โดยเริ่มจากด้านซ้ายไปขวา int x = 2+2; int y = 3/3+9; int z = 4+3*x+y*y;

  8. Java Basic Expression กรณีที่มีการประมวลผลระหว่างข้อมูลประเภทจำนวนเต็มกับทศนิยม จาวาจะให้ผลลัพธ์ออกมาเป็นทศนิยม เนื่องจากสามารถเก็บค่าได้มากกว่านั่นเองเช่น double x = 2.2; int y = 3 ซึ่งถ้านำ x มาบวกกับ y จะให้ผลลัพธ์ออกมาเป็น double ดังนั้นเราจึงต้องประกาศ z ดังนี้ double z = x+y;

  9. การบ้าน • ให้นักศึกษาเขียนโปรแกรมภาษาจาวา ให้สามารถแสดงชื่อนักศึกษาและข้อความอื่นตามต้องการอย่างน้อย 5 บรรทัด • ให้นักศึกษาเขียนโปแกรมให้ผลการทำงานเป็นดังรูปด้านล่าง

More Related