1 / 113

บทที่ 6 การสืบค้นสารสนเทศ

บทที่ 6 การสืบค้นสารสนเทศ. อ. ธนพรรณ กุลจันทร์. บัตรรายการ vs ห้องสมุดออนไลน์. ค้นหาสารสนเทศในห้องสมุด  รายการห้องสมุด ( Library Catalog) ให้รายละเอียดของทรัพยากรสารสนเทศประเภทต่างๆ เช่น ผู้แต่ง ชื่อเรื่อง ปีที่พิมพ์ สถานที่พิมพ์ สำนักพิมพ์ คำค้น

Télécharger la présentation

บทที่ 6 การสืบค้นสารสนเทศ

An Image/Link below is provided (as is) to download presentation Download Policy: Content on the Website is provided to you AS IS for your information and personal use and may not be sold / licensed / shared on other websites without getting consent from its author. Content is provided to you AS IS for your information and personal use only. Download presentation by click this link. While downloading, if for some reason you are not able to download a presentation, the publisher may have deleted the file from their server. During download, if you can't get a presentation, the file might be deleted by the publisher.

E N D

Presentation Transcript


  1. บทที่ 6 การสืบค้นสารสนเทศ อ. ธนพรรณ กุลจันทร์

  2. บัตรรายการ vs ห้องสมุดออนไลน์ ค้นหาสารสนเทศในห้องสมุด  รายการห้องสมุด (Library Catalog) ให้รายละเอียดของทรัพยากรสารสนเทศประเภทต่างๆเช่น ผู้แต่ง ชื่อเรื่อง ปีที่พิมพ์ สถานที่พิมพ์ สำนักพิมพ์ คำค้น • เดิม: บัตรรายการ • ปัจจุบัน: รายการห้องสมุดออนไลน์ (Online Public Access Catalog) เรียกย่อๆ ว่า OPAC

  3. ตัวอย่าง

  4. จากสิ่งพิมพ์สู่อิเล็กทรอนิกส์ และอินเทอร์เน็ต Printed  Nonprinted (Electronic) ได้แก่ • หนังสืออิเล็กทรอนิกส์ (e-Book) • บทความอิเล็กทรอนิกส์ (e-Article) • วารสารอิเล็กทรอนิกส์ (e-Journal) เนื่องจากมี Internet  เก็บข้อมูลได้มาก ระดับ Gigabyte(GB) และ Terabyte (TB) การค้นต้องใช้ โปรแกรมค้นหา (Search Engine)

  5. จากสิ่งพิมพ์สู่อิเล็กทรอนิกส์ และอินเทอร์เน็ต Reader • Computer • Reading device / e-book reader (ex. Kindle) • Mobile ex. iPOD, PDA และ Pocket PC

  6. จากสิ่งพิมพ์สู่อิเล็กทรอนิกส์ และอินเทอร์เน็ต การค้นฐานข้อมูล • การค้นสารสนเทศอิเล็กทรอนิกส์ เช่น ฐานข้อมูลห้องสมุด ฐานข้อมูลเชิงพาณิชย์ และโปรแกรมค้นหา • ต้องการทักษะการค้นฐานข้อมูล

  7. จากสิ่งพิมพ์สู่อิเล็กทรอนิกส์ และอินเทอร์เน็ต กลวิธีการสืบค้นสารสนเทศ (2) • การกำหนดคำค้น • การค้นโดยใช้ศัพท์ควบคุม และ • การค้นโดยใช้ศัพท์แบบไม่ควบคุม • เทคนิคการค้นฐานข้อมูล • การใช้ตัวดำเนินการ (Operators) • การค้นเฉพาะส่วน (Field Search) • การจำกัดการค้น (Search Limit)

  8. การกำหนดคำค้น • การค้นโดยใช้ศัพท์ควบคุม (Controlled Vocabulary) • หัวเรื่อง (Subject Heading) หรือ เนื้อหา (Subject) • ศัพท์สัมพันธ์ (Thesaurus) • การค้นโดยใช้ศัพท์แบบไม่ควบคุม

  9. การกำหนดคำค้น Ex. การกำหนด ศัพท์ควบคุม แทนสาระเนื้อหา เช่น Continuing education Continuous learning Lifelong learning Lifelong education Span education

  10. หัวเรื่อง กัมมันตภาพรังสี คำทั่วไป กัมมันตรังสี สารกัมมันตภาพรังสี สารกัมมันตรังสี ตัวอย่างของหัวเรื่องภาษาไทย

  11. การกำหนดคำค้น ข้อดี ได้เอกสารที่ครอบคลุมเนื้อหาเดียวกัน หรือเกี่ยวข้องกันได้อย่างกว้างขวาง และครบถ้วน ตรงต่อความต้องการ โดยที่ผู้ใช้ไม่ต้องรู้จัก หรือ นึกถึงคำศัพท์ อื่นๆ เองทั้งหมด ทำให้การค้นมีประสิทธิภาพ

  12. การกำหนดคำค้น • กำหนดโดยใช้สาระเนื้อหา โดยรวมของเอกสาร • อาจกำหนดได้มากกว่า 1 คำ ตามเนื้อหา • การกำหนดอาจใช้คู่มือมาตรฐานหรือคู่มือที่สถาบันกำหนดเอง เช่น • Library of Congress Subject Headings-LCSH • Agricultural Thesaurus • ERIC Thesaurus

  13. ตัวอย่าง Thesaurus Cat BT:mammal NT:siamese cat RT:flea (หมัด) UF:feline

  14. การกำหนดคำค้น ข้อเสีย • บางฐานข้อมูลไม่ใช้ controlled vocabulary เช่น • Search Engine • Gateway to Astronaut Photography of Earth ของนาซ่า • ฐานข้อมูลมักใช้มาตรฐานการศัพท์ควบคุมที่แตกต่างกัน

  15. ตัวอย่าง:ความแตกต่างของการกำหนดคำของศัพท์สัมพันธ์ และหัวเรื่องที่ห้องสมุดนิยมใช้

  16. คำศัพท์แบบไม่ควบคุม (Uncontrolled vocabulary) คำศัพท์แบบไม่ควบคุมหรือ ภาษาธรรมชาติ(Natural Language) คือ คำที่ปรากฏในการเขียน เช่น ชื่อผู้แต่ง (Author) ชื่อเรื่อง (Title) สาระสังเขป (Abstract) หัวเรื่อง (Subject Heading) เนื้อเรื่อง (Text) หรือเว็บไซต์ (Website) นำมาจัดทำรายการศัพท์ดรรชนี

  17. ข้อดีของคำสำคัญ • กำหนดได้ง่าย • กำหนดศัพท์ใหม่ ๆ ได้ ข้อเสียของคำสำคัญ สารสนเทศบางรายการที่ได้เนื้อหาอาจไม่ตรงกับที่ต้องการ ผลที่ได้ไม่ครอบคลุม - ค้นได้แต่เอกสารที่ใช้คำค้นนั้น

  18. วิธีการกำหนดคำสำคัญ • เลือกคำนาม • ตัดคำเชื่อม คำบุพบท คำขยายความออกเช่น a, an, the, in, on, under • ใช้ศัพท์ที่เป็นที่นิยม เช่น • DDT • Dichloro-dipheny-tricloroethane • กำหนดหลาย ๆ คำ ให้ครอบคลุมเนื้อหา (ผลค้นจะได้เจาะจงมากขึ้น)

  19. วิธีการกำหนดคำสำคัญ • เพิ่มคำที่พ้องความหมาย (เชื่อมด้วย or) • Cat, moggy, gib (แมวตัวผู้), kittyfeline (สัตว์ตระกูลแมว) • หมา สุนัข • ใช้ Operator ช่วย ได้แก่ and, or, not, near, *, ( )

  20. วิธีการกำหนดคำสำคัญ • คำข้างเคียง หรือคำสัมพันธ์ อาจใช้คู่มือช่วย • หัวเรื่อง - Sears List of Subject Heading • ศัพท์สัมพันธ์ – Roget Thesaurus หากไม่มีให้ใช้ subject heading ใน CMUL OPAC เป็นแนวทางได้

  21. CMUL OPAC

  22. วิธีการค้นฐานข้อมูล • Search = กำหนดค้น • คือการกำหนดคำสั่งในการค้น ประกอบด้วย • ตัวดำเนินการ (operator) - Boolean • ระยะคำ (proximity) • คำสั่งตัดปลาย (Truncation) • การค้นเฉพาะส่วน (Search Limit หรือ Field search)

  23. Boolean logic – and, or, not 1 2 3 Information Technology

  24. ตัวอย่างการใช้ Boolean ความหมายเหมือนกัน • bicycling OR biking • television OR TV ตำแหน่งและความหมายของ Boolean • water AND soil AND erosion • water AND soil NOT erosion • (water AND soil) NOT erosion

  25. ตัวอย่างการใช้ Boolean • ความหมายเหมือนกัน – ความสำคัญของวงเล็บ • bicycling OR biking • television OR TV • bicycling OR biking AND Hawaii • (bicycling OR biking) AND Hawaii • Hawaii AND bicycling OR biking

  26. ตัวอย่างการใช้ Boolean แก้ไข cancer AND women OR female cancer AND (women OR female) (television OR TV) NOT radio (water AND soil) NOT erosion

  27. ระยะคำ (Proximity) • ฐานข้อมูล OhioLINK • water NEARenvironmentwater NEAR10environment • water NEAR5 environment • ฐานข้อมูล EBSCOhost • water N5 environment • ฐานข้อมูล DIALOG • Water W/5 environmentwithหรือ within

  28. การค้นเป็นวลี (Phase Search) • ใช้เครื่องหมายอัญประกาศคร่อมวลีที่ต้องการ • “ “ • ตัวอย่างเช่น • “Change has come to America” • “Barack Obama”

  29. การค้นแบบตัดปลาย (Truncation) • หรืออาจเรียกว่าเครื่องหมาย Wildcards • ใช้เครื่องหมาย * ? ! • แทนตัวอักษรใด ๆ หนึ่งหรือมากกว่าหนึ่งตัวอักษร • ตัวอย่างเช่น • educat* • educate, educating, educational, educator, educators • colo*r • color, colour

  30. การใช้หลายเครื่องหมายร่วมกันการใช้หลายเครื่องหมายร่วมกัน (television OR TV) AND educat*

  31. การกำหนดค้นเฉพาะส่วน (Field search)การจำกัดการค้น (Limit Search)หรือการค้นขั้นสูง (Advance Search) • การค้นเฉพาะส่วน (Field Search) คือการค้นเฉพาะเขตข้อมูล (Field) เช่น • ชื่อเรื่อง, ชื่อผู้แต่ง, ปีทีพิมพ์, เลขหมู่หนังสือ, ISBN • การค้นเฉพาะส่วน • Google: title:environment • APL: PDN(12/12/2008)

  32. การจำกัดการค้น (Field Search)ใน CMUL OPAC

  33. ตัวอย่าง • การจำกัดการค้น (Limit search) คือการค้นโดยจำกัดข้อมูลบางส่วนเช่น • ภาษาที่ใช้, ระยะเวลา, สถานที่, ประเภทเอกสาร (html, pdf, ppt), web site • การจำกัดการค้น • Google: environment date:3

  34. เมนูกำหนดจำกัดการค้น ของฐานข้อมูล CMUL OPAC

  35. คำอธิบายส่วนช่วยเหลือการค้นข้อมูลคำอธิบายส่วนช่วยเหลือการค้นข้อมูล ตัวอย่างจากฐานข้อมูล ERIC

  36. คำอธิบายส่วนช่วยเหลือการค้นข้อมูลคำอธิบายส่วนช่วยเหลือการค้นข้อมูล ตัวอย่างจากฐานข้อมูล CMUL OPAC

  37. ระดับการค้นหา • การค้นขั้นพื้นฐาน (Basic search)ใช้ได้แต่ Boolean • การค้นระดับลึก (Advance search)ใช้ได้ทั้ง Boolean + Field search + Limit search

  38. การค้นขั้นพื้นฐาน (Basic search) Irrigation AND rice AND "South East Asia"

  39. การค้นระดับลึก (Advance search)

  40. ระดับการค้นหา • การค้นขั้นพื้นฐาน (Basic search)ใช้ได้แต่ Boolean • การค้นระดับลึก (Advance search)ใช้ได้ทั้ง Boolean + Field search + Limit search

  41. การสืบค้นฐานข้อมูลห้องสมุด ฐานข้อมูลเชิงพาณิชย์ และอินเทอร์เน็ต ฐานข้อมูลที่มีให้บริการ • CMUL OPAC • Digital Collection • e-Books + Electronic Database

  42. ฐานข้อมูลของ มช.

  43. ฐานข้อมูลสำนักหอสมุด มช http://library.cmu.ac.th

  44. CMUL OPAC

More Related