1 / 29

การบรรยาย เรื่อง....

การบรรยาย เรื่อง. ปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงกับการพัฒนา ด้านการพัฒนาสังคมและชุมชน. โดย อาจารย์วิชัย รูปขำดี คณบดีคณะพัฒนาสังคม สถาบันบัณฑิตพัฒนบริหารศาสตร์. พรหมแดนแห่งวิชาเศรษฐศาสตร์. 1. เศรษฐศาสตร์กระแสหลัก ( Main stream economics : Neo – Classical School).

orrick
Télécharger la présentation

การบรรยาย เรื่อง....

An Image/Link below is provided (as is) to download presentation Download Policy: Content on the Website is provided to you AS IS for your information and personal use and may not be sold / licensed / shared on other websites without getting consent from its author. Content is provided to you AS IS for your information and personal use only. Download presentation by click this link. While downloading, if for some reason you are not able to download a presentation, the publisher may have deleted the file from their server. During download, if you can't get a presentation, the file might be deleted by the publisher.

E N D

Presentation Transcript


  1. การบรรยาย เรื่อง.... ปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงกับการพัฒนา ด้านการพัฒนาสังคมและชุมชน โดย อาจารย์วิชัย รูปขำดี คณบดีคณะพัฒนาสังคม สถาบันบัณฑิตพัฒนบริหารศาสตร์

  2. พรหมแดนแห่งวิชาเศรษฐศาสตร์พรหมแดนแห่งวิชาเศรษฐศาสตร์ 1. เศรษฐศาสตร์กระแสหลัก (Main stream economics : Neo – Classical School) 2. เศรษฐศาสตร์กระแสรอง/ทางเลือก • เศรษฐศาสตร์สังคมนิยม (Socialism economics) • เศรษฐศาสตร์สถาบัน (Institutional economics) • เศรษฐศาสตร์มนุษย์นิยม (Humanism economics) • พุทธเศรษฐศาสตร์ (Buddhist economics) • เศรษฐกิจพอเพียง (Sufficiency economy)

  3. ฐานคติของเศรษฐศาสตร์กระแสหลักฐานคติของเศรษฐศาสตร์กระแสหลัก ค.ศ.1800-1900 ทุนนิยม (Capitalism) Mass consumption สุขเกิดจากเสพย์ Mass production ค.ศ.2000 ทุนนิยมเสรี + โลกาภิวัตน์ (Globalization) Mass consumption เสพย์ สุข สื่อ Mass production ค.ศ.1750 Wealth of the Nations การค้าขายกับต่างประเทศ การส่งอาณานิคม เกิดจาก เกิดจาก : Efficiency of growth สงครามอาวุธ สงครามเย็น สงครามเศรษฐกิจ

  4. ฐานคติของเศรษฐศาสตร์กระแสรอง/กระแสทางเลือกฐานคติของเศรษฐศาสตร์กระแสรอง/กระแสทางเลือก 1 เศรษฐศาสตร์สังคมนิยม ค.ศ.1990 ค.ศ.2000 : Distribution of growth 2 เศรษฐศาสตร์สถาบัน 3 เศรษฐศาสตรมนุษย์นิยม 4 พุทธเศรษฐศาสตร์ Small is beautiful 5 เศรษฐกิจพอเพียง Sufficiency economy

  5. ความสุดโต่งและทางสายกลางของระบบเศรษฐกิจความสุดโต่งและทางสายกลางของระบบเศรษฐกิจ กระแสรอง/กระแสทางเลือก เศรษฐกิจทุนนิยม (Capitalism economy) เศรษฐกิจสังคมนิยม (Socialism economy) กระแสหลัก เข้าใจ ธรรมชาติมนุษย์ ยอมรับ ข้อจำกัด เศรษฐกิจพอเพียง (Sufficiency economy) โลกาภิวัตน์ ชี้โทษ ให้เห็นทุกข์ ชี้จุดอ่อน ให้แก้ไข เศรษฐกิจการค้า/เศรษฐกิจตาโต(Trade economy) เศรษฐกิจหลังเขา (Self-sufficiency economy) • ไม่มีขอบเขตประเทศ ทั้งบนโลกในอวกาศ(ใช้ space ในอวกาศเป็นสินทรัพย์- กำลังจับจองพื้นที่บนดาวดวงอื่น • พึ่งตนเอง 100 % - ปิดประเทศ

  6. แหล่งทำความเข้าใจเรื่องเศรษฐกิจพอเพียง (ภาคทฤษฎี) • พระราชดำรัสและพระราชดำริที่เกี่ยวข้องในโอกาสต่าง ๆ (สศช.และนิด้ารวบรวม) • หลักคำสอนที่เกี่ยวข้องในพุทธศาสนาและศาสนาอื่น ๆ • E.F. Schumacher, Small is Beautiful 1973 • งานวิจัย เช่น สังสรรค์, ชนพรพันธ์ นิธิเอียวศรีวงศ์, เสน่ห์ จามริกปรีชา เปี่ยมพงษ์สานต์ และคณะ อภิชัย พันธเสน (เศรษฐกิจพอเพียงของพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวกับความเข้าใจของนักเศรษฐศาสตร์) • เอกสารอื่น ๆ

  7. แหล่งทำความเข้าใจเรื่องเศรษฐกิจพอเพียง (ภาคปฏิบัติ) • ศูนย์ศึกษาการพัฒนา 6 แห่งในภูมิภาคต่าง ๆ • โครงการพระราชดำริส่วนใหญ่ ราว 2 พันโครงการ • กิจกรรมของชุมชนและองค์กรเครือข่ายต่าง ๆ เช่น คกร. กสิกรรมธรรมชาติ ไม้เรียง วังน้ำเขียว ชุมพรคาบาน่า ฯลฯ • กรณีศึกษา บุคคล ครอบครัว ชุมชน • กรณีการนำเศรษฐกิจพอเพียงไปปฏิบัติอื่น ๆ

  8. พุทธเศรษฐศาสตร์ (Buddhist economy) • ช่วง 45 ปี ก่อนพุทธศักราช สอนในอินเดีย ตำราที่อ้างอิงได้ในปัจจุบันคือพระไตรปิฎก • มีการนำมาปฏิบัติกันในโลกมากบ้าง น้อยบ้าง เข้มข้นบ้าง ผิวเผินบ้าง ปะปนกับแนวคิดอื่นบ้างกว่า 2500 ปี ที่ผ่านมา • ค.ศ.1973 (พ.ศ. 2516) E.F. Schumacher เขียนเป็นบทหนึ่งในหนังสือ Small is Beautiful, Economics as if people mattered • 2544 อภิชัย พันธเสน พุทธเศรษฐศาสตร์ • งานวิจัย ค้นคว้า รวบรวมอื่น ๆ เกี่ยวกับพุทธเศรษฐศาสตร์

  9. รูปแบบความสมดุลเหมาะสม พอดี ในทัศนะทางวิทยาศาสตร์ กรณีมวลเท่ากัน กรณีมวลไม่เท่ากัน สำลี ไม้ สำลี เหล็ก

  10. ความพอเพียงในทัศนะวิชาปรัชญาความพอเพียงในทัศนะวิชาปรัชญา พอเพียง/พอดี ทางสายกลาง สุขนิยม (Hedonism) อสุขสิยม (Non-hedonism) เสพย์สุข/บริโภค แบบสุดโต่ง สุขจอมปลอม ลด/ละ แบบสุดโต่ง สุขหลุดโลก พอเพียง สายกลาง สุขที่สมดุยล์

  11. ไตรวิกฤตของโลก และข้อจำกัดการพัฒนา (Three Major Problems Threatening World Survival and Limit to Growth) อดีต ปัจจุบัน และอนาคต • ขาดอาหาร • ขาดพลังงาน • ขาดทรัพยากรอื่น ๆ • ฯลฯ • น้ำเสีย • ดินเสื่อม • อากาศพิษ • - ขยะล้น • - ชุมชนแดอัด • ฯลฯ โลก การพัฒนา เศรษฐกิจ การพัฒนาเศรษฐกิจ แบบทุนนิยม ที่ขาดความ พอเพียง ปริมาณ ทรัพยากร อาหาร และพลังงาน คุณภาพ สิ่งแวดล้อม ปริมาณ ทรัพยากร อาหาร พลังงาน คุณภาพ สิ่งแวดล้อม ๑. การพัฒนาเศรษฐกิจที่ผิดทิศทาง (มิจฉาทิฐิ ศีลธรรมไม่กลับมาโลกาจะวินาศ) ๒. การขาดแคลนทรัพยากรธรรมชาติ ๓. ความเสื่อมโทรมของสิ่งแวดล้อม • รายได้เหลื่อมล้ำ • การอพยพ/ลี้ภัยทาง ศก. • โรคติดต่อร้ายแรง • การก่อการร้ายที่รุนแรง • อุณหภูมิโลกสูง / น้ำท่วม • การทำลายชั้นโอโซน • การทำลายป่าฝน / มีฝนกรด • โรคร้ายจากมลพิษ ความไม่มั่นคงของมนุษย์ (Human Insecurity)

  12. ปริมาณ ยุคหลังฟอสซิล ยุคเชื้อเพลิง ฟอสซิล นิวเคลียร์ ก๊าซธรรมชาติ พลังงานไบโอ น้ำมัน ถ่านหิน เวลา พ.ศ. ค.ศ. 2343 1800 2443 1900 2543 2000 2643 2100 2743 2200 2843 2300 1859 การใช้ทรัพยากรพลังงานของโลก

  13. ทฤษฎีเศรษฐศาสตร์กับทฤษฎีพัฒนาทฤษฎีเศรษฐศาสตร์กับทฤษฎีพัฒนา Adam Smith : Wealth of the Nations ค.ศ. 1950 ถึง 1970s • Capital accumulation/Market failure (Stages of growth, Big Push etc.) • Active government ค.ศ. 1970s ถึงปัจจุบัน • Neo liberalism • Government Failure

  14. Functional-Structural School เน้นการทำหน้าที่ของระบบใหญ่ ระบบย่อย และความสัมพันธ์ของระบบย่อย เพื่อดุลยภาพของระบบ การปรับตัวของระบบเกิดขึ้นเมื่อองค์ประกอบหรือความสัมพันธ์เปลี่ยน (Moving equilibrium) 2. Conflict School ในระบบสังคมมีความขัดแย้งโดยธรรมชาติระหว่าง Super ordinate และ Subordinate ความขัดแย้งอาจอยู่ในสภาพแฝงเร้น (Latent interest หรือ ชัดแจ้ง (Manifest interest) สองสำนักคิดทางสังคม

  15. สำนักคิด / ทฤษฎีหลัก (Grand Theory) 1. โครงสร้าง – หน้าที่ (Functional Structural) เช่น - ทฤษฎีการเติบโตทางเศรษฐกิจ (Growth Theory) - ทฤษฎีภาวะความทันสมัย (Modernization Theory) ทฤษฎีสังคมกับทฤษฎีพัฒนา ระดับของทฤษฎี กระแสหลัก กระแสรอง 2. ความขัดแย้ง (Conflict) เช่น - ทฤษฎีด้อยพัฒนา (Under Development Theory) - ทฤษฎีพึ่งพา (Dependency Theory) -ทฤษฎีมูลค่าส่วนเกิน (Surplus Value Theory) ทฤษฎีระดับกลาง (Middle range Theories) กฎของอุปสงค์ – อุปทาน (Low of Demand and Supply) ทฤษฎีจุลภาค (Micro Theories)

  16. สำนักคิด/ทฤษฎีมหภาค (Grand Theory) ส่วนที่ยังขาดของทฤษฎีสังคมและทฤษฎีพัฒนา กระแสทางเลือก ระดับของทฤษฎี กระแสหลัก กระแสรอง สำนักคุณธรรม (Moralist) โครงสร้างหน้าที่ ความขัดแย้ง เป็นทฤษฎีภายใต้แนวคิด และการครอบงำของระบบ ทุนนิยม เน้น สะสมทุน วัตถุนิยม บริโภคนิยม - เศรษฐกิจพอเพียง (Sufficiency Economy) - ทฤษฎีใหม่ ฯลฯ เน้นความพอเพียงในชีวิตที่เป็นจริง ทฤษฎีระดับกลาง (Middle range Theories)

  17. การเปรียบเทียบระหว่างองค์ประกอบการวิเคราะห์ของ 3 กลุ่ม แนวคิด

  18. สถานภาพขององค์ความรู้เศรษฐกิจพอเพียงสถานภาพขององค์ความรู้เศรษฐกิจพอเพียง • เริ่มจากพระราชดำริ • นักวิชาการเขียนเอกสาร • สศช. (สภาพัฒน์) บรรจุในแผนฯ 9 • นิด้า ตั้งศูนย์ศึกษาเศรษฐกิจพอเพียง 2547 • อยู่ระหว่างนำไปประยุกต์ขยายผล

  19. นโยบายของรัฐที่สอดคล้องและไม่สอดคล้องกับเศรษกิจพอเพียงนโยบายของรัฐที่สอดคล้องและไม่สอดคล้องกับเศรษกิจพอเพียง

  20. ปรากฏการณ์ของปัญหาการขับเคลื่อนเศรษฐกิจพอเพียงปรากฏการณ์ของปัญหาการขับเคลื่อนเศรษฐกิจพอเพียง ระดม / เสนอความเห็น รับข้อเสนอ / จัดทำแผน แผน9 : ใช้เศรษฐกิจพอเพียงเป็นปรัชญานำทาง 1. พ.ศ. 2543 2. สภาพัฒน์ ใช้เศรษฐกิจพอเพียง พัฒนาประเทศ 1. ไม่มีเป้าหมายและกลไกรองรับ เน้นกระตุ้นเศรษฐกิจ / การลงทุน/ การบริโภค ใช้ นโยบาย ประชานิยม (ชูเอื้องอาทร) จึง 2. ไม่สน 3. รัฐบาล 3. ไม่ทำ รวมศูนย์ CEO ปรับโครงสร้างวางอาณาจักรใหม่ มุ่งสนองนโยบายหาเงินและใช้เงิน 4. หน่วยงานภาครัฐ 4. ไม่เข้าใจ 5. ไม่เกี่ยว มุ่งแข่งขัน ตามก้นฝรั่ง คลั่งตลาดหุ้น คิดว่าเศรษฐกิจพอเพียงเป็นเรื่องเกษตรรายย่อย คนจน ...สรุปว่า 5. ภาคธุรกิจ เอกชน 6. ไม่กล้า ไม่เข้าใจ ไม่มีปัจจัยที่จำเกษตร จึงคิดว่า 6. คนในเมือง ไม่รู้ไม่มีปัจจัยที่จะทำถูกครอบงำด้วยอบายมุข มีส่วนน้อยที่อยากทำแต่ก็ 7. คนในชนบท

  21. ขอบข่ายงานที่นิด้าดำเนินการเกี่ยวกับเศรษฐกิจพอเพียง (Sufficiency Economy : SE) 1. สำรวจพรมแดนองค์ความรู้ 2. ค้นคว้า วิจัย ขยายองค์ความรู้ และรวบรวมจัดระบบข้อมูลสารสนเทศ 3. จัดทำหลักสูตร การสอนและการอบรม 4. ประชุม สัมมนาแลกเปลี่ยน 5. จัดการเรียนการสอน จัดโครงการอบรม

  22. ข้อคิดเกี่ยวกับสถานภาพทางวิชาการของ SE. (เทียบกับวิชาเศรษฐศาสตร์ตะวันตก) 1. ยังอ่อนด้านการจัดการองค์ความรู้ (KM) 2. คนส่วนใหญ่ยังขาดความเข้าใจชัดเจน 3. คนส่วนใหญ่ยังขาดความสนใจ (เพราะขัดแย้งกับความอยากโดยธรรมชาติและความคุ้นเคยกับวัฒนธรรมการกระตุ้นความอยากโดยระบบตลาด) 4. นักวิชาการเศรษฐศาสตร์กระแสหลักไม่เปิดใจรับ (เพราะขัดแย้งทางความคิด) 5. หากนำเสนอโดยไม่มีฐานวิชาการที่เข้มแข็ง เมื่อทุกฝ่ายแข็งกว่าตีโต้จะถูกทะลวงได้ง่ายและเมื่อถูกโจมตีจนฟุบไปแล้วจะทำให้ไม่มีคนกล้าไปฟื้นขึ้นมาอีก

  23. แนวทางการนำวิชาเศรษฐกิจพอเพียงไปประยุกต์กับการวางแผนและโครงการพัฒนาแนวทางการนำวิชาเศรษฐกิจพอเพียงไปประยุกต์กับการวางแผนและโครงการพัฒนา 1. ใช้ได้กับทุกสาขา (Sector) การพัฒนาไม่จำกัดเพียงด้านการเกษตร 2. ใช้ได้กับทั้งระดับมหภาคและจุลภาค 3. เน้นการรู้เท่าทันโลกและรู้เท่าทันตนเอง 4. เน้นการลดความเสี่ยงของโลกและของตนเอง 5. ให้เศรษกิจพอเพียงเป็นตัวถ่วงให้เกิดความสมดุล (ขอเพียง 1 ใน 4) มิใช่ถ่วงความเจริญ

  24. เศรษฐกิจพอเพียงในฐานะเครื่องมือการพัฒนาเศรษฐกิจพอเพียงในฐานะเครื่องมือการพัฒนา 1. เป็นแนวทางการดำเนินชีวิตของปัจเจกบุคคล (ไม่ว่าจะอยู่ในสถานภาพใดของสังคม) 2. เป็นแนวทางการดำเนินกิจกรรมทางเศรษฐกิจทั้งระดับบุคคล ครอบครัว ชุมชน สถาบัน สังคม ประเทศชาติ และของโลก (ตามขั้นตอนทฤษฎีใหม่) 3. เป็นแนวทางในการประกอบกิจการของหน่วยงาน/องค์กร ทุกสาขา ทุกประเภท

  25. ความมั่งคั่ง (Wealth) หมายถึงอะไร ? ว. = มีทรัพย์ล้นเหลือ น. 850 ที่มาของความมั่งคั่งเก่า: เกิดจากการค้าการลงทุน โดยยึดหลักกำไรสูงสุดซึ่งต้องมีการแข่งขัน แย่งชิงไปจนถึงการเบียดเบียนเอาเปรียบ เช่น การล่าอาณานิคม การครอบงำทางวัฒนธรรมและความเชื่อ

  26. ความมั่งคั่งใหม่ของโลกความมั่งคั่งใหม่ของโลก คือ. . . . . . ความพอดี พอเพียง. . .ทางสายกลาง เป็นเรื่องจิตใจ รวยทางใจ อันเกิดจากกรรมดี มิใช่เบียดเบียน แต่ทำงานเพื่อมีส่วนเกิน ให้กับผู้อ่อนแอกว่าหรือสังคม

  27. เศรษฐกิจพอเพียงกับความมั่งคั่งใหม่ของโลกเศรษฐกิจพอเพียงกับความมั่งคั่งใหม่ของโลก SUFFICIENCY ECONOMY and New Wealth of the World

  28. ปรัชญา : 3 องค์ประกอบ 1) พอประมาณ 2) มีเหตุผล 3) มีภูมิคุ้มกัน 2 เงื่อนไข 1 ความรู้ (รอบรู้ รอบคอบ ระมัดระวัง) 2 คุณธรรม (ซื่อสัตย์ ขยัน อดทน) ยุทธศาสตร์ : 5. -------------------------------- 4. -------------------------------- 3. ------------------------------- 2. ให้ (Our loss in our gain) 1. พึ่งตนเอง (Dependence)

  29. ขอบคุณครับ

More Related