1 / 20

การสรรหาและการคัดเลือกบุคลากรของกิจการในประเทศไทย *

การสรรหาและการคัดเลือกบุคลากรของกิจการในประเทศไทย *. ผศ.จุฑามาศ ทวีไพบูลย์วงษ์ คณะวิทยาการจัดการ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ jutamard@src.ku.ac.th. บทความวิจัยเป็นส่วนหนึ่งของการวิจัยเรื่องการจัดการทรัพยากรมนุษย์ในประเทศไทยและการพัฒนาการจัดการทรัพยากรมนุษย์อย่างยั่งยืน

otto-cote
Télécharger la présentation

การสรรหาและการคัดเลือกบุคลากรของกิจการในประเทศไทย *

An Image/Link below is provided (as is) to download presentation Download Policy: Content on the Website is provided to you AS IS for your information and personal use and may not be sold / licensed / shared on other websites without getting consent from its author. Content is provided to you AS IS for your information and personal use only. Download presentation by click this link. While downloading, if for some reason you are not able to download a presentation, the publisher may have deleted the file from their server. During download, if you can't get a presentation, the file might be deleted by the publisher.

E N D

Presentation Transcript


  1. การสรรหาและการคัดเลือกบุคลากรของกิจการในประเทศไทย*การสรรหาและการคัดเลือกบุคลากรของกิจการในประเทศไทย* ผศ.จุฑามาศ ทวีไพบูลย์วงษ์ คณะวิทยาการจัดการ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ jutamard@src.ku.ac.th บทความวิจัยเป็นส่วนหนึ่งของการวิจัยเรื่องการจัดการทรัพยากรมนุษย์ในประเทศไทยและการพัฒนาการจัดการทรัพยากรมนุษย์อย่างยั่งยืน โครงการวิจัยทุนอุดหนุนวิจัยมหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ ปีงบประมาณ 2551

  2. ความสำคัญและที่มาของปัญหาความสำคัญและที่มาของปัญหา • การสรรหาและการคัดเลือกบุคลากรเป็น กิจกรรมหนึ่งในการจัดการทรัพยากรมนุษย์ ซึ่งถือเป็นกระบวนการที่ให้ประโยชน์ใน 2 ทาง (Torrington and Chapman, 1983)

  3. วัตถุประสงค์การวิจัย • ศึกษาการปฏิบัติด้านการสรรหาและการคัดเลือกบุคลากรของกิจการในประเทศไทย • ศึกษาคุณลักษณะของแรงงานที่เป็นที่ต้องการของสถานประกอบการ

  4. วิธีดำเนินการวิจัย • การเก็บรวบรวมข้อมูลปฐมภูมิ • การสำรวจ • การสัมภาษณ์เชิงลึก • ประชากร • วิสาหกิจในประเทศไทยปี 2549 มีทั้งสิ้น 2,287,057 แห่ง

  5. เล็ก กลาง ใหญ่ ? วิสาหกิจขนาดย่อม วิสาหกิจขนาดกลาง

  6. จำนวนวิสาหกิจในประเทศไทย (2549) ที่มา : สำนักงานส่งเสริมวิสาหกิจขนาดกลางและขนาดย่อม, 2550.

  7. วิธีดำเนินการวิจัย (ต่อ) • กลุมตัวอยาง • วิสาหกิจทั้ง 3 ขนาดในทั้งภาคการผลิต และภาคการค้าและบริการ • จำนวนตัวอย่างทั้งสิ้น 800 ตัวอย่าง • พื้นที่ • กรุงเทพมหานคร • ภาคกลาง : ชลบุรีสุพรรณบุรี • ภาคเหนือ : เชียงใหม่ พิษณุโลก • ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ : ร้อยเอ็ด อุบลราชธานี • ภาคใต้ : สงขลา สุราษฎร์ธานี

  8. วิธีดำเนินการวิจัย • เครื่องมือที่ใช้ในการเก็บรวบรวมข้อมูลและการทดสอบเครื่องมือ • แบบสอบถาม • สัมประสิทธิ์ความเชื่อมั่น = 0.8948 • การวิเคราะห์ข้อมูล • Descriptive statistics • Inferential statistics

  9. ข้อมูลทั่วไปผู้ตอบแบบสอบถามข้อมูลทั่วไปผู้ตอบแบบสอบถาม ตำแหน่งงานผู้ตอบ อายุงานผู้ตอบ ระดับการศึกษาผู้ตอบ

  10. ข้อมูลทั่วไปของกิจการข้อมูลทั่วไปของกิจการ กลยุทธ์ระดับองค์การ ผู้ถือหุ้นของกิจการ

  11. เครื่องมือที่ใช้เพื่อการคัดเลือกเครื่องมือที่ใช้เพื่อการคัดเลือก • กิจการใหญ่ใช้คัดเลือกโดยใช้เครื่องมือมากกว่ากิจการขนาดเล็กกว่า • ใช้การสัมภาษณ์มากที่สุด 89.5% ใช้แบบทดสอบ 64.4%

  12. การทดสอบส่วนใหญ่ถูกใช้ในกิจการขนาดเล็กน้อยกว่ากิจการขนาดใหญ่อย่างมีนัยสำคัญการทดสอบส่วนใหญ่ถูกใช้ในกิจการขนาดเล็กน้อยกว่ากิจการขนาดใหญ่อย่างมีนัยสำคัญ การทดสอบที่ใช้ในการคัดเลือก

  13. สรุปผลการทดสอบสมมติฐานสรุปผลการทดสอบสมมติฐาน * หมายถึง แตกต่างอย่างมีนัยสำคัญที่ระดับ 0.05

  14. การทดสอบที่ใช้ในการคัดเลือก (ต่อ) • แบบทดสอบถูกใช้แตกต่างกันอย่างมีนัยสำคัญ • กิจการที่มีขนาดใหญ่ใช้มากกว่ากิจการขนาดเล็ก • ภาคการค้าและบริการ ทดสอบบุคลิกภาพ 71.1% ภาคการผลิต 56.1% • การผลิตทดสอบความถนัด 61.5%การค้าและบริการ 38.3% • การผลิตทดสอบความสนใจ 64.9%การค้าและบริการ 55.7% • ภาคการค้าและบริการ ทดสอบผลสัมฤทธิ์ 15.4% ภาคการผลิต 8.0%

  15. การปฏิบัติด้านการสรรหา & คัดเลือก • วิธีการสรรหาเหมาะสมกับงาน • มีความยุติธรรมในการคัดเลือก • การสรรหามีผู้สมัครมากเพียงพอ • ผลการทดสอบผู้สมัครสามารถพยากรณ์ผลการทำงานในอนาคตได้ • ผู้ทำการคัดเลือกมีอิสระในการตัดสินใจ • การคัดเลือกบุคลากรให้ดำรงตำแหน่งสูงขึ้นพิจารณาตามความสามารถ

  16. การปฏิบัติด้านการสรรหา & คัดเลือก หมายเหตุ: ** หมายถึงแตกต่างอย่างมีนัยสำคัญอย่างยิ่งที่ระดับ 0.01 * หมายถึงแตกต่างอย่างมีนัยสำคัญที่ระดับ 0.05 a b หมายถึงมีความแตกต่างรายคู่อย่างมีนัยสำคัญที่ระดับ 0.05

  17. คุณลักษณะบุคคลที่กิจการต้องการคุณลักษณะบุคคลที่กิจการต้องการ • คุณสมบัติที่ต้องการในระดับมากที่สุด • กิจการขนาดใหญ่ต้องการผลการเรียนและความคิดริเริ่มสร้างสรรค์ มากกว่ากิจการที่มีขนาดเล็กกว่า • กิจการขนาดกลางให้ความสำคัญกับ IQ และ EQ

  18. อภิปรายผลการศึกษา เทียบกับการศึกษาในต่างประเทศ • ส่วนใหญ่ใช้การสัมภาษณ์ (ร้อยละ 89.5 และเป็นร้อยละ 100 ในกิจการขนาดใหญ่) • เครื่องมือที่ใช้ในการคัดเลือกในกิจการขนาดใหญ่มีความหลากหลายมากกว่ากิจการขนาดเล็ก

  19. ข้อเสนอแนะที่ได้จากการศึกษาข้อเสนอแนะที่ได้จากการศึกษา • สถานศึกษาเสริมสร้างให้ผู้เรียนมีคุณลักษณะพื้นฐานตามที่กิจการต้องการ • กิจการพิจารณาใช้เครื่องมืออื่นๆ ที่มีความเที่ยงตรงและเชื่อถือได้ ประกอบการใช้การสัมภาษณ์ • การเลือกใช้แบบทดสอบตามความจำเป็น

  20. ข้อเสนอแนะสำหรับการศึกษาต่อไปข้อเสนอแนะสำหรับการศึกษาต่อไป • การสรรหาและคัดเลือกบุคลากรในประเทศไทยในช่วงเวลาที่แตกต่างกัน • ผลที่เกิดตามมาจากการมีสภาพการสรรหาบุคลากรเป็นไปอย่างยุติธรรม เพื่อยืนยันความจำเป็นในการสร้างความตระหนักต่อการปฏิบัติอย่างยุติธรรมต่อบุคลากรในกิจการ

More Related