1 / 62

บทที่ 8

บทที่ 8. การควบคุมมลภาวะในงานอุตสาหกรรม (Industrial Pollution Control). มลพิษจากโรงงานอุตสาหกรรมจำแนกได้ 4 ประเภท. 1.มลพิษทางน้ำ (Water Pollution) 2.มลพิษทางอากาศ (Air Pollution) 3.มลพิษทางเสียง (Noise Pollution) 4.มลพิษทางขยะ (Solid Waste Pollution). มลพิษทางด้านน้ำ.

ouida
Télécharger la présentation

บทที่ 8

An Image/Link below is provided (as is) to download presentation Download Policy: Content on the Website is provided to you AS IS for your information and personal use and may not be sold / licensed / shared on other websites without getting consent from its author. Content is provided to you AS IS for your information and personal use only. Download presentation by click this link. While downloading, if for some reason you are not able to download a presentation, the publisher may have deleted the file from their server. During download, if you can't get a presentation, the file might be deleted by the publisher.

E N D

Presentation Transcript


  1. บทที่ 8 การควบคุมมลภาวะในงานอุตสาหกรรม (Industrial Pollution Control)

  2. มลพิษจากโรงงานอุตสาหกรรมจำแนกได้ 4 ประเภท 1.มลพิษทางน้ำ (Water Pollution) 2.มลพิษทางอากาศ (Air Pollution) 3.มลพิษทางเสียง (Noise Pollution) 4.มลพิษทางขยะ (SolidWaste Pollution)

  3. มลพิษทางด้านน้ำ น้ำเสียจากโรงงานจะแบ่งเป็น 4 กลุ่มใหญ่ๆ 1.น้ำหล่อเย็น (Cooling Water) : มีความร้อนประมาณ 60-70 องศา 2.น้ำชะล้าง (Washing Water) 3.น้ำจากกระบวนการผลิต (Process Waste Water) : มีความสกปรกมาก 4.น้ำทิ้งอื่นๆ (Miscellaneous Water) : น้ำคอนเดนเซส, น้ำจากหม้อไอน้ำ

  4. มลพิษจากในน้ำทิ้งโรงงานอุตสาหกรรมมลพิษจากในน้ำทิ้งโรงงานอุตสาหกรรม 1.ความเป็นกรดเบส (ค่าpH) 2.ปริมาณสารแขวนลอยในน้ำ 3.น้ำมันและไขมัน 4.โลหะหนัก 5.สารอินทรีย์ 6.สารอาหาร 7.สารที่ตกตะกอนได้ 8.สีและความขุ่น 9.รสและกลิ่น 10.สารพิษอื่นๆ 11.ปริมาณสารทั้งหมดในน้ำ 12.ความร้อน 13.สารกัมมันตภาพรังสี

  5. คุณลักษณะของน้ำทิ้ง 1.ค่าความเป็นกรดเบส เป็นค่าที่แสดงความเข้มข้นของอนุภาคไฮโดรเจน (H+) ที่ได้ละลายอยู่ในน้ำ - pH น้อยกว่า 7 มีสภาพเป็นกรด เพิ่มค่า pH โดยเติม โซดาไฟ (NaOH), ปูนขาว (Ca(OH)2 ) - pH มากกว่า 7 มีสภาพเป็นเบส ลดค่า pH โดยเติม กรดเกลือ (HCL), กรดกำมะถัน (H2SO4)

  6. คุณลักษณะของน้ำทิ้ง 2.สารละลายออกซิเจนในน้ำ (DissolvedOxygen) ดัชชีที่บอกถึงคุณภาพน้ำเสีย ซึ่งขึ้นอยู่กับความดัน อุณหภูมิและความเข้มข้นของเกลือแร่ 3.ความต้องการออกซิเจน(Oxygen Demand) เป็นวิธีการวิเคราะห์ปริมาณสิ่งสกปรกในน้ำรูปแบบหนึ่ง โดยการพิจารณาจากความต้องการออกซิเจน 3.1Biochemical Oxygen Demand (BOD) หาโดยกระบวนการทางชีววิทยา โดยอาศัยแบคทีเรียในการย่อยสลายสารอินทรีย์ 3.2Chemical Oxygen Demand (COD) หาโดยกระบวนการทางเคมี

  7. คุณลักษณะของน้ำทิ้ง 3.3 Total Oxygen Demand (TOD) : ปริมาณออกซิเจนทั้งหมดที่ใช้ในการเผาผลาญสารอินทรีย์ในน้ำทิ้ง 3.4 Total Organic Carbon (TOC) : ปริมาณคาร์บอนในสารอินทรีย์ที่มีอยู่ในน้ำ 4. ของแข็ง (Solid) คือสิ่งที่เจือปนในน้ำ 4.1 ของแข็งละลายน้ำได้ (Dissolved Solids) : เกลือ (NaCl) 4.2 ของแข็งละลายน้ำไม่ได้ (Insoluble Solids) แบ่งเป็นแขวนลอยและตกตะกอน

  8. คุณลักษณะของน้ำทิ้ง 5.ไนโตรเจน (Nitrogen) มีความสำคัญต่อการเติบโตของสาหร่ายเซลล์เดียวทำให้สาหร่ายเติบโตได้อย่างรวดเร็ว มีข้อดี คือชะลอการเน่าเหม็น 6.ฟอสฟอรัส(Phosphorus) มีความสำคัญต่อการเติบโตของสาหร่ายเซลเดียวเช่นเดียวกับไนโตรเจน ส่วนใหญ่ใช้ในระบบการควบคุมการทำงานของระบบบำบัดน้ำเสีย

  9. การกำจัดน้ำทิ้ง คือการแยกหรือกำจัดสิ่งสกปรกต่างๆ ในน้ำทิ้งให้มีปริมาณลดลงในระดับที่ไม่ก่อปัญหาน้ำเสีย การกำจัดน้ำทิ้งมี 3 วิธี 1.การกำจัดน้ำเสียด้วยวิธีทางกายภาพ 2.การกำจัดน้ำเสียด้วยวิธีทางเคมี 3.การกำจัดน้ำเสียด้วยวิธีทางชีววิทยา

  10. การกำจัดน้ำเสียด้วยวิธีทางกายภาพการกำจัดน้ำเสียด้วยวิธีทางกายภาพ เป็นการกำจัดน้ำเสียเบื้องต้น ซึ่งส่วนใหญ่ใช้กำจัดสิ่งสกปรกที่ไม่ละลายน้ำ เช่นสารแขวนลอย สิ่งสกปรกที่ลอยน้ำ เป็นต้น 1.การกรองโดยใช้ตะแกรง (Screening) 2.การตัดย่อย (Combination) 3.การกวาดทิ้ง (Skimming) 4.การทำให้ลอยตัว (Flotation) ส่วนใหญ่ใช้อากาศหรือความดัน 5.การตกตะกอน (Sedimentation) การดึงตะกอนเข้าสู่ก้นถัง

  11. 14.65 @ 0°C Temperature 10.01 @ 15°C Temperature @ 25°C Temperature 8.12 7.36 @ 30°C Temperature ความสามารถในการละลายน้ำของก๊าซออกซิเจนที่อุณหภูมิต่างๆ Solubility of oxygen in water Cs (g m−3) in equilibrium with air at 1 atmosphere (1.013×105 N m−2 or 101.3 kPa)

  12. Bar Screening http://openlearn.open.ac.uk/file.php/

  13. Micro Screenong http://openlearn.open.ac.uk/file.php/

  14. รูปตัดขวาง ถังตกตะกอนแบบกลม http://openlearn.open.ac.uk/file.php/

  15. Diagram of a dissolved air flotation system http://openlearn.open.ac.uk/file.php/

  16. http://www.caromal.co.uk/SKIMMER.gif

  17. oil skimmer removing floating oil and oily wastewater from a cooling water recycling system www.ultraspin.com.au/images/Dairy-s2-skimmer.jpg

  18. การกำจัดน้ำเสียด้วยวิธีทางเคมีการกำจัดน้ำเสียด้วยวิธีทางเคมี เป็นการกำจัดสิ่งสกปรกที่ละลายน้ำทั้งที่เป็นสารอนินทรีย์ และสารอินทรีย์ 1.การทำให้เป็นกลาง (Neutralization) 2.การทำให้เกิดตะกอน (Precipitation) 3.Oxidation-Reduction : การเพิ่มออกซิเจนหรือลดออกซิเจน 4.Chlorination : การเติมคลอรีน

  19. การกำจัดน้ำเสียด้วยวิธีทางชีววิทยาการกำจัดน้ำเสียด้วยวิธีทางชีววิทยา เป็นการกำจัดสารอินทรีย์ โดยใช้จุลินทรีย์(แบคทีเรีย) สิ่งมีชีวิตที่ช่วยย่อยสลายสารอินทรีย์ 1.แบคทีรีย (Bacteria) 2.อัลจี (Algae) 3.ราและโปโตซัว

  20. Some common algae http://openlearn.open.ac.uk/file.php/

  21. Protozoa http://www.vcharkarn.com/uploads/152/153080.jpg Coliform Bacteria http://www.svg-environcentre.com/manage_plankton.html

  22. ระบบการกำจัดน้ำเสีย(Wastewater Treatment System) เป็นระบบที่เปลี่ยนน้ำเสียให้เป็นน้ำที่มีคุณภาพมากขึ้น แบ่งเป็นสองประเภทใหญ่ๆคือ 1.ระบบบำบัดน้ำเสียด้วยวิธีการชีววิทยาแบบใช้ ออกซิเจน 2. ระบบบำบัดน้ำเสียด้วยวิธีการชีววิทยาแบบไม่ใช้ออกซิเจน

  23. ระบบบำบัดน้ำเสียโดยใช้ออกซิเจน(Aerobic wastewater treatment system) 1.ระบบ Oxidation Pond มีลักษณะเป็นบ่อดิน น้ำไหลเข้าออกได้ตลอดเวลา ซึ่งจะกำจัดน้ำเสียโดยแบคทีเรีย ซึ่งใช้ O2จากการสังเคราะห์แสงของอัลจี 1.1 High rate pond ความลึกน้อยกว่า 0.5 เมตร แดดส่องถึงก้นบ่อ น้ำที่จะออกจากบ่อจะต้องมีการกำจัดอัลจีก่อน เพื่อให้มีคุณภาพก่อนปล่อยส่งแหล่งน้ำธรรมชาติ

  24. Oxidation Pond http://www.rpi.edu/dept/chem-eng/Biotech-Environ/FUNDAMNT/streem/methods.htm

  25. ระบบบำบัดน้ำเสียโดยใช้ออกซิเจน(Aerobic wastewater treatment system) 1.2 Facultative Ponds บ่อลึกกว่าแบบแรกแต่ไม่เกิน 2 เมตร แดดส่งไม่ถึงก้นบ่อจึงเกิดอัลจีไม่มาก สามารถปล่อยลงสู่แหล่งน้ำธรรมชาติได้ 2.ระบบ Aerated Lagoon มีการเติมออกซิเจน ทำให้แบคทีเรียไม่ถูกจำกัดการเติบโต ส่งผลให้สามารถกำจัดสารอินทรีย์ได้มากใช้กับชุมชนและโรงงานอุตสาหกรรม

  26. ระบบบำบัดน้ำเสียแบบใช้ออกซิเจน(Aerobic wastewater treatment system) ระบบ Aerated Lagoon มี 2 แบบ 1.Aerobic Lagoon เติมอากาศ ปฏิกริยาเป็นแบบใช้ออกซิเจนกวนน้ำทั่วทั้งบ่อเพื่อไม่ให้เกิดการตกตะกอน 2.Facultative Lagoon เติมอากาศ เพื่อให้ออกซิเจนแต่ไม่ทั่วทั้งบ่อทำให้เกิดตะกอนที่ก้นบ่อ และสามารถย่อยสลายได้

  27. Aerated Lagoon http://wtrsolutions.com/images/afterdial_2.jpg

  28. Facultative Pond http://www.tumcivil.com/tips/htmlfile/im/sumadjust4.gif

  29. ระบบบำบัดน้ำเสียแบบใช้ออกซิเจน(Aerobic wastewater treatment system) 3.ระบบ Activated Sludge ประกอบด้วยถังเติมอากาศและถังตกตะกอน • คุณภาพน้ำที่ได้ดีมากแต่ราคาสูง • ประกอบด้วยตัวปฏิกิริยา (ถังเติมอากาศ) และถังตกตะกอน • แบคทีเรียจะจับตัวเป็นก้อนใหญ่ (Activated Sludge) • มีการนำตะกอนแบคทีเรียกลับมาเติมในถังเติมอากาศ (Return Sludge)

  30. Activated Sludge http://www.water-technology.net/projects/chicago/images/Chicago01.jpg

  31. Diagram Activated Sludge http://apesnature.homestead.com/files/fg18_013.jpg

  32. Activated Sludge http://cityofrobinson.com/waste-water-treatment/

  33. Activated Sludge http://nsm1.nsm.iup.edu/tsimmons/Environmental%20Health%20Photolibrary/Wastewater%20Treatment%20Plant%20Photogallery/Wastewater_Treatment_Plant_Aeration_Tank_Rectangular.jpg

  34. ระบบบำบัดน้ำเสียแบบใช้ออกซิเจน(Aerobic wastewater treatment system) 4.ระบบ Trickling filter • แบคทีเรียจะถูกเลี้ยงเป็นเมือกเกาะอยู่บนตัวกลาง • โปรยน้ำลงบนปากถัง ผ่านตัวกลาง เกิดการทำลาย BOD แบบใช้ออกซิเจน • ต้องนำไปตกตะกอนอีกครั้ง

  35. Trickling filter http://www.brentwoodindustries.com/water/imagesbw/biotower_wcallouts.gif

  36. Trickling filter http://www.bluevistaengineering.com/trickling%20filter%20(600%20x%20450).jpg

  37. ระบบบำบัดน้ำเสียแบบใช้ออกซิเจน(Aerobic wastewater treatment system) 5.ระบบ Bio-Discs • ระบบถังทรงกระบอกผ่าครึ่ง • แบคทีเรียเกาะบนแผ่นโฟมกลมเหนือแผ่นพลาสติก • แผ่นตัวกลางถูกร้อยไว้บนเพลา จุ่มลงในน้ำครึ่งหนึ่ง เพลาถูกขับด้วยมอเตอร์ • ต้องมีถังตกตะกอน

  38. http://www.molecular-plant-biotechnology.info/applied-biotechnology/environmental-biotechnology/images/rotating-biological-contactors-rbc.jpghttp://www.molecular-plant-biotechnology.info/applied-biotechnology/environmental-biotechnology/images/rotating-biological-contactors-rbc.jpg

  39. http://www.ecotechnos.com/AQtopview.jpg

  40. ระบบบำบัดน้ำเสียแบบไม่ใช้ออกซิเจน(Anerobic wastewater treatment system) 1.Anaerobic Lagoons คล้ายระบบ Oxidation Ponds คือขังน้ำในบ่อหลายวันแล้วปล่อยออกแหล่งน้ำสาธารณะ แต่มีข้อเสียคือมีกลิ่นเหม็น • เหมาะสมกับพื้นที่ในเขตร้อน เนื่องจากอุณหภูมิค่อนข้างสูง • ระบบที่สำคัญ

  41. ระบบบำบัดน้ำเสียแบบไม่ใช้ออกซิเจน(Anerobic wastewater treatment system) 2.Conventional Anaerobic Digestion • ประกอบด้วยถังปฏิกิริยา เป็นถังคอนกรีตมีฝาปิดมีช่องระบายก๊าซมีเทน • ภายในถังถูกกวนอยู่ตลอดเวลา การทำลาย BOD สูงกว่ากรณีแรก

  42. ระบบบำบัดน้ำเสียแบบไม่ใช้ออกซิเจน(Anerobic wastewater treatment system) 3. Anaerobic Contact • คล้าย Activated Sludge คือนำตะกอนที่ใช้แล้วกลับมาใช้ใหม่ 4.Anaerobic Filter • คล้าย Trickling Filter คือ แบคทีเรียเกาะกับตัวกลาง น้ำจะล้นออกมาจากด้านล่างของถัง

  43. มลพิษทางด้านอากาศ (Air Pollution) คือสภาวะที่อากาศมีสิ่งปนเปื้อนสูง เป็นเหตุให้คุณภาพอากาศเปลี่ยนแปลงไปจากปกติ ก่อให้เกิดอันตรายต่อมนุษย์และสิ่งแวดล้อมได้ สิ่งปนเปื้อนในอากาศได้แก่ 1.ควัน 2.ฝุ่น 3.ละอองไอ 4.ขี้เถ้า 5.หมอก 6.ละอองน้ำ 7.ไอเสีย

  44. มลพิษทางด้านอากาศ (Air Pollution) ปรากฏการณ์ของมลพิษทางอากาศที่สำคัญ 1.ปรากฏการณ์เรือนกระจก (Greenhouse Effects) เกิดจากก๊าซพิษต่างๆ หลุดออกไปปกคลุมบนชั้นบรรยากาศทำให้อุณหภูมิภายในโลกร้อนขึ้น ตัวการที่สำคัญได้แก่ CO2และ CFC

  45. มลพิษทางด้านอากาศ (Air Pollution) 2.รูรั่วโอโซน เกิดจากสาร CFC ไปทำลายโอโซนซึ่งทำหน้าที่ดูดกลืนรังสี UV ชนิดที่เป็นอันตราย ทำให้รังสี UV ชนิดที่อันตรายส่องมาถึงพื้นโลกได้ 3.ฝนกรด เกิดจากฝนตกลงมาชะล้างก๊าซพิษที่ลอยอยู่ในบรรยากาศ ทำให้น้ำฝนมีสภาพเป็นกรด

  46. การควบคุมมลพิษทางอากาศ(Air-Pollution Control) 1.ควบคุมหรือขจัดที่ต้นกำเนิด โดยเปลี่ยนแปลงกระบวนการผลิตและเครื่องจักร 2.ทำให้เจือจางตามธรรมชาติ เช่นการปล่อยจากปล่องที่สูงขึ้นเพื่อให้เจือจาง 3.สร้างกำจัดมลพิษทางด้านอากาศ 3.1การใช้ปล่องไฟ/ควัน 3.2หอแยกแรงหนีศูนย์กลาง อาศัยแรงเหวี่ยงแบบไซโคลน เพื่อแยกสิ่งสกปรกในอากาศออก

More Related