1 / 67

ภาวะวิกฤตทางระบบต่อมไร้ท่อ (endocrine crisis)

ภาวะวิกฤตทางระบบต่อมไร้ท่อ (endocrine crisis). อ.พัชรินทร์ ไชยสุรินทร์. 1. 2. 3. 4. 5. ระบุภาวะเจ็บป่วยฉุกเฉิน วิกฤตในระบบต่อมไร้ท่อที่สำคัญได้. อธิบายการประเมินทางการพยาบาลได้. ระบุข้อวินิจฉัยทางการพยาบาลได้. อธิบายการพยาบาลได้. อธิบายความหมาย สาเหตุ พยาธิสรีรภาพ S / S การรักษาได้.

pancho
Télécharger la présentation

ภาวะวิกฤตทางระบบต่อมไร้ท่อ (endocrine crisis)

An Image/Link below is provided (as is) to download presentation Download Policy: Content on the Website is provided to you AS IS for your information and personal use and may not be sold / licensed / shared on other websites without getting consent from its author. Content is provided to you AS IS for your information and personal use only. Download presentation by click this link. While downloading, if for some reason you are not able to download a presentation, the publisher may have deleted the file from their server. During download, if you can't get a presentation, the file might be deleted by the publisher.

E N D

Presentation Transcript


  1. ภาวะวิกฤตทางระบบต่อมไร้ท่อ(endocrine crisis) อ.พัชรินทร์ ไชยสุรินทร์

  2. 1 2 3 4 5 ระบุภาวะเจ็บป่วยฉุกเฉิน วิกฤตในระบบต่อมไร้ท่อที่สำคัญได้ อธิบายการประเมินทางการพยาบาลได้ ระบุข้อวินิจฉัยทางการพยาบาลได้ อธิบายการพยาบาลได้ อธิบายความหมาย สาเหตุ พยาธิสรีรภาพ S/S การรักษาได้ วัตถุประสงค์

  3. ระบบต่อมไร้ท่อ (Endocrine system) “hormone”

  4. thyroidcrisis/thyroid strom/hyperthyroid crisis 1 addisonian crisis/adrenal crisis/adrenal insufficiency 2 pheochromocytoma 3 ภาวะเจ็บป่วยฉุกเฉินและวิกฤตในระบบต่อมไร้ท่อที่สำคัญ

  5. Diagram ความผิดปกติของต่อมธัยรอยด์ที่สำคัญ “thyroidcrisis orthyroid strom” 1 2 3 • uncontrolled hyperthyroid • Severe thyrotoxicosis decompression (การทำงานของอวัยวะล้มเหลว) • เสียชีวิตได้ > 50% • พบในเพศหญิง > ชาย 5 เท่า • พบมากในอายุ 20-40 ปี • (Dahlen, 2002; Tidy, 2005)

  6. โรคความผิดปกติของต่อมธัยรอยด์โรคความผิดปกติของต่อมธัยรอยด์ ต่อมธัยรอยด์ (thyroidgland)

  7. กลไกควบคุมการหลั่งธัยรอยด์ฮอร์โมนกลไกควบคุมการหลั่งธัยรอยด์ฮอร์โมน อาศัยไอโอดีนที่รับประทานเข้าไปเป็นวัตถุดิบ (~60-80 µg/day)

  8. กลไกควบคุมการหลั่งธัยรอยด์ฮอร์โมนกลไกควบคุมการหลั่งธัยรอยด์ฮอร์โมน • T4 &T3 จะจับกับ thyroxine-binding globulin (TBG) จากตับ เพื่อดูดซึมเข้าสู่เซลล์ • T3 มีประสิทธิภาพสูงกว่า T4 แต่มีช่วง half-life สั้นกว่า และพบในกระแสเลือดน้อยกว่า T4 • T4 reverse to T3 ได้

  9. Thyroid cell 1. follicular cells; thyroxin (T4)triiodothyronine (T3) -ควบคุมอัตราการเผาผลาญสารอาหารในร่างกาย -การเจริญเติบโตของกระดูก สมอง และระบบประสาท 2. parafollicular cells (clear cells) ; calcitonin -ควบคุมระดับแคลเซียมในร่างกาย

  10. ความผิดปกติของต่อมธัยรอยด์ความผิดปกติของต่อมธัยรอยด์ thyroid • hypothyroidism • ทารก แคระแกรน เติบโตช้า กล้ามเนื้ออ่อนแรง ลิ้นใหญ่ ปัญญาเสื่อม • ผู้ใหญ่บวมใสใต้ผิวหนัง กล้ามเนื้ออ่อนแรง ผิวหนังแห้ง ซีด สติปัญญาเชื่องช้า เกิดโรคคอพอกชนิดธรรมดา • hyperthyroidism • คอพอกชนิดเป็นพิษ • ผอม น้ำหนักลด • กินจุ อ่อนแอ • ตอบสนองต่อสิ่งเร้ามากและไวขึ้น

  11. Hyperthyroidism or thyrotoxicosis • heat intolerance, • increased energy, • difficulty sleeping, • diarrhea and anxiety. exophthalmos

  12. Myxedema • dry skin, • swellings around the lips & nose, • mental deterioration, • a subnormal basal metabolic rate

  13. 1 4 2 3 • การเพิ่มขึ้นของFT3 & FT4 • หลังผ่าตัดต่อมธัยรอยด์ • ได้รับradioactive iodine • ปัจจัยอื่นๆ • ได้รับไอโอดีนจากอาหาร ยา • ได้รับยาธัยรอยด์ฮอร์โมน • หยุดยารักษาธัยรอยด์เป็นพิษก่อนกำหนด • การคลำต่อมธัยรอยด์ • ระดับ thyroid binding protein (TBG) ลดลง • ภาวะ nonthyroidal illness (มีการสร้าง TBG ลดลง) • ภาวะเครียดต่าง ๆ (stress) • การคลอดบุตร • การติดเชื้อ • การผ่าตัด • อุบัติเหตุ หรือภาวะทางจิตใจอย่างรุนแรง thyroidcrisis orthyroid strom(pathophysiology)

  14. thyroidcrisis orthyroid strom(signs & symtomps) • 1. ไข้สูง > 38.5° Cหรือ 102 ° F • 2. ระดับความรู้สึกตัวเปลี่ยนแปลง; กระวนกระวาย กระสับกระส่าย สับสน จนถึง coma บางรายมี psychosis • 3. เกิดภาวะ CHF or tachyarrhymia(>140) • 4. คลื่นไส้ อาเจียน ท้องเสีย มีปวดท้องได้ บางรายอาจพบjaundice • 5. อื่นๆ;acute abdomen, status epilepticus, coma, stroke และ ARF fromrhabdomyolysis(Myoglobin breaks down)

  15. thyroidcrisis orthyroid strom(signs & symtomps) • การตรวจร่างกาย : พบอาการและอาการแสดง • เกณฑ์การวินิจฉัยของ Burch และ Wartofsky

  16. เกณฑ์ในการวินิจฉัยภาวะ Thyroid crisis (Burch &Wartofsky)

  17. เกณฑ์ในการวินิจฉัยภาวะ Thyroid crisis (Burch &Wartofsky) **ถ้าได้ค่า >45 ถือเป็นภาวะthyroid crisis

  18. ตัวอย่างผู้ป่วย Thyroid storm • ผู้ป่วยชายไทยอายุ 28 ปี มาโรงพยาบาลด้วยเรื่องใจสั่นมากขึ้นมา 2 วัน โดยมีอาการใจสั่น เป็นพักๆ อาการอื่นๆที่พบได้แก่นอนราบไม่ได้ เหนื่อยง่าย มีหอบเหนื่อยกลางคืน ขาและท้องบวม ก้อนที่คอโตมากขึ้น ตัวเหลืองตาเหลือง เหงื่อออกมาก มือสั่น มีไข้สูงไม่มีหนาวสั่น ไอแห้งๆ คลื่นไส้อาเจียน ถ่ายเหลวเป็นน้ำ 5-6 ครั้งต่อวัน อ่อนเพลีย กระสับกระส่าย ผู้ป่วยซื้อยาลดไข้มาทานไข้ไม่ลง ก่อนหน้านี้มีอาการใจสั่นเป็นๆหายๆ ท้องเสียถ่ายเหลวมาหลายเดือน แต่ช่วง 2 วันนี้อาการเป็นมากขึ้นจึงมาโรงพยาบาล

  19. ผู้ป่วยให้ประวัติว่ามีโรคประจำตัว คือ โรคต่อมไทรอยด์เป็นพิษ รักษาด้วยยาแต่ไม่ได้รับประทานยามา 2 ปี ดื่มเครื่องดื่มแอลกอฮอล์1 แบนต่อสัปดาห์ สูบบุหรี่ 2 มวนต่อวันมา 10 ปีผู้ป่วยปฏิเสธประวัติการใช้ยา/สารเสพติดทุกชนิดหรือการผ่าตัดต่างๆ ปฏิเสธการได้รับอุบัติเหตุ ปฏิเสธประวัติแพ้ยาหรือแพ้อาหาร ปฏิเสธโรคประจ้าตัวอื่นๆ เช่น โรคหัวใจ โรคความดันโลหิตสูง โรคไต เป็นต้น

  20. การตรวจร่างกาย ผู้ป่วยรู้สึกตัวดี กระสับกระส่าย อ่อนเพลีย มีตัวเหลืองตาเหลือง สัญญาณชีพมีอุณหภูมิร่างกาย 38 องศาเซลเซียส ชีพจร 140 ครั้งต่อนาทีไม่เป็นจังหวะ อัตราหายใจ 28 ครั้งต่อนาที ความดันโลหิต 167/87 มิลลิเมตรปรอท • การตรวจร่างกายทั่วไป มีตาเหลืองเล็กน้อย ต่อมไทรอยด์โตขนาดประมาณยาว 10 เซนติเมตร กว้าง 5 เซนติเมตร การขยายตัวของทรวงอกกับท้องไม่สอดคล้องกัน (paradoxical movement) ฟังปอดได้ยินเสียง crepitation มีท้องบวมน้ำ มือสั่น แขนและขาบวม กดบุ๋มที่ขาทั้งสองข้างเกรด 2

  21. อภิปราย Thyroid storm • ผู้ป่วยมีโรคประจำตัวเดิมเป็นโรคต่อมไทรอยด์เป็นพิษ ไม่ได้รับประทานยามา 2 ปี • อาการและอาการแสดง 4 ระบบ ได้แก่ • 1.อุณหภูมิร่างกาย มีไข้สูง • 2.ระบบหัวใจและไหลเวียนโลหิต ชีพจรเต้นเร็วแบบไม่เป็นจังหวะ ใจสั่น หายใจหอบเหนื่อย ฟังปอดได้ยินเสียง crepitation ท้องบวมและแขนขาบวม • 3.ระบบทางเดินอาหาร มีตาเหลือง ก้อนที่คอโต ท้องเสียถ่ายเหลวคลื่นไส้อาเจียน • 4.ระบบประสาท มือสั่น กระสับกระส่าย

  22. คิดตามเกณฑ์วินิจฉัยของ Burch และ Wartofsky • ได้คะแนนดังนี้ • ไข้ 38 องศาเซลเซียส (100.4 F) = 10 คะแนน • agitation = 10 คะแนน • unexplained jaundice = 20 คะแนน • heart rate 140 bpm = 25 คะแนน • crepitation = 15 คะแนน • atrial fibrillation = 10 คะแนน • รวมคะแนนทั้งหมดได้ 90 คะแนน

  23. การรักษา 3 ขั้นตอน • 1. การแก้ไขภาวะต่อมธัยรอยด์เป็นพิษ 1.1 ให้ยาที่ยับยั้งการสร้างฮอร์โมน; PTU1,200-1,500mg/day 1.2 ให้ยาที่ขัดขวางการหลั่งฮอร์โมน; Lugol iodine / SSKI 200-500mg/day เริ่มให้หลังจากให้ PTU ไป 1-2 ชั่วโมง 1.3 ให้ยาที่ยับยั้งการเปลี่ยน T4 เป็น T3 ที่เนื้อเยื่อส่วนปลาย; radiographic contrast dyes ได้แก่ ipodate & ipanoate และ β-blocker, glucocorticoids เช่น dexamethazone& PTU ขนาดสูง 1.4 ยับยั้งการออกฤทธิ์ของฮอร์โมนต่อเนื้อเยื่อโดยตรง; β-blocker เช่น Propanolol 1.5 ช่วยเหลือกรณีที่อาการรุนแรง;PD/ plasmapheresis

  24. การรักษา 3 ขั้นตอน • 2. การรักษา และป้องกันภาวะแทรกซ้อน 2.1 IV fluid เช่น 10%dextrose, วิตามินบี (มีการเผาผลาญสูง) 2.2 ลดไข้; acetaminophen, ice packs & cooling blankets ไม่ใช้salicylates (aspirin/ASA) แย่งจับ TBG ทำให้ FT4, FT3 เพิ่มขึ้น 2.3 แก้ไขภาวะ cardiac arrhythmia; digoxin, oxygen, diuretic 2.4 ให้ยา β-adrenergic blocker;propranolol (ลดอาการทางระบบ sympathetic) 2.5 ให้ยา glucocorticoids ยับยั้งการเปลี่ยน T4 เป็น T3 ที่เนื้อเยื่อส่วนปลาย และป้องกันภาวะ adrenal insufficiency จากภาวะ hyperthyroidism

  25. การรักษา 3 ขั้นตอน • 3. การค้นหาและแก้ไขปัจจัยส่งเสริมต่างๆ • การให้ ABO ในผู้ที่มีภาวะติดเชื้อ • ค้นหาแหล่งอื่นที่สงสัยเป็นต้นเหตุ;การอดอาหาร ภาวะเครียด และภาวะซึมเศร้า • หากผู้ป่วยตอบสนองต่อการรักษา จะดีขึ้นใน 24-48 ชั่วโมง และอาจได้รับการรักษาด้วย antithyroid drug, การผ่าตัด หรือการใช้รังสีไอโอดีนต่อไป

  26. การประเมินทางการพยาบาลการประเมินทางการพยาบาล • การซักประวัติ : ประวัติโรคประจำตัว เช่น Grave’s disease, Hyperthyroidism หรือ thyrotoxicosis ที่ไม่ได้รักษาหรือรักษาไม่ถูกต้อง หรือมีปัจจัยส่งเสริมต่างๆ • การตรวจร่างกาย : พบอาการและอาการแสดงดังที่ได้กล่าวมา

  27. การประเมินทางการพยาบาลการประเมินทางการพยาบาล • การตรวจทางห้องปฏิบัติการ: • Thyroid function tests (TFT): T3, T4 & FT4 สูง, FT3 ปกติ/ต่ำ, TSH ต่ำ - CBC: Hb &Hct สูง, WBC:“shift to the left” -Hyperglycemia, Na & Ca สูง จากขาดน้ำและการสลายกระดูก - Liver function tests (LFTs): ALT, AST, LDH, creatinine kinase, alkaline phosphatase & serum bilirubin สูงขึ้น

  28. การประเมินทางการพยาบาลการประเมินทางการพยาบาล • การตรวจทางรังสี: - Chest radiography; CHF, pulmonary edemafrom heart failure and/or evidence of pulmonary infection - Head CT scanning; neuro • การตรวจอื่นๆ: - ECG; cardiac arrhythmias& ventricular tachycardia

  29. ข้อวินิจฉัยทางการพยาบาล • 1. เสี่ยงต่อ CO ลดลง เนื่องจากภาวะ cardiac arrhythmia หรือ congestive heart failure** • 2. CPP ลดลง เนื่องจากการเผาผลาญสารอาหารเพิ่มขึ้นและภาวะการหายใจ+หัวใจล้มเหลว • 3. ไม่สุขสบาย เนื่องจากมีไข้ • 4. เสี่ยงต่อภาวะไม่สมดุลของสารน้ำ อิเลคโตรไลท์ และสารอาหาร เนื่องจากมีอัตราการเผาผลาญสารอาหารในระดับสูงกว่าปกติ • 5. วิตกกังวลต่อความเจ็บป่วย

  30. การพยาบาลที่สำคัญ • 1. ประเมิน S/S ของ Thyroid crisis • 2. V/S, O2 sat และดูแลการได้รับออกซิเจน** • 3. เช็ดตัวลดไข้, ice packs, cooling blankets และให้ยาลดไข้ในกลุ่ม acetaminophenหลีกเลี่ยง การให้ aspirin • 4. ประเมิน S/S ของภาวะช็อก • 5. ดูแลการได้รับ IV fluid และติดตาม intake & output • 6. ดูแลให้นอนพัก จำกัดกิจกรรมตามความจำเป็น จัดสิ่งแวดล้อมที่มีความสงบและเย็น และดูแลให้มีความปลอดภัยต่อผู้ป่วย • 7. ติดตามผลตรวจต่างๆ

  31. การพยาบาลที่สำคัญ (ต่อ) • คำแนะนำเพื่อควบคุมภาวะธัยรอยด์เป็นพิษ • การพบแพทย์ตามนัดทุกครั้ง • ห้ามใช้ยาในขนาดและความถี่มาก/น้อยกว่าที่แพทย์แนะนำ หากลืมรับประทานยาให้รับประทานทันทีที่นึกได้ หากเป็นเวลาใกล้กับมื้อถัดไปให้งดมื้อที่ลืมและข้ามไปรับประทานมื้อถัดไป ห้าม รับประทาน 2 มื้อควบ • ห้ามหยุดยาเองโดยไม่ปรึกษาแพทย์

  32. โรคความผิดปกติของต่อมหมวกไตโรคความผิดปกติของต่อมหมวกไต

  33. adrenal gland • Adrenal cortex; ACTH control • mineralocorticoids; aldosterone • ควบคุมสมดุลของน้ำและ electrolyte • glucocorticoids; cortisol • ควบคุมการเผาผลาญอาหาร • gonadocorticoidsเกี่ยวกับฮอร์โมนเพศ • Adrenal medulla; nerve signal control • ผลิตและหลั่งcatecholamine; epinephrine & norepinephrine • สัมพันธ์กับการทำงานของระบบ sympathetic

  34. พยาธิสภาพของตอมหมวกไตพยาธิสภาพของตอมหมวกไต adrenal cortex adrenal medulla pheochromocytoma • cortical hyperfunction • Hyperaldosteronism(mineralocorticoids) • Cushing syndrome (glucocorticoids) • adrenogenital orvirilizing syndrome (gonadocorticoids) • cortical hypofunction • primary hypoadrenalism (Addison’s disease) • secondary hypoadrenalism • tertiary hypoadrenalism

  35. การทำงานของ hypothalamic-pituitary axis (HPA)

  36. ความผิดปกติของต่อมหมวกไตชั้นนอกที่สำคัญความผิดปกติของต่อมหมวกไตชั้นนอกที่สำคัญ “addisonian crisis /adrenal crisis / adrenal insufficiency” ต่อมหมวกไตชั้นนอกผลิตฮอร์โมน glucocorticoidsได้น้อยกว่าปกติ 1. Primary adrenal insufficiency (Addison’s disease); ผิดปกติที่ต่อมหมวกไต - TB or fungal infection - การทำลายของ adrenalcortex, adrenal hemorrhage, autoimmune disease 2. Secondary adrenal insufficiency; ผิดปกติที่ต่อมใต้สมอง จากเนื้องอก,หลังผ่าตัดต่อมใต้สมอง, การขาดเลือดไปเลี้ยงจากตกเลือดหลังคลอด (Sheehan’s syndrome), การติดเชื้อ 3. Tertiary adrenal insufficiency; ผิดปกติที่ไฮโปธาลามัส - การกดการทำงานของ hypothalamic-pituitary axis (HPA) จากการใช้ยา glucocorticoids, endogenous steroids (จาก tumor),อุบัติเหตุทางสมอง, ฉายแสง - ทำให้การหลั่งของ CRH & ACTH ลดลง, การทำงานของ adrenalcortex ลดลง

  37. adrenal insufficiency Chronic adrenal insufficiency Acute adrenal insufficiency • การหยุดยา glucocorticoid ทันที • sepsis • surgical stress • ภาวะแทรกซ้อนจากยา anticoagulation • adrenal hemorrhage จากการติดเชื้อ meningococcemia, pseudomonas a. (Waterhouse-Friderichsen syndrome)

  38. อาการและอาการแสดง** 2˚ AI - pale skin - อาการแสดงของการขาด pituitary hormone อื่นๆ - เหนื่อย อ่อนแรง ซึมเศร้า เบื่ออาหาร น้ำหนักลด - มึนศีรษะ orthostatic hypotension - คลื่นไส้อาเจียน ท้องเสีย - hyponatremia, hypoglycemia, mild normocytic anemia, lympocytosis - hyperkalemia - hyperpigmentation (จากACTH ที่สูงขึ้น) - โรคด่างขาว (vitiligo) - autoimmune thyroid disease - อาการทางระบบประสาทส่วนกลางใน drenomyeloneuropathy

  39. Primaryadrenal insufficiency

  40. Primaryadrenal insufficiency hyperpigmentation vitiligo

  41. Secondary adrenal insufficiency pale skin

  42. การรักษา • 1. ดูแลในเรื่องของการหายใจและการไหลเวียนโลหิต • 2. IV fluid D5NS&50% dextrose ในผู้ป่วย hypoglycemia • 3. การตรวจอิเลคโตรไลท์ในกระแสเลือด • 4. ให้ hydrocortisone 100 mg IV แต่ในระหว่างทดสอบ ACTH stimulation testing ให้ dexamethasone แทน • 5. ให้ fludrocortisone acetate (mineralocorticoid) รักษาอาการสูญเสียน้ำและเกลือแร่ • 6. การแก้ไขสาเหตุหรือปัจจัยชักนำต่างๆ เช่น ให้ glucose, thiamine, naloxone, NaHCO3 เป็นต้น • 7. การผ่าตัด adrenalectomy, hyphysectomy

  43. การประเมินทางการพยาบาลการประเมินทางการพยาบาล • การซักประวัติ : อ่อนเพลียhyperpigmentationน้ำหนักลด ปวดท้อง ท้องเสีย ท้องผูก เป็นลมหมดสติ โรคด่างขาว • การตรวจร่างกาย : orthostatic hypotension, tachycardia, hyperpigmentation • การตรวจทางห้องปฏิบัติการ :hyponatremia, hyperkalemia hypoglycemia & acidosisการตรวจ CBC, BUN, creatinine, cortisol level, serum calcium และ TFT • การตรวจทางรังสี :CT scan หรือ MRI • CT abdomen พบความผิดปกติที่ adrenal gland • CT brain พบความผิดปกติที่ pituitary gland

  44. การประเมินทางการพยาบาลการประเมินทางการพยาบาล • การตรวจพิเศษอื่นๆ -ACTH stimulation test;เจาะเลือดประเมินค่า serum cortisol ที่ baseline หลังจากนั้นฉีด cosyntropin (ACTH) แล้วเจาะเลือดประเมินค่า serum cortisol ซ้ำทุก 30, 60 นาที และ 6 ชั่วโมง -serum cortisol สูงขึ้น ไม่มีภาวะ adrenal insufficiency -serum cortisol ต่ำลง/ไม่ปป. มีภาวะ adrenal insufficiency -ECG;พบ elevated peaked T waves (hyperkalemia) -24-hour urinary cortisol

  45. ข้อวินิจฉัยทางการพยาบาลข้อวินิจฉัยทางการพยาบาล • 1. CO ลดลงเนื่องจากการสูญเสียน้ำและโซเดียม/น้ำตาลในเลือดต่ำ • 2. มีภาวะไม่สมดุลของสารน้ำและอิเลคโตรไลท์ เนื่องจากมีการสูญเสียสารเหลวและโซเดียมในร่างกายจากการอาเจียนและถ่ายเหลว • 3. เสี่ยงต่อการเต้นของหัวใจผิดปกติจาก K สูง • 4. อุณหภูมิร่างกายสูง จากกระบวนการเผาผลาญเพิ่มขึ้น • 5. ความสามารถในการปฏิบัติกิจกรรมลดลง เนื่องจากอ่อนเพลีย • 6. มีภาวะไม่สมดุลของสารอาหาร: ได้รับน้อยกว่าความต้องการของร่างกาย เนื่องจากกระบวนการเผาผลาญสารอาหารเพิ่มขึ้น รับประทานอาหารไม่ได้ คลื่นไส้ อาเจียน • 7. ขาดความรู้ในการปฏิบัติตัวเกี่ยวกับโรค

  46. กิจกรรมการพยาบาล • 1. IV fluid ตามแผนการรักษา กระตุ้นดื่มน้ำ>3,000 ml/day และรับอาหารเพิ่มโซเดียม (hyponatremia) • 2. ประเมินดู intake & output และประเมิน S/S ของภาวะขาดน้ำ • 3. V/S ประเมินภาวะขาดน้ำ; hypotension ชีพจรเต้นเบา เร็ว • 4. แนะนำการเปลี่ยนท่าช้าๆ ป้องกันการเกิดภาวะ orthostatic hypotension และดูแลป้องกันอุบัติเหตุจากการลื่นล้มตกเตียง • 5. ช่วยเหลือในการปฏิบัติกิจวัตรประจำวันของผู้ป่วย ดูแลให้ bed rest เพื่อลดปัจจัยกระตุ้นต่างๆ ที่อาจก่อให้เกิดภาวะวิกฤติ หากผู้ป่วยได้รับฮอร์โมนทดแทนแล้วจึงค่อยๆ เพิ่มการปฏิบัติกิจกรรมต่างๆ

  47. กิจกรรมการพยาบาล • 6. ดูแลให้รับประทานอาหารที่มีพลังงานสูง ครั้งละน้อยแต่เพิ่มจำนวนมื้อ ประเมิน bowel sound และอาการถ่ายเหลว • 7. ให้คำแนะนำก่อนกลับบ้าน 7.1 การรับประทานยาในกลุ่ม corticosteroid อาการและอาการแสดงหากปริมาณยาในร่างกายสูงหรือต่ำเกินไป นอกจากนั้นควรให้ความรู้เกี่ยวกับวิธีการเพิ่มยาด้วยตนเองหากมีปัจจัยกระตุ้นต่างๆ ที่อาจก่อให้เกิดภาวะวิกฤติได้ 7.2 การมี hydrocortisone ชนิดฉีดติดตัว สอนวิธีฉีดยาด้วยตนเอง หากมีภาวะวิกฤติต่อมหมวกไต

  48. กิจกรรมการพยาบาล 7.3 หลีกเลี่ยงปัจจัยกระตุ้นต่างๆ เช่น ความเย็นหรือร้อน อารมณ์ตึงเครียด ระวังการเกิดการติดเชื้อต่างๆ 7.4 การรับประทานอาหารที่มีคุณค่าและมีพลังงานสูง โซเดียมสูงและ โปแตสเซียมต่ำ 7.5 การกลับมาตรวจตามนัด หรือเมื่อมีอาการผิดปกติ 8. ในผู้ที่ทำ adrenalectomyก่อนผ่าตัดให้รับประทานอาหารเพิ่ม Na, ลด K, เพิ่มการดื่มน้ำ > 3000 cc/day, เพิ่มอาหารที่มีวิตามินและโปรตีนสูง

  49. ความผิดปกติของต่อมหมวกไตชั้นในที่สำคัญความผิดปกติของต่อมหมวกไตชั้นในที่สำคัญ “pheochromocytoma”

More Related