1 / 65

"Clean Instument Provide Safer Care"

"Clean Instument Provide Safer Care". Infection Control Nurse 16 ธ.ค. 51. Thailand Patient Safety Goal . การป้องกันการติดเชื้อจากการรักษาพยาบาล ( HAIs ) ความปลอดภัยด้านยา ( medication safety ) ความปลอดภัยของเลือด ( blood safety ). การป้องกันการติดเชื้อจาก การรักษาพยาบาล ( HAIs ).

paytah
Télécharger la présentation

"Clean Instument Provide Safer Care"

An Image/Link below is provided (as is) to download presentation Download Policy: Content on the Website is provided to you AS IS for your information and personal use and may not be sold / licensed / shared on other websites without getting consent from its author. Content is provided to you AS IS for your information and personal use only. Download presentation by click this link. While downloading, if for some reason you are not able to download a presentation, the publisher may have deleted the file from their server. During download, if you can't get a presentation, the file might be deleted by the publisher.

E N D

Presentation Transcript


  1. "Clean Instument Provide Safer Care" Infection Control Nurse 16 ธ.ค. 51

  2. Thailand Patient Safety Goal • การป้องกันการติดเชื้อจากการรักษาพยาบาล (HAIs) • ความปลอดภัยด้านยา (medication safety) • ความปลอดภัยของเลือด (blood safety)

  3. การป้องกันการติดเชื้อจากการรักษาพยาบาล (HAIs) • เครื่องมือสะอาด (Clean Equipment) เป้าหมาย : เครื่องมืออุปกรณ์การแพทย์ทุกชนิดได้รับการทำลายเชื้อและทำให้ปราศจากเชื้อตามกระบวนการอย่างถูกต้องตามาตรฐาน

  4. ...จุดเน้น... • เลือกวิธีทำลายเชื้อและทำให้ปราศจากเชื้อถูกต้องตามมาตรฐาน • ปฏิบัติตามขั้นตอนในการทำลายเชื้อและทำให้ปราศจากเชื้ออย่างถูกต้องตามมาตรฐาน • ประเมินการปฏิบัติในการทำลายเชื้อและทำให้ปราศจากเชื้ออย่างต่อเนื่อง

  5. ... การนำสู่มาตรฐาน... • การจัดการเชิงระบบ • การจัดการด้านโครงสร้างและสิ่งแวดล้อม

  6. การจัดการเชิงระบบ • ตัวชี้วัด : -ทางกายภาพ - ทางเคมี - ทางชีวภาพ • ผลลัพธ์ : - ความปลอดภัยของผู้ป่วยและความพึงพอใจของลูกค้า • ปัจจัยนำเข้า : - บุคลากร - ความรู้ - เครื่อง - วัสดุ/อุปกรณ์ - นโยบาย/วิธีปฏิบัติ - ข้อมูล - งบประมาณ - โครงสร้าง - ขวัญและกำลังใจ

  7. Step in Sterile Process • การล้างทำความสะอาด • กระบวนการทำให้แห้ง • ตรวจสอบก่อนบรรจุ • การบรรจุหีบห่อ • การจัดเรียงหีบห่อ • การทำให้ปราศจากเชื้อ • การจัดเก็บ • การแจกจ่าย • การประกันคุณภาพและการบันทึกข้อมูล

  8. องค์ประกอบที่มีผลต่อประสิทธิภาพ การทำลายเชื้อและทำให้ปราศจากเชื้อ • การล้างทำความสะอาด • คราบสกปรกที่ปนเปื้อน • ชนิดและระดับของเชื้อโรคที่ปนเปื้อน • ความเข้มข้นและระยะเวลาในการสัมผัสกับตัวการทำลายเชื้อ/ตัวการทำให้ปราศจากเชื้อ • ลักษณะของอุปกรณ์เครื่องมือ (ซอก,มุม) • อุณหภูมิและความชื้นสัมพัทธ์

  9. เชื้อที่มักพบการปนเปื้อนเชื้อที่มักพบการปนเปื้อน สูงสุด • Prions • Bacterial spores • Mycobacteria • Non-enveloped (small) Viruses • Fungi • Vegetative bacteria • Enveloped (medium) Viruses ต่ำสุด

  10. ความรู้ในการจัดเตรียมอุปกรณ์การแพทย์ให้สะอาด ปราศจากเชื้อ

  11. ความหมายของคำต่างๆ ที่ควรทราบ Antiseptic สารเคมีที่ใช้ทำลายหรือยับยั้งการเจริญเติบโตหรือแพร่พันธุ์ของเชื้อจุลชีพที่อยู่บนผิวหนังหรือเนื้อเยื่อของร่างกาย Disinfectant สารเคมีที่สามารถทำลายเชื้อจุลชีพก่อโรค แต่ไม่สามารถทำลายสปอร์ของเชื้อ

  12. Disinfection วิธีการกำจัดเชื้อจุลชีพเกือบทุกชนิด ยกเว้น สปอร์ Sterilization เป็นการกำจัดหรือทำลายเชื้อจุลชีพทุกชนิดรวมทั้งสปอร์ Pasteurization วิธีการทำลายเชื้อทางกายภาพโดยใช้ความร้อน ทำลายเชื้อแบคทีเรีย ไวรัส และเชื้อรา แต่ไม่ทำลายสปอร์

  13. เครื่องมือมีหลากหลาย จะฆ่าเชื้อด่วยวิธีใดดีหนอ ??

  14. ประเภทของอุปกรณ์การแพทย์ประเภทของอุปกรณ์การแพทย์

  15. Dr.Spauldingได้จัดแบ่งอุปกรณ์การแพทย์ ตามการสัมผัสกับอวัยวะหรือส่วนต่างๆ ของร่างกาย และความเสี่ยงต่อการเกิดการติดเชื้อ แบ่งเป็น 3 ประเภท 1. เครื่องมือที่เสี่ยงต่อการติดเชื้ออย่างยิ่ง (Critical items) 2. เครื่องมือที่เสี่ยงต่อการติดเชื้อปานกลาง (Semi-critical items) 3. เครื่องมือที่เสี่ยงต่อการติดเชื้อน้อย (Non-critical items)

  16. จัดแบ่งกลุ่มตามความเสี่ยงของการติดเชื้อ!!จัดแบ่งกลุ่มตามความเสี่ยงของการติดเชื้อ!! Non-critical Semi-critical Critical เสี่ยงสูงสุด เสี่ยงต่ำสุด

  17. เครื่องมือที่เสี่ยงต่อการติดเชื้ออย่างยิ่ง (Critical items) เป็นอุปกรณ์ที่สัมผัสหรือสอดใส่เข้าไปในอวัยวะภายในร่างกายหรือเนื้อเยื่อส่วนลึกๆ ที่เป็นบริเวณปราศจากเชื้อหรือเข้าในกระแสโลหิต ผู้ป่วยมีความเสี่ยงต่อการติดเชื้อสูงมาก ได้แก่ เครื่องมือผ่าตัด เข็ม อวัยวะเทียม สายสวน หัวใจ และสายสวนปัสสาวะ เครื่องมือที่ต้องทำให้ปราศจากเชื้อ

  18. Criticalitem • EO • H2O2 Gas Plasma • Ozone • การแช่ในchemical sterilant??? • การนึ่งด้วยไอน้ำ • ความร้อนแห้ง

  19. 2. เครื่องมือที่เสี่ยงต่อการติดเชื้อปานกลาง (Semi-critical items) • เป็นอุปกรณ์ที่สัมผัสกับเยื่อบุของร่างกายหรือผิวหนังที่มีบาดแผล รอยถลอก อุปกรณ์ประเภทนี้ต้องไม่มีเชื้อจุลชีพ • ต้องได้รับการทำลายเชื้อ (ใช้ High level disinfection) • เช่น - เครื่องช่วยหายใจ - อุปกรณ์ทางวิสัญญี - กล้องส่องตรวจแบบอ่อน - ปรอทวัดไข้

  20. Semi-criticalitem • การนึ่งด้วยไอน้ำ • ความร้อนแห้ง • การทำลายเชื้อระดับสูงด้วยความร้อน • EO • H2O2 Gas Plasma • Ozone • การแช่ใน chemical sterilant???

  21. 3. เครื่องมือที่เสี่ยงต่อการติดเชื้อน้อย (Non-critical items) • อุปกรณ์ที่สัมผัสผิวหนังปกติไม่มีบาดแผลและรอยถลอก • ต้องได้รับการทำความสะอาดใช้ Low level disinfection • เช่น - หม้อนอน - เครื่องวัดความดันโลหิต - พื้นผิวสิ่งแวดล้อม - EKG leads - ฯลฯ

  22. Non-criticalitem • เช็ดถูทำความสะอาดแล้วตามด้วยน้ำยาทำลายเชื้อ • ใช้น้ำยาทำลายเชื้อที่มีส่วนผสมของสารทำความสะอาดและน้ำยาทำลายเชื้อ • เปลี่ยนในคนไข้แต่ละราย • เช็ดถูทำความสะอาดด้วยน้ำ ผสมสารทำความสะอาด (detergent)

  23. วิธีการทำลายเชื้อและทำให้ปราศจากเชื้อวิธีการทำลายเชื้อและทำให้ปราศจากเชื้อ ชนิดของอุปกรณ์การแพทย์ Non-critical Critical Semi-critical Disinfection Sterilization Cleaning

  24. EO , H2O2 plasma, Formaldehyde Steam , Dry heat 6%H2O2 2%Glutaraldehyde แกมมา

  25. Quaternary NH4 compound (savlon) 70-90% Alcohol Chlorine compound Phenolic , Iodophor 6%H2O2 2%Glutaraldehyde

  26. การล้างคือ..หัวใจ..ของการทำลายเชื้อการล้างคือ..หัวใจ..ของการทำลายเชื้อ การล้างคือ..หัวใจ.. ของการทำลายเชื้อ

  27. การล้างทำความสะอาด • จุดประสงค์ของการล้าง : - กำจัดสิ่งสกปรกที่มองเห็นด้วยตาเปล่า เช่น เลือด เนื้อเยื่อ เศษกระดูก หนอง เสมหะ และน้ำยา antiseptic เป็นต้น - ลดปริมาณและชนิดของเชื้อโรคที่ปนเปื้อน - เพิ่มประสิทธิภาพในการฆ่าเชื้อ - ความปลอดภัยและคุณภาพ

  28. การล้างด้วยมือ แช่เครื่องมือ ขัดล้างใต้น้ำ ล้างให้สะอาดผ่านน้ำไหล การล้างด้วยเครื่อง ultrasonic Washer Pasteurizer วิธีการทำความสะอาด

  29. บริเวณล้างทำความสะอาดบริเวณล้างทำความสะอาด • ควรเป็นห้องความดันลบ (Negative Pressure) • พื้นที่เหมาะสมและเพียงพอต่อการใช้งาน • การถ่ายเทอากาศที่ดีอย่างน้อย 10 รอบ/ชม.

  30. Enzymatic detergent เป็นการผสมเอ็นซัยม์ในสารขัดล้าง โดยเอ็นซัยม์จะช่วยเร่งให้เกิดการย่อยสลายอินทรียสารที่เปื้อน และสารขัดล้างจะช่วยให้เอ็นซัยม์ที่จับกับอินทรียสารหลุดจากเครื่องมือได้ง่าย ข้อดี1. ลดเวลาล้าง 2. ขจัดคราบได้ง่าย 3. อุปกรณ์ไม่เสียหาย ไม่มีรอยด่าง

  31. Standard Precautions • อุปกรณ์เครื่องมือต้องเพียงพอ /เหมาะสม • บุคลากรต้องใส่อย่างครบถ้วน • ต้องมีการฝึกซ้อมการใส่ที่ถูกต้อง อย่างสม่ำเสมอ กันไว้ดีกว่าแก้ !!

  32. ในการล้างอุปกรณ์การแพทย์ ผู้ปฏิบัติ ต้องระมัดระวังและสวมเครื่องป้องกันให้ครบถ้วน ถุงมือยางอย่างหนา รองเท้าบู๊ท หมวก แว่นตา ผ้ากันเปื้อนพลาสติก ผ้าปิดปาก-จมูก การล้างที่ถูกต้อง สามารถขจัดสิ่งสกปรกและลดเชื้อจุลชีพได้ ~ 80%

  33. การทำให้แห้ง (เช็ด อบ เป่า) เป็นขั้นตอนสำคัญที่ต้องปฎิบัติ หากมีหยดน้ำติดค้างจะเกิดผลเสีย ดังนี้ 1. ความเข้มข้นของน้ำยา , ค่า pH 2. อบก๊าซ EOจะทำให้เกิดสารพิษที่เรียกว่า ethylene glycol 3. นึ่งฆ่าเชื้อ ทำให้หมอง เป็นคราบเปื้อน ข้อต่อ/รอยพับฝืด สึกกร่อน และเป็นสนิม

  34. การใช้เครื่องล้าง Ultrasonic • ไม่ควรใช้ในอุปกรณ์เครื่องมือ ที่มีส่วนประกอบของ โครเมี่ยม ,นิกเกิล เช่น อุปกรณ์เกี่ยวกับตา เนื่องจากสารเคลือบอาจหลุดร่อนได้ • ควรตรวจสอบอุปกรณ์กับบริษัทของเครื่องมือก่อนใช้ • ควรแยกประเภทเครื่องมือที่ทำจากวัสดุต่างชนิดกันเพื่อป้องกันการ electrolysis • กำจัดคราบสิ่งสกปรกชิ้นใหญ่บนเครื่องมือก่อนใส่เข้าเครื่อง • กำจัดฟองอากาศก่อนเริ่มใช้งาน

  35. การใช้เครื่องล้าง Ultrasonic • เครื่องมือที่มีข้อต่อให้กางออก • ใส่น้ำเข้าไปในสายหรือท่อ • ใส่เครื่องมือในปริมาณที่เหมาะสม • ปิดฝาเครื่องในขณะเปิดใช้งาน • ทำการเปลี่ยนน้ำที่อยู่ในเครื่องทุกวัน

  36. เครื่อง ULTRASONIC เครื่องล้าง - WASHER

  37. ผลกระทบของการล้างที่ไม่มีคุณภาพผลกระทบของการล้างที่ไม่มีคุณภาพ • ประสิทธิภาพในการฆ่าเชื้อ • เกิดภาวะแทรกซ้อน เช่น หนาวสั่น เป็นไข้ • ฟิล์มชีวภาพ (biofilm) • สภาพเครื่องมือ • ค่าใช้จ่ายในการซ่อมแซม • อายุการใช้งานของเครื่องมือ

  38. ข้อดี ใช้กับน้ำมัน ขี้ผึ้ง และแป้ง ประหยัด ปลอดภัย ไม่ก่อให้เกิดสนิม ข้อด้อย ใช้เวลานาน ใช้ความร้อนสูง อาจทำ ความเสียหายให้เครื่องมือ Dry heat sterilization

  39. ข้อดี แทรกซึมผ่านเนื้อวัสดุ ท่อ และสายยาง เครื่องมือที่ทนความร้อน ชื้น ไม่ได้ ไม่เป็นสนิม ข้อด้อย ใช้เวลา 3 - 6 ชั่วโมง เสียเวลาระบายก๊าซ 8-12 ชม. ไวไฟ ความปลอดภัยของผู้ปฏิบัติ ค่าใช้จ่าย Low-temperature sterilization : EO gas

  40. ข้อดี ระยะเวลาสั้น ติดตั้งเครื่องง่าย ไม่เกิดมลพิษ (น้ำ+ออกซิเจน) ข้อด้อย อำนาจในการแทรกซึมน้อย วัสดุเส้นใยกระดาษหรือผ้าใช้ห่อไม่ได้ ค่าใช้จ่ายแพง Gas Plasma : H2O2 Plasma

  41. การประเมินการทำให้ปราศจากเชื้อการประเมินการทำให้ปราศจากเชื้อ 1. ตัวบ่งชี้ทางกลไก /กายภาพ 2. ตัวบ่งชี้ทางเคมี : ภายนอก , ภายใน Bowie-Dick test 3. ตัวบ่งชี้ทางชีวภาพ : Spore test ** น่าเชื่อถือมากที่สุด **

  42. EO gas ทุกครั้งที่อบ ทุกครั้งที่อบอุปกรณ์ implant Steam ทุกวัน (AORN) ทุกครั้งที่อบอุปกรณ์ implant อย่างน้อยสัปดาห์ละ 1 ครั้ง ความถี่ในการทำ spore test

  43. Heat is the best !! Heat Sterilization

  44. การใช้น้ำยาทางเคมีควรเป็น...การใช้น้ำยาทางเคมีควรเป็น... ทางเลือกสุดท้าย!!

  45. ตามคำแนะนำจากบริษัทผู้ผลิต ตามคำแนะนำจากบริษัทผู้ผลิต Heat is the best !! • ต้องดูชนิดของวัสดุว่าเป็นอะไร ???

  46. **ข้อบ่งใช้เมื่อจำเป็นต้องใช้น้ำยาเคมี**ข้อบ่งใช้เมื่อจำเป็นต้องใช้น้ำยาเคมี • ต้องขจัดเลือดและสารคัดหลั่ง ล้างทำความสะอาด และทำให้แห้งก่อนการแช่น้ำยาทุกครั้ง • ควรเลือกน้ำยาให้เหมาะสมกับเครื่องมือ • ต้องมีการตรวจสอบความเข้มข้นอยู่เป็นประจำ • ต้องมีการจดบันทึกผลการทดสอบทุกครั้ง • สถานที่ต้องมีการระบายอากาศที่ดี • ภาชนะสำหรับแช่ต้องมีฝาปิดมิดชิด

More Related