1 / 70

ดร.นพ.พงศธร พอกเพิ่มดี ผู้อำนวยการเขตบริการสุขภาพที่ 8

ดร.นพ.พงศธร พอกเพิ่มดี ผู้อำนวยการเขตบริการสุขภาพที่ 8. กรอบการนำเสนอ. จังหวัดในพื้นที่เขตบริการสุขภาพที่ 8. บึงกาฬ. หนองคาย. สกลนคร. อุดรธานี. นครพนม. เลย. หนองบัวลำภู. ประชากร 5.4 ล้านคน ครอบคุลม 7 จังหวัด 89 CUPs. ปิรมิด ประชากรเขตบริการสุขภาพที่ 8.

powa
Télécharger la présentation

ดร.นพ.พงศธร พอกเพิ่มดี ผู้อำนวยการเขตบริการสุขภาพที่ 8

An Image/Link below is provided (as is) to download presentation Download Policy: Content on the Website is provided to you AS IS for your information and personal use and may not be sold / licensed / shared on other websites without getting consent from its author. Content is provided to you AS IS for your information and personal use only. Download presentation by click this link. While downloading, if for some reason you are not able to download a presentation, the publisher may have deleted the file from their server. During download, if you can't get a presentation, the file might be deleted by the publisher.

E N D

Presentation Transcript


  1. ดร.นพ.พงศธร พอกเพิ่มดี ผู้อำนวยการเขตบริการสุขภาพที่ 8

  2. กรอบการนำเสนอ

  3. จังหวัดในพื้นที่เขตบริการสุขภาพที่ 8 บึงกาฬ หนองคาย สกลนคร อุดรธานี นครพนม เลย หนองบัวลำภู ประชากร 5.4 ล้านคน ครอบคุลม 7 จังหวัด 89 CUPs

  4. ปิรมิดประชากรเขตบริการสุขภาพที่ 8

  5. สัดส่วนประชากรสิทธิ UC ปี 2556

  6. การจัดหน่วยบริการ เขตบริการสุขภาพที่ 8

  7. สัดส่วนเตียงต่อประชากร 1,000 คน รายเขต ปี 2557 ที่มา:สำนักการบริหารสาธารณสุข สำนักปลัดกระทรวงสาธารณสุข 9 มกราคม 2557

  8. Hospital beds (per 1,000 people) in ASEAN

  9. อัตราการครองเตียง รายเขต ปี 2556 ที่มา:สำนักการบริหารสาธารณสุข สำนักปลัดกระทรวงสาธารณสุข 9 มกราคม 2557

  10. อัตราการครองเตียง ตามระดับ รพ. ปี 2556 ที่มา:สำนักการบริหารสาธารณสุข สำนักปลัดกระทรวงสาธารณสุข 9 มกราคม 2557

  11. Case Mix Index (CMI)ตามประเภท รพ. ปี 2556 รายเขต ที่มา:สำนักการบริหารสาธารณสุข สำนักปลัดกระทรวงสาธารณสุข 9 มกราคม 2557

  12. Case Mix Index (CMI)ตามประเภท รพ. ปี 2556 ที่มา:สำนักการบริหารสาธารณสุข สำนักปลัดกระทรวงสาธารณสุข 9 มกราคม 2557

  13. Core values

  14. โครงสร้างสำนักงานเขตบริการสุขภาพที่ 8

  15. วิธีการทำงาน (operating model)

  16. Planning: 50 ข้อ (100%) 15 ข้อ (30%)

  17. การสูญเสียปีสุขภาวะ 3 อันดับแรก ของประชากร เขตบริการสุขภาพที่ 8 1 2 11 1 2 1 ที่มา: ผลการศึกษาภาระโรคระดับเขตและภูมิภาคของประเทศไทย ปี 2552 www.thaibod.net 25 กุมภาพันธ์ 2557

  18. เปรียบเทียบการได้รับจัดสรรงบ UC (บาท/บัตร รวมเงินเดือน) เขต 7-10 ปี 2555-2556

  19. กลยุทธ์ 5 รุก (order to winner)

  20. กลยุทธ์ 5 รับ (order to qualifier)

  21. กลยุทธ์ 5 สนับสนุน

  22. แหล่งงบประมาณ 15 กลยุทธ์หลัก ปี 2557

  23. แผนขยายเตียงตามระดับ รพ.ปี 2556-2560

  24. แผนขยายเตียงรายจังหวัด ปี 2556-2560

  25. การเพิ่มเตียง NICU/ Sick Newborn ปี 2557 เพิ่ม NICU15 เตียง 2 เตียง บึงกาฬ เพิ่ม Sick Newborn 75 เตียง 2 เตียง 20 เตียง หนองคาย 9 เตียง 4 เตียง 32 เตียง นครพนม 2 เตียง สกลนคร เลย อุดรธานี 2 เตียง หนองบัวลำภู 2 เตียง 2 เตียง 1เตียง 12 เตียง

  26. การเพิ่ม Node Hemodialysis ปี 2557 8 เครื่อง/ 100,000 คน รพท.บึงกาฬ 8 เครื่อง บึงกาฬ 18 เครื่อง รพท.เลย รพ.วังสะพุง หนองคาย นครพนม เลย สกลนคร อุดรธานี หนองบัวลำภู รพศ.อุดรธานี 21 เครื่อง 21 เครื่อง วานรฯ 12 เครื่อง สว่างฯ 9 เครื่อง 30 เครื่อง รพท.หนองบัวฯ นากลาง รพ.โนนสัง ที่ละ 10 เครื่อง

  27. การเพิ่ม Node of rt-PA ปี 2557 รพ.วานรนิวาส รอติดตั้ง CT Outsource ก.พ.57 รพร.ท่าบ่อ รพ.โพนพิสัย (เอกชน) บึงกาฬ รพ. เซกา หนองคาย รพร. ธาตุพนม (เอกชน) นครพนม รพร. บ้านดุง รพ. บ้านผือ เลย สกลนคร อุดรธานี รพร. ด่านซ้าย หนองบัวลำภู รพ. หนองหาน CT scan planning ปี 2557

  28. Node ผ่าตัดต้อกระจก ปี 2557 F2= 10 แห่ง M = 14 แห่ง บึงกาฬ เซกา โพนพิสัย หนองคาย ท่าบ่อ เชียงคาน เพ็ญ ศรีสงคราม หนองหาน นายูง วานรฯ นครพนม วังสะพุง พังโคน บ้านดุง บ้านผือ สกลนคร ธาตุพนม เลย อุดรธานี นาวัง ทุ่งฝน หนองวัวซอ อาจารย์ฝั้น หนองบัวลำภู ด่านซ้าย หนองแสง บ้านแพง ศรีธาตุ วังสามหมอ ศรีบุญเรือง

  29. People Strategic : HRD สำนักงานเขต จัดหลักสูตร Strategic HRD พัฒนาตาม Service plan

  30. Technical competency development program พัฒนากระบวนการปรับฐานคิด

  31. สัดส่วนกำลังคนเมื่อเทียบกับFTE ของทุกวิชาชีพ Productivityต่อบุคลากร หมายเหตุ : productivity (พิจารณาจาก RW ภาพรวมโดย แปลง OP visit และ RW ของ IPD รวมเป็นหน่วย RW

  32. การประสานความร่วมมือกับภาคีเครือข่ายการประสานความร่วมมือกับภาคีเครือข่าย

  33. Process: LEADERSHIP ขับเคลื่อนโดยวิชาชีพ 15 TRACT

  34. กระบวนการทำงาน 7 Building Blocks Access Quality Efficiency Seamless

  35. NCDManagement Model P.ลักษณะสำคัญขององค์กร ปัจจัย สภาพแวดล้อม ความสัมพันธ์ และความท้าทายต่อการพัฒนางาน NCD นวัตกรรม 2. แผนยุทธศาสตร์การพัฒนาสุขภาพ จังหวัด- อำเภอ-ตำบล MOU Goal: ป่วยและตายด้วยDM HTลดลง 5. การพัฒนาศักยภาพ บุคลากร Case Manager ศักยภาพทีมสหวิชาชีพ 7.ผลลัพธ์การดำเนินงาน NCD 1.นโยบายการพัฒนางานNCD การนำของผู้บริหาร 3.การให้ความสำคัญกับ ผู้รับบริการ และการจัดบริการ เชื่อมโยงกับชุมชน พึงพอใจ 6. การปรับระบบและ กระบวนการบริการ ผลลัพธ์ 4. การพัฒนาระบบข้อมูลสารสนเทศ NCD/KM /R2R • 1. คลินิก NCD คุณภาพผ่านเกณฑ์ร้อยละ 80 • 2. ผู้ป่วย DM ที่ควบคุมระดับน้ำตาลได้ดี • HbA1C<7% > 40 % • 3. ผู้ป่วย HT ที่ควบคุมความดันโลหิตได้ดี • ( BP < 140/90mmHg) > 60 % • 4. อัตราการรับเข้า รพ.จากภาวะแทรกซ้อนระยะ • สั้นของโรค DM ลดลงร้อยละ 3 • 5. อัตราการรับเข้า รพ.จากภาวะแทรกซ้อนระยะ • สั้นของโรค HT ลดลงร้อยละ 3 • 6. หน่วยบริการปฐมภูมิที่มีกิจกรรมคัดกรองเบาหวานและ/ หรือความดันโลหิตสูงในชุมชนร่วมกับ กองทุนหลักประกันสุขภาพในระดับท้องถิ่นหรือพื้นที่ ร้อยละ 100 กิจกรรม 1.รพศ., รพท., รพช. มีคลินิก NCD คุณภาพ 2.พัมนาศักยภาพบุคลากร Case & Care Manager 3.พัฒนาศักยภาพทีมประเมินคลินิก NCD คุณภาพ 4.พัฒนาระบบบริการ ไร้รอยต่อ 5. ส่งอายุรแพทย์ไปดู NCD ส่วนที่จำเป็นใน รพช. 6. พัฒนาระบบข้อมูลอย่างต่อเนื่อง 7. กิจกรรมปรับเปลี่ยนพฤติกรรม (Self monitoring)/หมู่บ้าน/ชุมชนลดเสี่ยงลดโรค 8. เวทีแลกเปลี่ยนเรียนรู้ (KM) ระดับเครือข่าย /จังหวัด 9. กำกับติดตามและประเมินผล โครงการพัฒนาเครือข่าย NCD คุณภาพแบบบูรณาการสู่หมู่บ้าน/ชุมชนลดเสี่ยงลดโรคเรื้อรัง

  36. Stroke fast track system management

  37. EMS (ER) management model

  38. กลยุทธ์การดำเนินงานมะเร็งท่อน้ำดี/ตับกลยุทธ์การดำเนินงานมะเร็งท่อน้ำดี/ตับ

  39. Psychiatry Management model

  40. Dental management model งานบริการใน รพศ./รพท./รพช. งานบริการใน รพ.สต เพิ่มศักยภาพทันตแพทย์ระดับ M2-A -รักษารากฟันกราม -ศัลยศาสตร์ช่องปาก ขยายบริการในรพ.สต. ร้อยละ 50 (ผลงานปี 56:45) อบรมระยะสั้นโดยอาจารย์ภายในเขต Node รับส่งต่องานทันตกรรมเฉพาะทาง ร้อยละ 80 (20 แห่ง) เพิ่มการเข้าถึงบริการคิดจากอัตราการใช้บริการ ร้อยละ 26 (ผลงานปี 56: 25.6) ผู้ป่วยเข้าถึงบริการทันตกรรมเฉพาะทาง

  41. Long term care management model กลยุทธ์ เป้าหมาย

  42. โปรแกรม Long Term Care LTC Link

  43. การจัดซื้อร่วมวัสดุการแพทย์ทั่วไป และวัสดุ X-Ray เขต 8 นโยบาย: ลดต้นทุนวัสดุการแพทย์ทั่วไป และวัสดุ X-Ray ร้อยละ 10 แผนงาน: สืบราคา ต่อรองราคา ในภาพรวมระดับเขต/จังหวัด การดำเนินงาน : รวบรวมข้อมูลวัสดุการแพทย์ที่จะดำเนินการต่อรองราคาร่วมกัน - วัสดุการแพทย์ทั่วไป 149 รายการ - วัสดุ X-Ray 16 รายการ ผลงานการซื้อร่วมระดับจังหวัด ปี 2556- ไตรมาส1/2557ดังนี้

  44. การดำเนินการลดค่าใช้จ่ายวัสดุ Lab ปี 2557 ลดค่าใช้จ่าย Lab (20%) KPI 1:ค่าเฉลี่ยมูลค่าใช้ไปวัสดุวิทย์ฯลดลง>20% KPI 2:ค่าเฉลี่ยจำนวนTest OP case ลดลง >10% ลดจำนวนการสั่งตรวจ 10% ลดราคาต้นทุน 20% -จัดประชุมแพทย์/จนท.Lab ทบทวนกำหนดCPG -Benchmarking ทุก 3 เดือน -เริ่ม มค.57 Node Lab เริ่ม มค.57 ลดราคาต่อหน่วย (Unit cost) วัสดุแล็บ 16รายการ น้ำยาตรวจแล็บ 3 กลุ่ม19 รายการ ต่อรองราคา CBC Blood chem. Electrolyte คณะทำงาน -สอบราคา -ราคาต่อหน่วย (เริ่ม มค.57) -ต่อรองราคาร่วม -ราคาต่อหน่วย (เริ่ม มค.57) รพ.ดำเนินการ ติดตามผล หลังไตรมาสที่2 คณะทำงาน

  45. คปสอ.ติดดาว 1.กระบวนการ DHS 2. ODOP 3. ผลงานผ่านเกณฑ์ KPI ของกระทรวง /เขต (๑๐๕๐ %) ๔. รพ.สต. ผ่านเกณฑ์๕ดาว ๒๐ % (๒๕๑๕ %) ๕. นวัตกรรม , งานวิจัย หรือ R2R (๕๕ %) ๑.เลือกประเด็น ร่วมกัน๒.ใช้เครือข่าย อำเภอ–ตำบล- ชุมชน-ท้องถิ่น ๓.มีผลการพัฒนา ชัดเจน (๒๐๑๐%) ๑. การทำงานร่วมกัน ๒. การทำงานจนเกิด คุณค่า ๓. การแบ่งปันทรัพยากร ๔. บริการสุขภาพตาม บริบท๕. การมีส่วนร่วมของ เครือข่ายและชุมชน๖. แพทย์ที่ปรึกษา (๔๐๒๐%) ใหม่ เกณฑ์ผลลัพธ์ตาม KPI สำคัญ (๕๐%) เกณฑ์การตัดสินคะแนน ๙๐%ขึ้นไป = ๕ดาวคะแนน ๘๐-๘๙% = ๔ดาวคะแนน ๗๐-๗๙% = ๓ ดาว

  46. รพสต.ติดดาว เกณฑ์บังคับเขต เกณฑ์จังหวัดเลือก (เลือก ๓ เกณฑ์ คะแนน ๓๐%) -เกณฑ์ รพสต.๓ ดี, Health work place, ๕ส (๑๐๕%) -เกณฑ์ PCA (หมวด ๓,๖) (๒๐๑๐%) -การป้องกันควบคุมการติดเชื้อ (๑๐๕%) -งานเภสัชกรรม (๑๐๕%) -งานชันสูตร (๑๐๕%) -งานข้อมูลข่าวสาร (๑๐๕%) -งานบริการแพทย์แผนไทย (๔%) -เกณฑ์ประเมินด้านการบริหารจัดการวัคซีน (๔%) -การดูแลต่อเนื่อง (Continuity of care) (๔%) -การดูแลผู้ป่วยประคับประคอง (๓%) -เกณฑ์ผลลัพธ์ตาม KPI ที่สำคัญ (๕๐%) เกณฑ์การตัดสินคะแนน ๙๐%ขึ้นไป = ๕ดาวคะแนน ๘๐-๘๙% = ๔ดาวคะแนน ๗๐-๗๙% = ๓ ดาว ใหม่ เกณฑ์ผลลัพธ์ตาม KPI สำคัญ (๕๐%)

  47. Financial management model บันได4 ขั้น ปี 2555 หน่วยบริการวิกฤติด้านการเงิน จำนวน 19 แห่ง (23%) 4 Communicating performance 3 • บัญชีไม่ถูกต้อง 8 แห่ง (28.5%) • ใช้จ่ายเกินค่าเฉลี่ย 17 แห่ง (60.6%) • ปัญหาเฉพาะ 3แห่ง (10.6%) Driving performance -Benchmarking ทุกไตรมาส -FAI ทุกเดือน -ผอ.รพ.ที่มีปัญหา พบผู้บริหารระดับเขต 2 -โครงการ พปง. -จัดซื้อยาร่วม -ต่อรองราคา Lab -วัสดุ ร่วม Analyzing performance 1 -Benchmarking 11 กลุ่ม -ติดตาม รายรับ รายจ่าย ทุกไตรมาส -FAI Measuring performance -พัฒนาระบบบัญชี -Unit cost -แผนเงินบำรุง

  48. โครงการ พปง.

  49. Performance Appraisal กำหนดความคาดหวัง Define Expectations ถอดบทเรียนและให้รางวัล Knowlege management & Reward ติดตามและประเมินผล Measure & Evaluate Benchmarking คืนข้อมูลกลับ Provide Feedback

More Related